ประวัติวันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ           รัฐบาลไทยกำหนดให้วันที่ 18 สิง การแปล - ประวัติวันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ           รัฐบาลไทยกำหนดให้วันที่ 18 สิง ไทย วิธีการพูด

ประวัติวันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ      



ประวัติวันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ


        
  รัฐบาลไทยกำหนดให้วันที่ 18 สิงหาคม เป็นวันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ เนื่องจากวันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2411 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จพระราชดำเนินชลมารคและสถลมารค ทอดพระเนตรสุริยุปราคาเต็มดวง ที่ทรงคำนวณพยากรณ์ไว้ล่วงหน้า 2 ปี ว่าจะเกิดในวันอังคาร ขึ้น 1 ค่ำ เดือน 10 ปีมะโรง สัมฤทธิศก จุลศักราช 1230 โดยจะเห็นหมดดวงและชัดเจนที่สุด คือ ที่หมู่บ้านหัววาฬ ตำบลหว้ากอ อำเภอเมือง จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ตั้งแต่บริเวณ เกาะจาน ขึ้นไปถึง ปราณบุรี และลงไปถึง จังหวัดชุมพร จึงโปรดฯ ให้เจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) ไปสร้างค่ายหลวงและพลับพลาที่ประทับ มีคณะนักดาราศาสตร์จากประเทศฝรั่งเศส และเซอร์แฮรี ออด เจ้าเมืองสิงคโปร์เดินทางมาเข้าเฝ้าฯ และร่วมในการสังเกตการณ์ และต่อมาได้มีการสร้าง "อุทยานวิทยาศาสตร์" ที่ อำเภอบ้านหว้ากอ




          ผลการคำนวณของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวแม่นยำมาก เซอร์แฮรี ออด บันทึกเหตุการณ์ไว้ซึ่งต่อมาหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ได้แปลเป็นภาษาไทยในงานหว้ากอรำลึก ณ ท้องฟ้าจำลองกรุงเทพฯ เมื่อ พ.ศ. 2518 ว่า
"พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระสำราญมาก เพราะการคำนวณเวลาสุริยุปราคาของพระองค์ ได้พิสูจน์แล้วว่าถูกถ้วนที่สุด ถูกถ้วนยิ่งกว่าที่ชาวยุโรปได้คำนวณไว้"

          ต่อมา พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ทรงรับเอาศิลปวิทยาการ และความคิดสมัยใหม่มาประยุกต์ใช้ในการปกครองประเทศ ด้วยเหตุนี้องค์การศึกษาวิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) จึงได้ประกาศยกย่องพระเกียรติคุณของพระองค์ให้ทรงเป็นบุคคลสำคัญของโลก ด้วยพระราชกรณียกิจและพระเกียรติคุณนานัปการ โดยเฉพาะพระราชกรณียกิจด้านดาราศาสตร์ 

   
       ทั้งนี้ สมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ โดยเฉพาะทางด้านดาราศาสตร์ มีแนวคิดว่าน่าจะถือเอาวันที่ 18 สิงหาคมเป็นวันวิทยาศาสตร์ไทย ต่อมาวันที่ 14 เมษายน พ.ศ. 2525 คณะรัฐมนตรีได้มีมติเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็น "พระบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ไทย" พร้อมทั้งกำหนดให้วันที่ 18 สิงหาคม เป็น "วันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ" และเมื่อวันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2511 ได้มีการจัดงานขึ้นเนื่องในโอกาสครบรอบ 100 ปีของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ประวัติวันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ          รัฐบาลไทยกำหนดให้วันที่ 18 สิงหาคม เป็นวันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ เนื่องจากวันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2411 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จพระราชดำเนินชลมารคและสถลมารค ทอดพระเนตรสุริยุปราคาเต็มดวง ที่ทรงคำนวณพยากรณ์ไว้ล่วงหน้า 2 ปี ว่าจะเกิดในวันอังคาร ขึ้น 1 ค่ำ เดือน 10 ปีมะโรง สัมฤทธิศก จุลศักราช 1230 โดยจะเห็นหมดดวงและชัดเจนที่สุด คือ ที่หมู่บ้านหัววาฬ ตำบลหว้ากอ อำเภอเมือง จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ตั้งแต่บริเวณ เกาะจาน ขึ้นไปถึง ปราณบุรี และลงไปถึง จังหวัดชุมพร จึงโปรดฯ ให้เจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) ไปสร้างค่ายหลวงและพลับพลาที่ประทับ มีคณะนักดาราศาสตร์จากประเทศฝรั่งเศส และเซอร์แฮรี ออด เจ้าเมืองสิงคโปร์เดินทางมาเข้าเฝ้าฯ และร่วมในการสังเกตการณ์ และต่อมาได้มีการสร้าง "อุทยานวิทยาศาสตร์" ที่ อำเภอบ้านหว้ากอ ผลการคำนวณของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวแม่นยำมากเซอร์แฮรีออดบันทึกเหตุการณ์ไว้ซึ่งต่อมาหม่อมหลวงปิ่นมาลากุลได้แปลเป็นภาษาไทยในงานหว้ากอรำลึกณท้องฟ้าจำลองกรุงเทพฯ เมื่อพ.ศ. 2518 ว่า"พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระสำราญมากเพราะการคำนวณเวลาสุริยุปราคาของพระองค์ได้พิสูจน์แล้วว่าถูกถ้วนที่สุดถูกถ้วนยิ่งกว่าที่ชาวยุโรปได้คำนวณไว้" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ทรงรับเอาศิลปวิทยาการ และความคิดสมัยใหม่มาประยุกต์ใช้ในการปกครองประเทศ ด้วยเหตุนี้องค์การศึกษาวิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) จึงได้ประกาศยกย่องพระเกียรติคุณของพระองค์ให้ทรงเป็นบุคคลสำคัญของโลก ด้วยพระราชกรณียกิจและพระเกียรติคุณนานัปการ โดยเฉพาะพระราชกรณียกิจด้านดาราศาสตร์     ทั้งนี้สมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์โดยเฉพาะทางด้านดาราศาสตร์มีแนวคิดว่าน่าจะถือเอาวันที่ 18 สิงหาคมเป็นวันวิทยาศาสตร์ไทยต่อมาวันที่ 14 เมษายนพ.ศ. 2525 คณะรัฐมนตรีได้มีมติเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็น "พระบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ไทย" พร้อมทั้งกำหนดให้วันที่ 18 สิงหาคมเป็น "วันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ" และเมื่อวันที่ 18 สิงหาคมพ.ศ. ปีพ.ศ.ได้มีการจัดงานขึ้นเนื่องในโอกาสครบรอบ 100 ปีของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!


  18 สิงหาคมเป็นวันวิทยาศาสตร์แห่งชาติเนื่องจากวันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2411 ทอดพระเนตรสุริยุปราคาเต็มดวงที่ทรงคำนวณพยากรณ์ไว้ล่วงหน้า 2 ปีว่าจะเกิดในวันอังคารขึ้น 1 ค่ำเดือน 10 ปีมะโรงสัมฤทธิศกจุลศักราช 1230 โดยจะเห็นหมดดวงและชัดเจนที่สุดคือที่หมู่บ้านหัววาฬตำบลหว้ากออำเภอเมืองจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ตั้งแต่บริเวณ เกาะจานขึ้นไปถึงปราณบุรีและลงไปถึงจังหวัดชุมพรจึงโปรดฯ ให้เจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ (ช่วงบุนนาค) และเซอร์แฮรีออด และร่วมในการสังเกตการณ์และต่อมาได้มีการสร้าง "อุทยานวิทยาศาสตร์" ที่           เซอร์แฮรีออด มาลากุลได้แปลเป็นภาษาไทยในงานหว้ากอรำลึก ณ ท้องฟ้าจำลองกรุงเทพฯเมื่อ พ.ศ. 2518 ทรงพระสำราญมาก ได้พิสูจน์แล้วว่าถูกถ้วนที่สุด           พระองค์ทรงรับเอาศิลปวิทยาการ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก)        โดยเฉพาะทางด้านดาราศาสตร์มีแนวคิดว่าน่าจะถือเอาวันที่ 18 สิงหาคมเป็นวันวิทยาศาสตร์ไทยต่อมาวันที่ 14 เมษายน พ.ศ. 2525 "พระบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ไทย" พร้อมทั้งกำหนดให้วันที่ 18 สิงหาคมเป็น "วันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ" และเมื่อวันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2511 100 ปีของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้


        










   
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!






ประวัติวันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ        รึเปล่ารัฐบาลไทยกำหนดให้วันที่ 18 สิงหาคมเป็นวันวิทยาศาสตร์แห่งชาติเนื่องจากวันที่ 18 สิงหาคมพ . ศ .ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เสด็จพระราชดำเนินชลมารคและสถลมารคทอดพระเนตรสุริยุปราคาเต็มดวงที่ทรงคำนวณพยากรณ์ไว้ล่วงหน้า 2 . ว่าจะเกิดในวันอังคารขึ้น 1 ค่ำเดือน 10 ปีมะโรงสัมฤทธิศกจุลศักราชโดยจะเห็นหมดดวงและชัดเจนที่สุดความที่หมู่บ้านหัววาฬตำบลหว้ากออำเภอเมืองจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ตั้งแต่บริเวณเกาะจานขึ้นไปถึงปราณบุรีและลงไปถึงจังหวัดชุมพรจึงโปรดฯให้เจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ ( ช่วงไปสร้างค่ายหลวงและพลับพลาที่ประทับมีคณะนักดาราศาสตร์จากประเทศฝรั่งเศสและเซอร์แฮรีออดเจ้าเมืองสิงคโปร์เดินทางมาเข้าเฝ้าฯและร่วมในการสังเกตการณ์และต่อมาได้มีการสร้าง " อุทยานวิทยาศาสตร์ " ที่



         ผลการคำนวณของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวแม่นยำมากเซอร์แฮรีออดบันทึกเหตุการณ์ไว้ซึ่งต่อมาหม่อมหลวงปิ่นมาลากุลได้แปลเป็นภาษาไทยในงานหว้ากอรำลึกณท้องฟ้าจำลองกรุงเทพฯเมื่อพ . ศ . 2518 ว่า
" พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระสำราญมากเพราะการคำนวณเวลาสุริยุปราคาของพระองค์ได้พิสูจน์แล้วว่าถูกถ้วนที่สุดถูกถ้วนยิ่งกว่าที่ชาวยุโรปได้คำนวณไว้ "

         ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระองค์ทรงรับเอาศิลปวิทยาการและความคิดสมัยใหม่มาประยุกต์ใช้ในการปกครองประเทศด้วยเหตุนี้องค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ ( ยูเนสโก )ด้วยพระราชกรณียกิจและพระเกียรติคุณนานัปการโดยเฉพาะพระราชกรณียกิจด้านดาราศาสตร์ 


         ทั้งนี้สมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์โดยเฉพาะทางด้านดาราศาสตร์มีแนวคิดว่าน่าจะถือเอาวันที่ 18 สิงหาคมเป็นวันวิทยาศาสตร์ไทยต่อมาวันที่ 14 เมษายนพ . ศ .2525 คณะรัฐมนตรีได้มีมติเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็น " พระบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ไทย " 18 สิงหาคมพร้อมทั้งกำหนดให้วันที่เป็น " วันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ " 18 และเมื่อวันที่สิงหาคมพ . ศ .ได้มีการจัดงานขึ้นเนื่องในโอกาสครบรอบ 100 ปีของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้ 2422
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: