วัดฉลอง

วัดฉลอง" เป็นวัดที่มีมาแต่ก่อนเก่า

วัดฉลอง" เป็นวัดที่มีมาแต่ก่อนเก่า จึงไม่มีท่านผู้ใดทราบประวัติความเป็นมาได้ละเอียดนัก วัดฉลองนี้ตั้งอยู่ทางด้านเหนือของเกาะภูเก็ต ห่างจากตัวเมืองประมาณ 7-8 กิโลเมตร ไปตามทางหลวงหมายเลข 4021 ผ่านสามแยกบริเวณสนามกีฬาสุรกุล เลี้ยวซ้ายไปทางห้าแยกฉลอง วัดฉลองจะอยู่ทางซ้ายมือก่อนถึงห้าแยกฉลอง ประมาณ 4 กิโลเมตร ตามหลักฐานที่ปรากฎมีศาลาเก่าแก่อยู่หลังหนึ่งทางด้านทิศตะวันออก(ของวัดใน ปัจจุบันนี้) ซึ่งเป็นที่ประดิษฐานขององค์พระปฎิมา จากสภาพขององค์ท่าน นับว่า...เป็นพระพุทธรูปที่สร้างขึ้นมาช้านานแล้ว จนไม่อาจคำนวณอายุที่แน่นอนได้ชาวบ้านฉลองและคนทั่วไปเรียกท่านว่า "พ่อท่านเจ้าวัด" ด้านซ้ายขององค์ท่านมีรูปหล่อของชายชรานั่งถือตะบันหมาก ชาวบ้านเรียกว่า "ตาขี้เหล็ก"เล่ากันว่าตอนที่สร้างโบสถ์เสร็จ มีปูนเหลืออยู่จำนวนหนึ่ง ช่างนึกสนุกจึงนำปูนมาปั้นเป็นรูปตาแก่ ประชาชนนิยมบนตาขี้เหล็กด้วยหมากพลูและบุหรี่มาจนทุกวันนี้ ส่วนด้านขวาของ "พ่อท่านเจ้าวัด" นั้น มีรูปหล่อเป็นยักษ์ถือกระบองแลดูน่ากลัว ชาวบ้านเรียกว่า "นนทรีย์" รูปหล่อทั้ง 3 องค์นี้ ท่านศักดิ์สิทธิ์นัก จนเป็นที่โจษขานกันมานานแล้วภายในวัดฉลองมีกุฏิจำลองพ่อท่านสมเด็จเจ้า

ภายในจะประดิษฐ์สถานหุ่นขี้ผึ้งรูปเหมือนของหลวงพ่อทั้ง 3 ท่าน คือ หลวงพ่อแช่ม, หลวงพ่อช่วง, หลวงพ่อเกลื้อม เป็นพระคู่วัดฉลองไว้ให้ประชาชนมาสักการะของพรจากหลวงพ่อทั้ง 3 ท่าน ซึ่งเป็นรูปหุ่นขึ้ผึ้งที่สวยงามมาก

ตรงข้ามโบสถ์หลังจะเป็นที่ตั้งของพระมหาธาตุเจดีย์พระจอมไทยบารมีประกาศ เป็นที่ประดิษฐสถานของพระธาตุของพระพุทธเจ้าที่นำมาจากศรีลังกา นำมาให้ชาวภูเก็ตได้สักการะกันภายในพระมหาธาตุเจดีย์บนข้างฝาผนังจะมีรูปเขียนภาพจิตรกรรมตามพุทธประวัติ และ มีรูปปั้นพระพุทธรูปปางต่างๆภายในอุโบสถ์ตลอดทางขี้นไป

ว่ากันว่าหากมาถึงภูเก็ตแล้ว ควรได้เดินทางมาไหว้หลวงพ่อแช่มที่วัดฉลองหรือวัดไชยธาราราม วัดคู่บ้านคู่เมืองภูเก็ต เรื่องราวความศักดิ์สิทธิ์ กิตติศัพท์ในการรักษาโรค บุญญาบารมี และเมตตาธรรมที่สูงส่งของหลวงพ่อทำให้มีผู้เลื่อมใสศรัทธาเป็นอันมาก เล่ากันว่าในขณะที่ท่านมีชีวิตอยู่นั้น ถึงกับมีผู้ที่รอปิดทองตามแขนและขาของท่าน จนแลดูเหลืองอร่ามไปทั่วราวกับปิดทองพระพุทธรูป และแม้ว่าหลวงพ่อแช่มจะมรณภาพเป็นเวลานับหนึ่งร้อยปีมาแล้วก็ตาม ชื่อเสียงเกียรติคุณและบารมีของท่านก็อยู่ในความทรงจำของผู้คนสืบมา ทุกวันนี้หลวงพ่อแช่มยังคงเป็นที่พึ่งพาทางจิตใจให้กับชาวภูเก็ต และชาวไทยทั่วทุกภาคหรือแม้แต่เพื่อนบ้านผู้มาเยือนดินแดนไข่มุกแห่งอันดามันนี้เสมอ

ประวัติตอนหนึ่งของหลวงพ่อแช่มนั้นเล่าว่าในปี พ.ศ.2419 ซึ่งตรงกับสมัยของรัชกาลที่ 5 หลวงพ่อแช่มได้ช่วยเหลือชาวภูเก็ตต่อสู้กับพวกอั้งยี่ ชาวกรรมกรเหมืองแร่ที่ได้ก่อเหตุจลาจล ไล่ฆ่าฟันโจมตีชาวบ้านและจะยึดครองเมืองภูเก็ต ในครั้งนั้นหลวงพ่อได้มอบผ้าประเจียดสีขาวให้ชาวบ้านทุกคนโพกหัวเพื่อเป็นเครื่องรางป้องกันอันตราย ซึ่งได้สร้างความเชื่อมั่นและขวัญกำลังใจให้กับชาวภูเก็ตเป็นอย่างมาก และใช้วัดฉลองเป็นที่มั่นราวกับป้อมค่ายที่ใช้ในการต่อสู้ จนกระทั่งสามารถเอาชนะพวกอั้งยี่ได้ เมื่อรัชกาลที่ 5 ทรงทราบความจึงโปรดเกล้าฯ พระราชทานสมณศักดิ์แก่หลวงพ่อแช่ม เป็นพระครูวิสุทธิวงศาจารย์ญาณมุนี ให้มีตำแหน่งเป็นสังฆปาโมกข์แห่งเมืองภูเก็ต ซึ่งเป็นตำแหน่งสูงสุดในสมัยนั้น และได้พระราชทานนามวัดฉลองเป็นวัดไชยธารารามแต่นั้นมา
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
วัดฉลอง"เป็นวัดที่มีมาแต่ก่อนเก่าจึงไม่มีท่านผู้ใดทราบประวัติความเป็นมาได้ละเอียดนักวัดฉลองนี้ตั้งอยู่ทางด้านเหนือของเกาะภูเก็ตห่างจากตัวเมืองประมาณ 7-8 กิโลเมตรไปตามทางหลวงหมายเลข 4021 ผ่านสามแยกบริเวณสนามกีฬาสุรกุลเลี้ยวซ้ายไปทางห้าแยกฉลองวัดฉลองจะอยู่ทางซ้ายมือก่อนถึงห้าแยกฉลองประมาณ 4 กิโลเมตรตามหลักฐานที่ปรากฎมีศาลาเก่าแก่อยู่หลังหนึ่งทางด้านทิศตะวันออก (ของวัดในปัจจุบันนี้) ซึ่งเป็นที่ประดิษฐานขององค์พระปฎิมาจากสภาพขององค์ท่านนับว่า...เป็นพระพุทธรูปที่สร้างขึ้นมาช้านานแล้วจนไม่อาจคำนวณอายุที่แน่นอนได้ชาวบ้านฉลองและคนทั่วไปเรียกท่านว่า "พ่อท่านเจ้าวัด" ด้านซ้ายขององค์ท่านมีรูปหล่อของชายชรานั่งถือตะบันหมากชาวบ้านเรียกว่า "ตาขี้เหล็ก" เล่ากันว่าตอนที่สร้างโบสถ์เสร็จมีปูนเหลืออยู่จำนวนหนึ่งช่างนึกสนุกจึงนำปูนมาปั้นเป็นรูปตาแก่ประชาชนนิยมบนตาขี้เหล็กด้วยหมากพลูและบุหรี่มาจนทุกวันนี้ส่วนด้านขวาของ "พ่อท่านเจ้าวัด" ชาวบ้านเรียกว่ามีรูปหล่อเป็นยักษ์ถือกระบองแลดูน่ากลัวนั้น "นนทรีย์" รูปหล่อทั้ง 3 องค์นี้ท่านศักดิ์สิทธิ์นักจนเป็นที่โจษขานกันมานานแล้วภายในวัดฉลองมีกุฏิจำลองพ่อท่านสมเด็จเจ้า ภายในจะประดิษฐ์สถานหุ่นขี้ผึ้งรูปเหมือนของหลวงพ่อทั้ง 3 ท่านคือหลวงพ่อแช่ม หลวงพ่อช่วง ซึ่งเป็นรูปหุ่นขึ้ผึ้งที่สวยงามมากหลวงพ่อเกลื้อมเป็นพระคู่วัดฉลองไว้ให้ประชาชนมาสักการะของพรจากหลวงพ่อทั้ง 3 ท่าน ตรงข้ามโบสถ์หลังจะเป็นที่ตั้งของพระมหาธาตุเจดีย์พระจอมไทยบารมีประกาศเป็นที่ประดิษฐสถานของพระธาตุของพระพุทธเจ้าที่นำมาจากศรีลังกานำมาให้ชาวภูเก็ตได้สักการะกันภายในพระมหาธาตุเจดีย์บนข้างฝาผนังจะมีรูปเขียนภาพจิตรกรรมตามพุทธประวัติและมีรูปปั้นพระพุทธรูปปางต่างๆภายในอุโบสถ์ตลอดทางขี้นไป ว่ากันว่าหากมาถึงภูเก็ตแล้วควรได้เดินทางมาไหว้หลวงพ่อแช่มที่วัดฉลองหรือวัดไชยธารารามวัดคู่บ้านคู่เมืองภูเก็ตเรื่องราวความศักดิ์สิทธิ์กิตติศัพท์ในการรักษาโรคบุญญาบารมีและเมตตาธรรมที่สูงส่งของหลวงพ่อทำให้มีผู้เลื่อมใสศรัทธาเป็นอันมากเล่ากันว่าในขณะที่ท่านมีชีวิตอยู่นั้นถึงกับมีผู้ที่รอปิดทองตามแขนและขาของท่านจนแลดูเหลืองอร่ามไปทั่วราวกับปิดทองพระพุทธรูปและแม้ว่าหลวงพ่อแช่มจะมรณภาพเป็นเวลานับหนึ่งร้อยปีมาแล้วก็ตามชื่อเสียงเกียรติคุณและบารมีของท่านก็อยู่ในความทรงจำของผู้คนสืบมาทุกวันนี้หลวงพ่อแช่มยังคงเป็นที่พึ่งพาทางจิตใจให้กับชาวภูเก็ตและชาวไทยทั่วทุกภาคหรือแม้แต่เพื่อนบ้านผู้มาเยือนดินแดนไข่มุกแห่งอันดามันนี้เสมอ ประวัติตอนหนึ่งของหลวงพ่อแช่มนั้นเล่าว่าในปี พ.ศ.2419 ซึ่งตรงกับสมัยของรัชกาลที่ 5 หลวงพ่อแช่มได้ช่วยเหลือชาวภูเก็ตต่อสู้กับพวกอั้งยี่ ชาวกรรมกรเหมืองแร่ที่ได้ก่อเหตุจลาจล ไล่ฆ่าฟันโจมตีชาวบ้านและจะยึดครองเมืองภูเก็ต ในครั้งนั้นหลวงพ่อได้มอบผ้าประเจียดสีขาวให้ชาวบ้านทุกคนโพกหัวเพื่อเป็นเครื่องรางป้องกันอันตราย ซึ่งได้สร้างความเชื่อมั่นและขวัญกำลังใจให้กับชาวภูเก็ตเป็นอย่างมาก และใช้วัดฉลองเป็นที่มั่นราวกับป้อมค่ายที่ใช้ในการต่อสู้ จนกระทั่งสามารถเอาชนะพวกอั้งยี่ได้ เมื่อรัชกาลที่ 5 ทรงทราบความจึงโปรดเกล้าฯ พระราชทานสมณศักดิ์แก่หลวงพ่อแช่ม เป็นพระครูวิสุทธิวงศาจารย์ญาณมุนี ให้มีตำแหน่งเป็นสังฆปาโมกข์แห่งเมืองภูเก็ต ซึ่งเป็นตำแหน่งสูงสุดในสมัยนั้น และได้พระราชทานนามวัดฉลองเป็นวัดไชยธารารามแต่นั้นมา
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
วัดฉลอง" เป็นวัดที่มีมาแต่ก่อนเก่า จึงไม่มีท่านผู้ใดทราบประวัติความเป็นมาได้ละเอียดนัก วัดฉลองนี้ตั้งอยู่ทางด้านเหนือของเกาะภูเก็ต ห่างจากตัวเมืองประมาณ 7-8 กิโลเมตร ไปตามทางหลวงหมายเลข 4021 ผ่านสามแยกบริเวณสนามกีฬาสุรกุล เลี้ยวซ้ายไปทางห้าแยกฉลอง วัดฉลองจะอยู่ทางซ้ายมือก่อนถึงห้าแยกฉลอง ประมาณ 4 กิโลเมตร ตามหลักฐานที่ปรากฎมีศาลาเก่าแก่อยู่หลังหนึ่งทางด้านทิศตะวันออก(ของวัดใน ปัจจุบันนี้) ซึ่งเป็นที่ประดิษฐานขององค์พระปฎิมา จากสภาพขององค์ท่าน นับว่า...เป็นพระพุทธรูปที่สร้างขึ้นมาช้านานแล้ว จนไม่อาจคำนวณอายุที่แน่นอนได้ชาวบ้านฉลองและคนทั่วไปเรียกท่านว่า "พ่อท่านเจ้าวัด" ด้านซ้ายขององค์ท่านมีรูปหล่อของชายชรานั่งถือตะบันหมาก ชาวบ้านเรียกว่า "ตาขี้เหล็ก"เล่ากันว่าตอนที่สร้างโบสถ์เสร็จ มีปูนเหลืออยู่จำนวนหนึ่ง ช่างนึกสนุกจึงนำปูนมาปั้นเป็นรูปตาแก่ ประชาชนนิยมบนตาขี้เหล็กด้วยหมากพลูและบุหรี่มาจนทุกวันนี้ ส่วนด้านขวาของ "พ่อท่านเจ้าวัด" นั้น มีรูปหล่อเป็นยักษ์ถือกระบองแลดูน่ากลัว ชาวบ้านเรียกว่า "นนทรีย์" รูปหล่อทั้ง 3 องค์นี้ ท่านศักดิ์สิทธิ์นัก จนเป็นที่โจษขานกันมานานแล้วภายในวัดฉลองมีกุฏิจำลองพ่อท่านสมเด็จเจ้า

ภายในจะประดิษฐ์สถานหุ่นขี้ผึ้งรูปเหมือนของหลวงพ่อทั้ง 3 ท่าน คือ หลวงพ่อแช่ม, หลวงพ่อช่วง, หลวงพ่อเกลื้อม เป็นพระคู่วัดฉลองไว้ให้ประชาชนมาสักการะของพรจากหลวงพ่อทั้ง 3 ท่าน ซึ่งเป็นรูปหุ่นขึ้ผึ้งที่สวยงามมาก

ตรงข้ามโบสถ์หลังจะเป็นที่ตั้งของพระมหาธาตุเจดีย์พระจอมไทยบารมีประกาศ เป็นที่ประดิษฐสถานของพระธาตุของพระพุทธเจ้าที่นำมาจากศรีลังกา นำมาให้ชาวภูเก็ตได้สักการะกันภายในพระมหาธาตุเจดีย์บนข้างฝาผนังจะมีรูปเขียนภาพจิตรกรรมตามพุทธประวัติ และ มีรูปปั้นพระพุทธรูปปางต่างๆภายในอุโบสถ์ตลอดทางขี้นไป

ว่ากันว่าหากมาถึงภูเก็ตแล้ว ควรได้เดินทางมาไหว้หลวงพ่อแช่มที่วัดฉลองหรือวัดไชยธาราราม วัดคู่บ้านคู่เมืองภูเก็ต เรื่องราวความศักดิ์สิทธิ์ กิตติศัพท์ในการรักษาโรค บุญญาบารมี และเมตตาธรรมที่สูงส่งของหลวงพ่อทำให้มีผู้เลื่อมใสศรัทธาเป็นอันมาก เล่ากันว่าในขณะที่ท่านมีชีวิตอยู่นั้น ถึงกับมีผู้ที่รอปิดทองตามแขนและขาของท่าน จนแลดูเหลืองอร่ามไปทั่วราวกับปิดทองพระพุทธรูป และแม้ว่าหลวงพ่อแช่มจะมรณภาพเป็นเวลานับหนึ่งร้อยปีมาแล้วก็ตาม ชื่อเสียงเกียรติคุณและบารมีของท่านก็อยู่ในความทรงจำของผู้คนสืบมา ทุกวันนี้หลวงพ่อแช่มยังคงเป็นที่พึ่งพาทางจิตใจให้กับชาวภูเก็ต และชาวไทยทั่วทุกภาคหรือแม้แต่เพื่อนบ้านผู้มาเยือนดินแดนไข่มุกแห่งอันดามันนี้เสมอ

ประวัติตอนหนึ่งของหลวงพ่อแช่มนั้นเล่าว่าในปี พ.ศ.2419 ซึ่งตรงกับสมัยของรัชกาลที่ 5 หลวงพ่อแช่มได้ช่วยเหลือชาวภูเก็ตต่อสู้กับพวกอั้งยี่ ชาวกรรมกรเหมืองแร่ที่ได้ก่อเหตุจลาจล ไล่ฆ่าฟันโจมตีชาวบ้านและจะยึดครองเมืองภูเก็ต ในครั้งนั้นหลวงพ่อได้มอบผ้าประเจียดสีขาวให้ชาวบ้านทุกคนโพกหัวเพื่อเป็นเครื่องรางป้องกันอันตราย ซึ่งได้สร้างความเชื่อมั่นและขวัญกำลังใจให้กับชาวภูเก็ตเป็นอย่างมาก และใช้วัดฉลองเป็นที่มั่นราวกับป้อมค่ายที่ใช้ในการต่อสู้ จนกระทั่งสามารถเอาชนะพวกอั้งยี่ได้ เมื่อรัชกาลที่ 5 ทรงทราบความจึงโปรดเกล้าฯ พระราชทานสมณศักดิ์แก่หลวงพ่อแช่ม เป็นพระครูวิสุทธิวงศาจารย์ญาณมุนี ให้มีตำแหน่งเป็นสังฆปาโมกข์แห่งเมืองภูเก็ต ซึ่งเป็นตำแหน่งสูงสุดในสมัยนั้น และได้พระราชทานนามวัดฉลองเป็นวัดไชยธารารามแต่นั้นมา
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
วัดฉลอง " เป็นวัดที่มีมาแต่ก่อนเก่าจึงไม่มีท่านผู้ใดทราบประวัติความเป็นมาได้ละเอียดนักวัดฉลองนี้ตั้งอยู่ทางด้านเหนือของเกาะภูเก็ตห่างจากตัวเมืองประมาณ 7-8 กิโลเมตรไปตามทางหลวงหมายเลข 3241เลี้ยวซ้ายไปทางห้าแยกฉลองวัดฉลองจะอยู่ทางซ้ายมือก่อนถึงห้าแยกฉลองประมาณ 4 กิโลเมตรตามหลักฐานที่ปรากฎมีศาลาเก่าแก่อยู่หลังหนึ่งทางด้านทิศตะวันออก ( ของวัดในปัจจุบันนี้ )จากสภาพขององค์ท่านนับว่า .. . . . . . .เป็นพระพุทธรูปที่สร้างขึ้นมาช้านานแล้วจนไม่อาจคำนวณอายุที่แน่นอนได้ชาวบ้านฉลองและคนทั่วไปเรียกท่านว่า " พ่อท่านเจ้าวัด " ด้านซ้ายขององค์ท่านมีรูปหล่อของชายชรานั่งถือตะบันหมากชาวบ้านเรียกว่ามีปูนเหลืออยู่จำนวนหนึ่งช่างนึกสนุกจึงนำปูนมาปั้นเป็นรูปตาแก่ประชาชนนิยมบนตาขี้เหล็กด้วยหมากพลูและบุหรี่มาจนทุกวันนี้ส่วนด้านขวาของ " พ่อท่านเจ้าวัด " นั้นมีรูปหล่อเป็นยักษ์ถือกระบองแลดูน่ากลัว" นนทรีย์ " รูปหล่อทั้งองค์นี้ท่านศักดิ์สิทธิ์นักจนเป็นที่โจษขานกันมานานแล้วภายในวัดฉลองมีกุฏิจำลองพ่อท่านสมเด็จเจ้า
3
ภายในจะประดิษฐ์สถานหุ่นขี้ผึ้งรูปเหมือนของหลวงพ่อทั้ง 3 ท่านความหลวงพ่อแช่มหลวงพ่อช่วง , ,หลวงพ่อเกลื้อมเป็นพระคู่วัดฉลองไว้ให้ประชาชนมาสักการะของพรจากหลวงพ่อทั้งท่านซึ่งเป็นรูปหุ่นขึ้ผึ้งที่สวยงามมาก

3ตรงข้ามโบสถ์หลังจะเป็นที่ตั้งของพระมหาธาตุเจดีย์พระจอมไทยบารมีประกาศเป็นที่ประดิษฐสถานของพระธาตุของพระพุทธเจ้าที่นำมาจากศรีลังกาและมีรูปปั้นพระพุทธรูปปางต่างๆภายในอุโบสถ์ตลอดทางขี้นไป

ว่ากันว่าหากมาถึงภูเก็ตแล้วควรได้เดินทางมาไหว้หลวงพ่อแช่มที่วัดฉลองหรือวัดไชยธารารามวัดคู่บ้านคู่เมืองภูเก็ตเรื่องราวความศักดิ์สิทธิ์กิตติศัพท์ในการรักษาโรคบุญญาบารมีเล่ากันว่าในขณะที่ท่านมีชีวิตอยู่นั้นถึงกับมีผู้ที่รอปิดทองตามแขนและขาของท่านจนแลดูเหลืองอร่ามไปทั่วราวกับปิดทองพระพุทธรูปและแม้ว่าหลวงพ่อแช่มจะมรณภาพเป็นเวลานับหนึ่งร้อยปีมาแล้วก็ตามทุกวันนี้หลวงพ่อแช่มยังคงเป็นที่พึ่งพาทางจิตใจให้กับชาวภูเก็ตและชาวไทยทั่วทุกภาคหรือแม้แต่เพื่อนบ้านผู้มาเยือนดินแดนไข่มุกแห่งอันดามันนี้เสมอ

ประวัติตอนหนึ่งของหลวงพ่อแช่มนั้นเล่าว่าในปีพ . ศ .ซึ่งตรงกับสมัยของรัชกาลที่ 5 หลวงพ่อแช่มได้ช่วยเหลือชาวภูเก็ตต่อสู้กับพวกอั้งยี่ชาวกรรมกรเหมืองแร่ที่ได้ก่อเหตุจลาจลไล่ฆ่าฟันโจมตีชาวบ้านและจะยึดครองเมืองภูเก็ตศาสนาพราหมณ์ซึ่งได้สร้างความเชื่อมั่นและขวัญกำลังใจให้กับชาวภูเก็ตเป็นอย่างมากและใช้วัดฉลองเป็นที่มั่นราวกับป้อมค่ายที่ใช้ในการต่อสู้จนกระทั่งสามารถเอาชนะพวกอั้งยี่ได้เมื่อรัชกาลที่ 5 ทรงทราบความจึงโปรดเกล้าฯเป็นพระครูวิสุทธิวงศาจารย์ญาณมุนีให้มีตำแหน่งเป็นสังฆปาโมกข์แห่งเมืองภูเก็ตซึ่งเป็นตำแหน่งสูงสุดในสมัยนั้นและได้พระราชทานนามวัดฉลองเป็นวัดไชยธารารามแต่นั้นมา
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: