ทำไมเวลาเศร้าจึงรู้สึกเจ็บหัวใจ.หลายคนอาจเคยได้ยินคำพูดว่าอกหักแล้วเศร การแปล - ทำไมเวลาเศร้าจึงรู้สึกเจ็บหัวใจ.หลายคนอาจเคยได้ยินคำพูดว่าอกหักแล้วเศร ไทย วิธีการพูด

ทำไมเวลาเศร้าจึงรู้สึกเจ็บหัวใจ.หลา

ทำไมเวลาเศร้าจึงรู้สึกเจ็บหัวใจ

.

หลายคนอาจเคยได้ยินคำพูดว่าอกหักแล้วเศร้า รู้สึกเจ็บเหมือนหัวใจสลาย ซึ่งฟังดูแล้วอาจจะคิดว่าเป็นคำพูดเกินจริง หรืออาจเป็นอุปาทานอย่างหนึ่งของคนอกหัก แต่ในทางวิทยาศาสตร์นั้นมีคำอธิบายของสาเหตุที่ทำให้เกิดอาการดังกล่าว และอาการรู้สึกเหมือนหัวใจสลาย อาจเป็นอันตรายมากกว่าที่คุณคิด!

.

ก่อนจะพูดเรื่องอกหักคงต้องพูดเรื่องความรักเสียก่อน เนื่องจากในยามมีความรัก สมองจะหลั่งสารโดปามีน (Dopamine) ซึ่งทำให้คนเกิดความพึงพอใจ มีสมาธิ กับสารออกซิโทซิน (Oxytocin) ซึ่งมีหน้าที่ลดความเครียด คลายความกังวล และทำให้รู้สึกอบอุ่นกับคนที่มีความผูกพันด้วย และยังมีสารเอนดอร์ฟิน (Endorphin) ที่ทำให้คนรู้สึกมีความสุข ลืมความเจ็บปวด นั่นจึงทำให้คนเรารู้สึกดีเมื่อมีความรัก

.

ทว่าเมื่ออกหักผิดหวังจากรักขึ้นมา ฮอร์โมนความเครียดได้แก่ คอร์ติซอล (Cortisol) และอะดรีนาลีน (Adrenaline) ซึ่งเป็นฮอร์โมนที่กดการทำงานของสมอง โดยปกติแล้วจะหลั่งออกมาเมื่ออยู่ในสภาวะตึงเครียด หรือสภาวะที่รู้สึกว่าตนเองตกอยู่ในอันตราย จะหลั่งออกมาจากต่อมหมวกไต และส่งสัญญาณไปที่สมอง

.

ฮอร์โมนคอร์ติซอล มีผลทำให้กล้ามเนื้อของร่างกายต้องการเลือดไปหล่อเลี้ยงมากขึ้น ส่วนฮอร์โมนอะดรีนาลีน จะทำให้หัวใจทำงานหนักขึ้นเพื่อสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงร่างกาย โดยปกติแล้วสารทั้งสองจะมีประโยชน์สำหรับการกระตุ้นร่างกายในทำงานด้วยประสิทธิภาพสูงสุดเพื่อรับมือกับอันตราย เช่นที่เราอาจเห็นคนแบกของหนักเกินกำลังเมื่อไฟไหม้

.

แม้ว่าสารทั้งสองทำให้ร่างกายเอาตัวรอดจากอันตรายภายนอกได้ดี แต่หากเป็นอันตรายภายในใจเราเอง ซึ่งเราไม่จำเป็นต้องใช้พลังงานเพื่อเอาตัวรอดแบบอันตรายภายนอก จะทำให้เจ็บปวดที่หัวใจ เพราะหัวใจทำงานหนักทั้งที่ร่างกายไม่ได้มีการใช้งานหนัก เป็นสาเหตุที่ทำให้เจ็บหัวใจเมื่อเสียใจหรืออกหัก
.

อาการดังกล่าว ในทางการแพทย์เรียกว่า “กลุ่มอาการหัวใจสลาย” (Broken Heart Syndrome) หรืออาจเรียกเล่น ๆ ว่า “โรคอกหัก” โดยมีรายงานการค้นพบครั้งแรกเมื่อ ค.ศ. 1990 ในเอเชีย ซึ่งอาการนี้อาจทำให้คนถึงตายได้เหมือนกับโรคหัวใจ
.

วิธีการบรรเทาอาการหัวใจสลายขั้นพื้นฐาน ได้แก่การทำให้สมองหลั่งสารเอนดอร์ฟินออกมา และวิธีการทำให้เอนดอร์ฟีนหลั่งก็ไม่ยากอย่างที่คิด แต่ใคร ๆ ก็สามารถทำได้ ได้แก่ การร้องไห้ การหัวเราะ การออกกำลัง การนั่งสมาธิ การได้ทำสิ่งที่ชอบ

.

ดังนั้นหากเกิดอาการหัวใจสลาย ก็อย่าจมอยู่กับมันนานนัก หลังจากร้องไห้ออกมาจนพาแล้ว ก็ลองยืนหยัดขึ้นมา จากนั้นก็ลองทำอะไรก็ได้ที่ตัวเองชอบ แล้วก็อย่าลืมดูแลรักษาสุขภาพของตนเองให้ดี บอกกับตัวเองเสมอว่า “ถึงจะไม่มีใครรัก ไม่มีใครดูแลเรา แต่อย่างน้อยเราก็ยังรักและดูแลตัวเองได้”

.

เรื่องโดย รักต์ศรา
อ้างอิง :
adrenalfatigue.org
www.heart.org
www.nhlbi.nih.gov
www.tesh.com
.
.
"อย่าลืมเปิดรับการแจ้งเตือน
เพื่อรับข้อมูลสุขภาพอย่างต่อเนื่องได้ทุกวัน
โดยคลิกที่ Like ส่วนบนสุดของ Facebook Herb Plus
และกด รับการแจ้งเตือน (Get notifications)"
.
#สมุนไพร #เศร้า #เจ็บหัวใจ
-----------------------------------------------------------------------------
.
My Braini มาย ไบรนี่
ความจำดีขึ้นใน 2 สัปดาห์
ช่วยบำรุงการทำงานของสมอง ให้เต็มประสิทธิภาพ
เหมาะสำหรับ
ผู้ใหญ่วัยทำงาน เพิ่ม ความสามารถในการคิดและตัดสินใจ
เด็กวัยเรียน เพิ่ม ความสามารถในการจดจำ
ผู้สูงอายุ เพิ่ม ความจำ และ ป้องกันโรคอัลไซเมอร์ (Alzheimer)
--ส่วนประกอบสำคัญ—
โสมเกาหลี : ช่วยให้เซลล์ประสาทแข็งแรง
เห็ดหลินจือ : ล้างไขมันอุดตันส่วนเกินในระบบทางเดินประสาท
ตังกุย : เพิ่มประสิทธิภาพการไหลเวียนเลือดในสมองให้ดีขึ้น
เก๋ากี้ : บ
--------------------------------------------------------------------
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ทำไมเวลาเศร้าจึงรู้สึกเจ็บหัวใจ.หลายคนอาจเคยได้ยินคำพูดว่าอกหักแล้วเศร้ารู้สึกเจ็บเหมือนหัวใจสลายซึ่งฟังดูแล้วอาจจะคิดว่าเป็นคำพูดเกินจริงหรืออาจเป็นอุปาทานอย่างหนึ่งของคนอกหักแต่ในทางวิทยาศาสตร์นั้นมีคำอธิบายของสาเหตุที่ทำให้เกิดอาการดังกล่าวและอาการรู้สึกเหมือนหัวใจสลายอาจเป็นอันตรายมากกว่าที่คุณคิด.ก่อนจะพูดเรื่องอกหักคงต้องพูดเรื่องความรักเสียก่อนเนื่องจากในยามมีความรักสมองจะหลั่งสารโดปามีน (Dopamine) ซึ่งทำให้คนเกิดความพึงพอใจมีสมาธิกับสารออกซิโทซิน (อุ้ง) ซึ่งมีหน้าที่ลดความเครียดคลายความกังวลและทำให้รู้สึกอบอุ่นกับคนที่มีความผูกพันด้วยและยังมีสารเอนดอร์ฟิน (Endorphin) ที่ทำให้คนรู้สึกมีความสุขลืมความเจ็บปวดนั่นจึงทำให้คนเรารู้สึกดีเมื่อมีความรัก.ทว่าเมื่ออกหักผิดหวังจากรักขึ้นมาฮอร์โมนความเครียดได้แก่คอร์ติซอล (Cortisol) และอะดรีนาลีน (ตื่นเต้น) ซึ่งเป็นฮอร์โมนที่กดการทำงานของสมองโดยปกติแล้วจะหลั่งออกมาเมื่ออยู่ในสภาวะตึงเครียดหรือสภาวะที่รู้สึกว่าตนเองตกอยู่ในอันตรายจะหลั่งออกมาจากต่อมหมวกไตและส่งสัญญาณไปที่สมอง.ฮอร์โมนคอร์ติซอลมีผลทำให้กล้ามเนื้อของร่างกายต้องการเลือดไปหล่อเลี้ยงมากขึ้นส่วนฮอร์โมนอะดรีนาลีนจะทำให้หัวใจทำงานหนักขึ้นเพื่อสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงร่างกายโดยปกติแล้วสารทั้งสองจะมีประโยชน์สำหรับการกระตุ้นร่างกายในทำงานด้วยประสิทธิภาพสูงสุดเพื่อรับมือกับอันตรายเช่นที่เราอาจเห็นคนแบกของหนักเกินกำลังเมื่อไฟไหม้.แม้ว่าสารทั้งสองทำให้ร่างกายเอาตัวรอดจากอันตรายภายนอกได้ดีแต่หากเป็นอันตรายภายในใจเราเองซึ่งเราไม่จำเป็นต้องใช้พลังงานเพื่อเอาตัวรอดแบบอันตรายภายนอกจะทำให้เจ็บปวดที่หัวใจเพราะหัวใจทำงานหนักทั้งที่ร่างกายไม่ได้มีการใช้งานหนักเป็นสาเหตุที่ทำให้เจ็บหัวใจเมื่อเสียใจหรืออกหัก.อาการดังกล่าวในทางการแพทย์เรียกว่า "กลุ่มอาการหัวใจสลาย" (อาการหัก) หรืออาจเรียกเล่นๆ ว่า "โรคอกหัก" โดยมีรายงานการค้นพบครั้งแรกเมื่อค.ศ. 1990 ในเอเชียซึ่งอาการนี้อาจทำให้คนถึงตายได้เหมือนกับโรคหัวใจ.วิธีการบรรเทาอาการหัวใจสลายขั้นพื้นฐานได้แก่การทำให้สมองหลั่งสารเอนดอร์ฟินออกมาและวิธีการทำให้เอนดอร์ฟีนหลั่งก็ไม่ยากอย่างที่คิดแต่ใครๆ ก็สามารถทำได้ได้แก่การร้องไห้การหัวเราะการออกกำลังการนั่งสมาธิการได้ทำสิ่งที่ชอบ.ดังนั้นหากเกิดอาการหัวใจสลายก็อย่าจมอยู่กับมันนานนักหลังจากร้องไห้ออกมาจนพาแล้วก็ลองยืนหยัดขึ้นมาจากนั้นก็ลองทำอะไรก็ได้ที่ตัวเองชอบแล้วก็อย่าลืมดูแลรักษาสุขภาพของตนเองให้ดีบอกกับตัวเองเสมอว่า "ถึงจะไม่มีใครรักไม่มีใครดูแลเราแต่อย่างน้อยเราก็ยังรักและดูแลตัวเองได้".เรื่องโดยรักต์ศราอ้างอิง:adrenalfatigue.orgwww.heart.orgwww.nhlbi.nih.govwww.tesh.com.."อย่าลืมเปิดรับการแจ้งเตือนเพื่อรับข้อมูลสุขภาพอย่างต่อเนื่องได้ทุกวันโดยคลิกที่เช่นสมุนไพร Facebook ส่วนบนสุดของ พลัสรับการแจ้งเตือนและกด (ได้รับการแจ้งเตือน)".#สมุนไพร#เศร้า#เจ็บหัวใจ-----------------------------------------------------------------------------.ไบรนี่มาย Braini ของฉันความจำดีขึ้นใน 2 สัปดาห์ช่วยบำรุงการทำงานของสมองให้เต็มประสิทธิภาพเหมาะสำหรับผู้ใหญ่วัยทำงานเพิ่มความสามารถในการคิดและตัดสินใจเด็กวัยเรียนเพิ่มความสามารถในการจดจำผู้สูงอายุเพิ่มความจำและป้องกันโรคอัลไซเมอร์ (อัล)-ส่วนประกอบสำคัญ —โสมเกาหลี: ช่วยให้เซลล์ประสาทแข็งแรงเห็ดหลินจือ: ล้างไขมันอุดตันส่วนเกินในระบบทางเดินประสาทตังกุย: เพิ่มประสิทธิภาพการไหลเวียนเลือดในสมองให้ดีขึ้นเก๋ากี้: บ--------------------------------------------------------------------
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
รู้สึกเจ็บเหมือนหัวใจสลาย และอาการรู้สึกเหมือนหัวใจสลาย เนื่องจากในยามมีความรักสมองจะ หลั่งสารโดปามีน (Dopamine) ซึ่งทำให้คนเกิดความพึงพอใจมี สมาธิกับสารออกซิโทซิน (Oxytocin) ซึ่งมีหน้าที่ลดความเครียดคลายความกังวล และยังมีสารเอนดอร์ ฟิน (Endorphin) ที่ทำให้คนรู้สึกมีความสุขลืม ความเจ็บปวด ฮอร์โมนความเครียด ได้แก่ คอร์ติซอล (Cortisol) และอะดรีนาลีน (Adrenaline) จะหลั่งออกมาจากต่อมหมวก ไต ส่วนฮอร์โมนอะดรีนาลีน แต่หากเป็นอันตรายภายในใจเราเอง จะทำให้เจ็บปวดที่หัวใจ ในทางการแพทย์เรียกว่า "กลุ่มอาการหัวใจสลาย" (Broken หัวใจ Syndrome) หรืออาจเรียกเล่น ๆ ว่า "โรคอกหัก" โดยมีรายงานการค้นพบครั้งแรก เมื่อ ค.ศ. 1990 ในเอเชีย แต่ใคร ๆ ก็สามารถทำได้ ได้แก่ การ ร้องไห้การหัวเราะการออกกำลังการนั่งสมาธิ ก็อย่าจมอยู่กับมันนานนัก หลังจากร้องไห้ออกมาจนพาแล้วก็ลองยืนหยัดขึ้นมา บอกกับตัวเองเสมอว่า "ถึงจะไม่มีใครรักไม่มีใครดูแล เรา ศต์รักราอ้างอิง เช่นเดียวกับส่วนบนสุดของ Facebook สมุนไพรพลัสและกดรับการแจ้งเตือน (รับการแจ้งเตือน) " . # สมุนไพร # เศร้า Braini ยไบมารนี่ความสามารถจำดีขึ้นในห้างหุ้นส่วนจำกัด 2 สัปดาห์ช่วยบำรุงหัวเรื่อง: การทำงานของสมอง เพิ่ม ด้านความสามารถเพิ่มในห้างหุ้นส่วนจำกัดหัวเรื่อง: การจดจำคุณผู้สูงอายุเพิ่มความสามารถจำและป้องกันโรคคุณอัลไซคุณเมหนังสืออร์ (Alzheimer) - ส่วนประกอบสำคัญ - โสมเกาหลี: : : : บ------------------------------------------------ --------------------





























































การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ทำไมเวลาเศร้าจึงรู้สึกเจ็บหัวใจ.หลายคนอาจเคยได้ยินคำพูดว่าอกหักแล้วเศร้ารู้สึกเจ็บเหมือนหัวใจสลายซึ่งฟังดูแล้วอาจจะคิดว่าเป็นคำพูดเกินจริงหรืออาจเป็นอุปาทานอย่างหนึ่งของคนอกหักแต่ในทางวิทยาศาสตร์นั้นมีคำอธิบายของสาเหตุที่ทำให้เกิดอาการดังกล่าวและอาการรู้สึกเหมือนหัวใจสลายอาจเป็น อันตรายมากกว่าที่คุณคิด !.ก่อนจะพูดเรื่องอกหักคงต้องพูดเรื่องความรักเสียก่อนเนื่องจากในยามมีความรักสมองจะหลั่งสารโดปามีน ( dopamine ) ซึ่งทำให้คนเกิดความพึงพอใจมีสมาธิกับสารออกซิโทซิน ( oxytocin ) ซึ่งมีหน้าที่ลดความเครียดคลายความกังวลและทำให้รู้สึกอบอุ่นกับคนที่มีความผูกพันด้วยและยังมีสารเอน ดอร์ฟิน ( endorphin ) ที่ทำให้คนรู้สึกมีความสุขลืมความเจ็บปวดนั่นจึงทำให้คนเรารู้สึกดีเมื่อมีความรัก.ทว่าเมื่ออกหักผิดหวังจากรักขึ้นมาฮอร์โมนความเครียดได้แก่คอร์ติซอล ( cortisol ) และอะดรีนาลีน ( adrenaline ) ซึ่งเป็นฮอร์โมนที่กดการทำงานของสมองโดยปกติแล้วจะหลั่งออกมาเมื่ออยู่ในสภาวะตึงเครียดหรือสภาวะที่รู้สึกว่าตนเองตกอยู่ในอันตรายจะหลั่งออกมาจากต่อมหมวกไตและส่งสัญญาณ ไปที่สมอง.ฮอร์โมนคอร์ติซอลมีผลทำให้กล้ามเนื้อของร่างกายต้องการเลือดไปหล่อเลี้ยงมากขึ้นส่วนฮอร์โมนอะดรีนาลีนจะทำให้หัวใจทำงานหนักขึ้นเพื่อสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงร่างกายโดยปกติแล้วสารทั้งสองจะมีประโยชน์สำหรับการกระตุ้นร่างกายในทำงานด้วยประสิทธิภาพสูงสุดเพื่อรับมือ กับอันตรายเช่นที่เราอาจเห็นคนแบกของหนักเกินกำลังเมื่อไฟไหม้.แม้ว่าสารทั้งสองทำให้ร่างกายเอาตัวรอดจากอันตรายภายนอกได้ดีแต่หากเป็นอันตรายภายในใจเราเองซึ่งเราไม่จำเป็นต้องใช้พลังงานเพื่อเอาตัวรอดแบบอันตรายภายนอกจะทำให้เจ็บปวดที่หัวใจเพราะหัวใจทำงานหนักทั้งที่ร่างกายไม่ได้มีการใช้งานหนักเป็นสาเหตุที่ทำให้เจ็บหั วใจเมื่อเสียใจหรืออกหัก.อาการดังกล่าวในทางการแพทย์เรียกว่า " กลุ่มอาการหัวใจสลาย " กลุ่มอาการอกหัก ) หรืออาจเรียกเล่นจะว่า " โรคอกหัก " โดยมีรายงานการค้นพบครั้งแรกเมื่อค . ศ . ในเอเชียซึ่งอาการนี้อาจทำให้คนถึงตายได้เห 2533
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: