โรงเรียนพิริยาลัยจังหวัดแพร่เดิมเปิดเรียนอยู่ระหว่างวัดพระบาทกับวัดมิ่ การแปล - โรงเรียนพิริยาลัยจังหวัดแพร่เดิมเปิดเรียนอยู่ระหว่างวัดพระบาทกับวัดมิ่ ไทย วิธีการพูด

โรงเรียนพิริยาลัยจังหวัดแพร่เดิมเปิ

โรงเรียนพิริยาลัยจังหวัดแพร่เดิมเปิดเรียนอยู่ระหว่างวัดพระบาทกับวัดมิ่งเมือง (ปัจจุบันวัดทั้งสองได้ขยายเขตเป็นวัดเดียวกัน มีชื่อว่า วัดพระบาทมิ่งเมืองวรวิหาร) ชื่อในสมัยนั้นคือ "โรงเรียนเทพวงศ์" ตามชื่อเจ้าผู้ครองนครแพร่ ซึ่งเป็นผู้เริ่มก่อตั้งโรงเรียนประมาณก่อน พ.ศ. 2444 หลังจากเกิดกบฏเงี้ยวปล้นเมืองแพร่ พ.ศ. 2445 โรงเรียนเทพวงศ์ได้รับการยกฐานะเป็นโรงเรียนประจำจังหวัดมีชื่อว่า "โรงเรียนตัวอย่างเมืองแพร่" รับนักเรียนได้ประมาณ 200 คน

ต่อมาในสมัยของพระยานิกรกิตติการ (กั๊ก ศรีเพ็ญ) ดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัดแพร่ได้ย้ายโรงเรียนไปตั้งที่ใหม่ ..ณ..บริเวณตรงข้ามกับจวนผู้ว่าราชการจังหวัดแพร่ (คือสถานที่ตั้งโรงเรียนนารีรัตน์จังหวัดแพร่) โดยอาศัยแรงงานนักโทษกับช่างไม้พื้นเมืองก่อสร้างโรงเรียนขึ้นใหม่ในเดือนเมษายน พ.ศ. 2454 โดยมีวัตถุประสงค์จะสร้างเป็นพระบรมราชานุสรณ์แด่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ดังนั้นเมื่อสร้างโรงเรียนเสร็จในปี 2455 จึงได้นำความกราบบังคมทูลขอพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวและได้รับพระราชทานนามตามใบบอกที่ 213 เลขที่รับ 169 ลงวันที่ 6/5/56 ว่า "โรงเรียนพิริยาลัย" ซึ่งคงอาศัยเค้านามเต็มจาก "เจ้าพิริยะเทพวงศ์" (เจ้าผู้ครองนครแพร่)

วันอาทิตย์ที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2455 โรงเรียนพิริยาลัยเริ่มเปิดสอน ในฐานะโรงเรียนประจำจังหวัดต่อมาเมืองแพร่ได้รับการยกฐานะเป็น "มณฑลมหาราษฎร์" โรงเรียนพิริยาลัยจังได้เปลี่ยนฐานะเป็นโรงเรียนประจำมณฑลไปด้วย จนเมื่อ พ.ศ. 2469 มณฑลได้ถูกยุบเป็นจังหวัด โรงเรียนพิริยาลัยจึงกลับมาเป็นโรงเรียนประจำจังหวัดตามเดิม มีชื่อเรียนกในสมัยนั้นว่า "โรงเรียนประจำจังหวัดแพร่พิริยาลัย"

ในปี พ.ศ. 2477 ทางราชการทหารได้อนุเคราะห์ไม้อาคารที่ทำงาน และบ้านพักจากตำบลเด่นชัยให้แก่โรงเรียน รวมกับเงินที่ได้รับเงินบริจาคสมทบอีกสว่นหนึ่งจากประชาชน นายคำรพ นุชนิยม ศึกษาธิการจังหวัดแพร่ ซึ่งดำรงตำแหน่งอาจารย์ใหญ่ในขณะนั้นด้วย ได้ซื้อที่นาติดถนน เพชรรัตน์ (ถนนยันตรกิจโกศล) เป็นที่ตั้งโรงเรียนแห่งใหม่ ่แล้วสร้างอาคารไม้สองชั้น จำนวน 10 ห้องเรียนขึ้น (ปัจจุบันได้รื้อถอนไปแล้ว) ณ บริเวณที่ตั้งอาคาร 2 (ไชยลังกา) และอาคาร 3 (นิกรกิตติการ) ขณะนี้

วันพุธที่ 8 กรกฎาคม 2478 โรงเรียนประจำจังหวัดแพร่พิริยาลัย ได้ย้ายมาเปิดสอนในสถานที่แห่งใหม่ เป็นต้นมา มีนักเรียนตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นประถมศึกษา ปีที่ 6 และในปีนั้นได้เปิดสอบชั้นพาณิชยการปีที่ 5 ด้วย ต่อมาได้ขยายถึงพาณิชยการปีที่ 8
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ชื่อในสมัยนั้นคือโรงเรียนพิริยาลัยจังหวัดแพร่เดิมเปิดเรียนอยู่ระหว่างวัดพระบาทกับวัดมิ่งเมือง (ปัจจุบันวัดทั้งสองได้ขยายเขตเป็นวัดเดียวกันมีชื่อว่าวัดพระบาทมิ่งเมืองวรวิหาร) "โรงเรียนเทพวงศ์" ตามชื่อเจ้าผู้ครองนครแพร่ซึ่งเป็นผู้เริ่มก่อตั้งโรงเรียนประมาณก่อนพ.ศ. 2444 หลังจากเกิดกบฏเงี้ยวปล้นเมืองแพร่พ.ศ. ศ ๒๔๔๕ ภายโรงเรียนเทพวงศ์ได้รับการยกฐานะเป็นโรงเรียนประจำจังหวัดมีชื่อว่า "โรงเรียนตัวอย่างเมืองแพร่" รับนักเรียนได้ประมาณ 200 คนต่อมาในสมัยของพระยานิกรกิตติการ (กั๊ก ศรีเพ็ญ) ดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัดแพร่ได้ย้ายโรงเรียนไปตั้งที่ใหม่ ..ณ..บริเวณตรงข้ามกับจวนผู้ว่าราชการจังหวัดแพร่ (คือสถานที่ตั้งโรงเรียนนารีรัตน์จังหวัดแพร่) โดยอาศัยแรงงานนักโทษกับช่างไม้พื้นเมืองก่อสร้างโรงเรียนขึ้นใหม่ในเดือนเมษายน พ.ศ. 2454 โดยมีวัตถุประสงค์จะสร้างเป็นพระบรมราชานุสรณ์แด่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ดังนั้นเมื่อสร้างโรงเรียนเสร็จในปี 2455 จึงได้นำความกราบบังคมทูลขอพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวและได้รับพระราชทานนามตามใบบอกที่ 213 เลขที่รับ 169 ลงวันที่ 6/5/56 ว่า "โรงเรียนพิริยาลัย" ซึ่งคงอาศัยเค้านามเต็มจาก "เจ้าพิริยะเทพวงศ์" (เจ้าผู้ครองนครแพร่)วันอาทิตย์ที่ 20 ตุลาคมพ.ศ. 2455 โรงเรียนพิริยาลัยเริ่มเปิดสอนในฐานะโรงเรียนประจำจังหวัดต่อมาเมืองแพร่ได้รับการยกฐานะเป็น "มณฑลมหาราษฎร์" โรงเรียนพิริยาลัยจังได้เปลี่ยนฐานะเป็นโรงเรียนประจำมณฑลไปด้วยจนเมื่อพ.ศ. 2469 มณฑลได้ถูกยุบเป็นจังหวัดโรงเรียนพิริยาลัยจึงกลับมาเป็นโรงเรียนประจำจังหวัดตามเดิมมีชื่อเรียนกในสมัยนั้นว่า "โรงเรียนประจำจังหวัดแพร่พิริยาลัย"ในปีพ.ศ. 2477 ทางราชการทหารได้อนุเคราะห์ไม้อาคารที่ทำงานและบ้านพักจากตำบลเด่นชัยให้แก่โรงเรียนรวมกับเงินที่ได้รับเงินบริจาคสมทบอีกสว่นหนึ่งจากประชาชนนายคำรพนุชนิยมศึกษาธิการจังหวัดแพร่ซึ่งดำรงตำแหน่งอาจารย์ใหญ่ในขณะนั้นด้วยได้ซื้อที่นาติดถนนเพชรรัตน์ (ถนนยันตรกิจโกศล) เป็นที่ตั้งโรงเรียนแห่งใหม่่แล้วสร้างอาคารไม้สองชั้นจำนวน 10 ห้องเรียนขึ้น (ปัจจุบันได้รื้อถอนไปแล้ว) ณบริเวณที่ตั้งอาคาร 2 (ไชยลังกา) และอาคาร 3 (นิกรกิตติการ) ขณะนี้วันพุธที่ 8 กรกฎาคม 2478 โรงเรียนประจำจังหวัดแพร่พิริยาลัย ได้ย้ายมาเปิดสอนในสถานที่แห่งใหม่ เป็นต้นมา มีนักเรียนตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นประถมศึกษา ปีที่ 6 และในปีนั้นได้เปิดสอบชั้นพาณิชยการปีที่ 5 ด้วย ต่อมาได้ขยายถึงพาณิชยการปีที่ 8
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
มีชื่อว่าวัดพระบาทมิ่งเมืองวรวิหาร) ชื่อในสมัยนั้นคือ "โรงเรียนเทพวงศ์" ตามชื่อเจ้าผู้ครองนครแพร่ พ.ศ. 2444 หลังจากเกิดกบฏเงี้ยวปล้นเมืองแพร่ พ.ศ. 2445 "โรงเรียนตัวอย่างเมืองแพร่" รับนักเรียนได้ประมาณ 200 คนต่อมาในสมัยของพระยานิกรกิตติการ (กั๊กศรีเพ็ญ) พ.ศ. 2454 2455 213 เลขที่รับ 169 ลงวันที่ 6/5/56 ว่า "โรงเรียนพิริยาลัย" ซึ่งคงอาศัยเค้านามเต็มจาก "เจ้าพิริยะเทพวงศ์" (เจ้าผู้ครองนครแพร่) วันอาทิตย์ที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2455 โรงเรียนพิริยาลัยเริ่มเปิดสอน "มณฑลมหาราษฎร์" จนเมื่อ พ.ศ. 2469 มณฑลได้ถูกยุบเป็นจังหวัด มีชื่อเรียนกในสมัยนั้นว่า พ.ศ. 2477 นายคำรพนุชนิยมศึกษาธิการจังหวัดแพร่ ได้ซื้อที่นาติดถนนเพชรรัตน์ (ถนนยันตรกิจโกศล) เป็นที่ตั้งโรงเรียนแห่งใหม่่แล้วสร้างอาคารไม้สองชั้นจำนวน 10 ห้องเรียนขึ้น (ปัจจุบันได้รื้อถอนไปแล้ว) ณ บริเวณที่ตั้งอาคาร 2 (ไชยลังกา) และอาคาร 3 (นิกรกิตติการ) ขณะนี้วันพุธที่ 8 กรกฎาคม 2478 โรงเรียนประจำจังหวัดแพร่พิริยาลัยได้ย้ายมาเปิดสอนในสถานที่แห่งใหม่เป็นต้นมา 1 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 5 ด้วยต่อมาได้ขยายถึงพาณิชยการปีที่ 8







การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
โรงเรียนพิริยาลัยจังหวัดแพร่เดิมเปิดเรียนอยู่ระหว่างวัดพระบาทกับวัดมิ่งเมือง ( ปัจจุบันวัดทั้งสองได้ขยายเขตเป็นวัดเดียวกันมีชื่อว่าวัดพระบาทมิ่งเมืองวรวิหาร ) ชื่อในสมัยนั้นคือ " โรงเรียนเทพวงศ์ "ซึ่งเป็นผู้เริ่มก่อตั้งโรงเรียนประมาณก่อนพ .ศ . 1472 หลังจากเกิดกบฏเงี้ยวปล้นเมืองแพร่พ . ศ . 2445 โรงเรียนเทพวงศ์ได้รับการยกฐานะเป็นโรงเรียนประจำจังหวัดมีชื่อว่า " โรงเรียนตัวอย่างเมืองแพร่ " รับนักเรียนได้ประมาณ 200 คน

ต่อมาในสมัยของพระยานิกรกิตติการ ( กั๊กศรีเพ็ญ ) ดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัดแพร่ได้ย้ายโรงเรียนไปตั้งที่ใหม่ . . ณ . . . . . . .บริเวณตรงข้ามกับจวนผู้ว่าราชการจังหวัดแพร่ ( คือสถานที่ตั้งโรงเรียนนารีรัตน์จังหวัดแพร่ ) โดยอาศัยแรงงานนักโทษกับช่างไม้พื้นเมืองก่อสร้างโรงเรียนขึ้นใหม่ในเดือนเมษายนพ . ศ .2454 โดยมีวัตถุประสงค์จะสร้างเป็นพระบรมราชานุสรณ์แด่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวดังนั้นเมื่อสร้างโรงเรียนเสร็จในปี 2455213 เลขที่รับ 169 ลงวันที่ 6 / 5 / 56 ว่า " โรงเรียนพิริยาลัย " ซึ่งคงอาศัยเค้านามเต็มจาก " เจ้าพิริยะเทพวงศ์ ( เจ้าผู้ครองนครแพร่ )
"
วันอาทิตย์ที่ 20 ตุลาคมพ . ศ .2455 โรงเรียนพิริยาลัยเริ่มเปิดสอนในฐานะโรงเรียนประจำจังหวัดต่อมาเมืองแพร่ได้รับการยกฐานะเป็น " มณฑลมหาราษฎร์ " โรงเรียนพิริยาลัยจังได้เปลี่ยนฐานะเป็นโรงเรียนประจำมณฑลไปด้วยจนเมื่อพ . ศ .ซึ่งมณฑลได้ถูกยุบเป็นจังหวัดโรงเรียนพิริยาลัยจึงกลับมาเป็นโรงเรียนประจำจังหวัดตามเดิมมีชื่อเรียนกในสมัยนั้นว่า " โรงเรียนประจำจังหวัดแพร่พิริยาลัย "

สามารถพ . ศ .ทางราชการทหารได้อนุเคราะห์ไม้อาคารที่ทำงานและบ้านพักจากตำบลเด่นชัยให้แก่โรงเรียนรวมกับเงินที่ได้รับเงินบริจาคสมทบอีกสว่นหนึ่งจากประชาชนนายคำรพนุชนิยมศึกษาธิการจังหวัดแพร่พ.ได้ซื้อที่นาติดถนนเพชรรัตน์ ( ถนนยันตรกิจโกศล ) เป็นที่ตั้งโรงเรียนแห่งใหม่่แล้วสร้างอาคารไม้สองชั้นจำนวน 10 ห้องเรียนขึ้น ( ปัจจุบันได้รื้อถอนไปแล้ว ) ณบริเวณที่ตั้งอาคาร 2 ( ไชยลังกา ) และอาคาร 3 ( นิกรกิตติการ )
วันพุธที่ 8 กรกฎาคม 2478 โรงเรียนประจำจังหวัดแพร่พิริยาลัยได้ย้ายมาเปิดสอนในสถานที่แห่งใหม่เป็นต้นมามีนักเรียนตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และในปีนั้นได้เปิดสอบชั้นพาณิชยการปีที่ 5ต่อมาได้ขยายถึงพาณิชยการปีที่ 8
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: