2.4.1.2 เครื่องมือในการเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถามซึ่งสร้างขึ้นมา จำนวน 2 ช การแปล - 2.4.1.2 เครื่องมือในการเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถามซึ่งสร้างขึ้นมา จำนวน 2 ช ไทย วิธีการพูด

2.4.1.2 เครื่องมือในการเก็บข้อมูลใช

2.4.1.2 เครื่องมือในการเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถามซึ่งสร้างขึ้นมา จำนวน 2 ชุด มีรายละเอียดดังนี้
1) แบบสอบถามชุดที่ 1 การประเมินความเสี่ยงจากพิษตะกั่วและสารหนูของชุมชนใกล้พื้นที่ขุมเหมือง ประกอบด้วย 2 ตอน ดังนี้
ตอนที่ 1 เป็นคำถามเกี่ยวกับข้อมูลทั่วไปของเด็ก บิดาและมารดาของเด็ก ข้อมูลของเด็ก ได้แก่ เพศ อายุ การเข้าโรงเรียน อาชีพหลัก ระดับการศึกษา การเป็นสมาชิกกลุ่ม/องค์กรในชุมชน จำนวน 7 ข้อ
ตอนที่ 2 เป็นคำถามเกี่ยวกับข้อมูลพฤติกรรมเสี่ยงของเด็กต่อการสัมผัสตะกั่วและสารหนู จำนวน 6 ข้อ
2) แบบสอบถามชุดที่ 2 แบบสอบถามความรู้เกี่ยวกับปัญหาพิษตะกั่วและสารหนู มีลักษณะแบบเลือกตอบ คือ ถูกหรือผิด จำนวน 14 ข้อ มีเกณฑ์การให้คะแนนคือตอบถูกให้ 1 คะแนนและตอบผิดให้ 0 คะแนน
แบบสอบถามชุดที่ 1 เก็บในช่วงการประเมินการสัมผัส ส่วนชุดที่ 2 เก็บในช่วงการประเมินการสัมผัส และหลังการจัดการความเสี่ยงเพื่อนำมาเปรียบเทียบความแตกต่าง
3) การตรวจสอบเครื่องมือวิจัยเชิงปริมาณ ผู้วิจัยได้นำแบบสอบถามที่สร้างขึ้นโดยการทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และตรวจสอบเครื่องมือวิจัยรายละเอียดดังนี้
(1) แบบสอบถามชุดที่ 1
แบบสอบถามชุดที่ 1 หาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (content validity) โดยขอคำแนะนำจากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 3 ท่าน ได้ตรวจสอบความเที่ยงตรงและความชัดเจนของภาษาให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ หลังจากผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาความตรงเชิงเนื้อหาแล้วสรุปผลโดยวัดดัชนีความเที่ยงตรง (Content validity index: CVI) โดยพิจารณาทีละข้อความว่า สอดคล้องกับทฤษฎีหรือเนื้อหาหรือไม่ เน้นที่ระดับความเห็นด้วยของผู้เชี่ยวชาญต่อข้อความนั้น ๆ แล้วนำมาคำนวณ ค่า CVI ซึ่ง ค่า CVI ที่ได้จากการพิจารณารายข้อ ที่ดีควรมีค่า > 0.80 (Polit and Beck, 2008) ผลการหาค่าความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา พบว่า จำนวน 12 ข้อ มีระดับคะแนน 3 และ 4 โดยนำมาหารด้วยจำนวนข้อคำถามทั้งหมด 13 ข้อ คิดเป็น 0.92 เป็นค่าที่ยอดมรับได้ ซึ่งมีเกณฑ์ในการพิจารณาให้คะแนนดังนี้คือ
1 หมายถึง ไม่สอดคล้อง
2 หมายถึง สอดคล้องน้อย
3 หมายถึง สอดคล้องค่อนข้างมาก
4 หมายถึง สอดคล้องมาก
(2) แบบสอบถามชุดที่ 2
แบบสอบถามชุดที่ 2 แบบวัดความรู้
แบบสอบถามชุดที่ 2 หาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (content validity) โดยขอคำแนะนำจากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 3 ท่าน ได้ตรวจสอบความเที่ยงตรงและความชัดเจนของภาษาให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ หลังจากผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาความตรงเชิงเนื้อหาแล้วสรุปผลโดยวัดดัชนีความเที่ยงตรง (Content validity index: CVI) พบว่า จำนวน 13 ข้อ มีระดับคะแนน 3 และ 4 โดยนำมาหารด้วยจำนวนข้อคำถามทั้งหมด 14 ข้อ คิดเป็น 0.92 และหาค่าความเชื่อมั่นโดยสูตร KR-20 ของคูเดอร์-ริชาร์ดสัน (Kuder-Richardson) ซึ่งใช้ทดสอบเฉพาะแบบสอบวัดที่ในแต่ละคำถามจะมี 2 ระดับคือ ถูก-ผิด ใช่-ไม่ใช่ เป็น-ไม่เป็น (หรือมีลักษณะ 0,1) ค่าความเชื่อมั่นที่คำนวณได้มีค่าเข้าใกล้ 1 แสดงว่ามีความเชื่อมั่นสูงมาก ทั้งนี้เครื่องมือที่มีมาตรฐานทั่ว ๆ ไปควรมีความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.8 แต่ถ้าเป็นเครื่องมือที่สร้างและพัฒนาขึ้นควรมีความเชื่อมั่นอย่างน้อย 0.70 (สมชาย วรกิจเกษมสกุล, 2553) ในการศึกษาครั้งนี้ได้พัฒนาเครื่องมือขึ้นมา ได้ค่าความเชื่อมั่น 0.75 ซึ่งยอมรับได้
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
2.4.1.2 เครื่องมือในการเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถามซึ่งสร้างขึ้นมาจำนวน 2 ชุดมีรายละเอียดดังนี้ 1 แบบสอบถามชุดที่ 1 การประเมินความเสี่ยงจากพิษตะกั่วและสารหนูของชุมชนใกล้พื้นที่ขุมเหมืองประกอบด้วย 2 ตอนดังนี้ ตอนที่ 1 เป็นคำถามเกี่ยวกับข้อมูลทั่วไปของเด็กบิดาและมารดาของเด็กข้อมูลของเด็กได้แก่เพศอายุการเข้าโรงเรียนอาชีพหลักระดับการศึกษาการเป็นสมาชิกกลุ่ม/องค์กรในชุมชนจำนวน 7 ข้อ ตอนที่ 2 เป็นคำถามเกี่ยวกับข้อมูลพฤติกรรมเสี่ยงของเด็กต่อการสัมผัสตะกั่วและสารหนูจำนวน 6 ข้อ 2) แบบสอบถามชุดที่ 2 แบบสอบถามความรู้เกี่ยวกับปัญหาพิษตะกั่วและสารหนูมีลักษณะแบบเลือกตอบคือถูกหรือผิดจำนวน 14 ข้อมีเกณฑ์การให้คะแนนคือตอบถูกให้ 1 คะแนนและตอบผิดให้ 0 คะแนน แบบสอบถามชุดที่ 1 เก็บในช่วงการประเมินการสัมผัสส่วนชุดที่ 2 เก็บในช่วงการประเมินการสัมผัสและหลังการจัดการความเสี่ยงเพื่อนำมาเปรียบเทียบความแตกต่าง 3) การตรวจสอบเครื่องมือวิจัยเชิงปริมาณผู้วิจัยได้นำแบบสอบถามที่สร้างขึ้นโดยการทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องและตรวจสอบเครื่องมือวิจัยรายละเอียดดังนี้ (1) แบบสอบถามชุดที่ 1 แบบสอบถามชุดที่ 1 หาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (content validity) โดยขอคำแนะนำจากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 3 ท่าน ได้ตรวจสอบความเที่ยงตรงและความชัดเจนของภาษาให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ หลังจากผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาความตรงเชิงเนื้อหาแล้วสรุปผลโดยวัดดัชนีความเที่ยงตรง (Content validity index: CVI) โดยพิจารณาทีละข้อความว่า สอดคล้องกับทฤษฎีหรือเนื้อหาหรือไม่ เน้นที่ระดับความเห็นด้วยของผู้เชี่ยวชาญต่อข้อความนั้น ๆ แล้วนำมาคำนวณ ค่า CVI ซึ่ง ค่า CVI ที่ได้จากการพิจารณารายข้อ ที่ดีควรมีค่า > 0.80 (Polit and Beck, 2008) ผลการหาค่าความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา พบว่า จำนวน 12 ข้อ มีระดับคะแนน 3 และ 4 โดยนำมาหารด้วยจำนวนข้อคำถามทั้งหมด 13 ข้อ คิดเป็น 0.92 เป็นค่าที่ยอดมรับได้ ซึ่งมีเกณฑ์ในการพิจารณาให้คะแนนดังนี้คือ 1 หมายถึง ไม่สอดคล้อง 2 หมายถึง สอดคล้องน้อย3 หมายถึง สอดคล้องค่อนข้างมาก 4 หมายถึง สอดคล้องมาก(2) แบบสอบถามชุดที่ 2 แบบสอบถามชุดที่ 2 แบบวัดความรู้ แบบสอบถามชุดที่ 2 หาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (content validity) โดยขอคำแนะนำจากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 3 ท่าน ได้ตรวจสอบความเที่ยงตรงและความชัดเจนของภาษาให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ หลังจากผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาความตรงเชิงเนื้อหาแล้วสรุปผลโดยวัดดัชนีความเที่ยงตรง (Content validity index: CVI) พบว่า จำนวน 13 ข้อ มีระดับคะแนน 3 และ 4 โดยนำมาหารด้วยจำนวนข้อคำถามทั้งหมด 14 ข้อ คิดเป็น 0.92 และหาค่าความเชื่อมั่นโดยสูตร KR-20 ของคูเดอร์-ริชาร์ดสัน (Kuder-Richardson) ซึ่งใช้ทดสอบเฉพาะแบบสอบวัดที่ในแต่ละคำถามจะมี 2 ระดับคือ ถูก-ผิด ใช่-ไม่ใช่ เป็น-ไม่เป็น (หรือมีลักษณะ 0,1) ค่าความเชื่อมั่นที่คำนวณได้มีค่าเข้าใกล้ 1 แสดงว่ามีความเชื่อมั่นสูงมาก ทั้งนี้เครื่องมือที่มีมาตรฐานทั่ว ๆ ไปควรมีความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.8 แต่ถ้าเป็นเครื่องมือที่สร้างและพัฒนาขึ้นควรมีความเชื่อมั่นอย่างน้อย 0.70 (สมชาย วรกิจเกษมสกุล, 2553) ในการศึกษาครั้งนี้ได้พัฒนาเครื่องมือขึ้นมา ได้ค่าความเชื่อมั่น 0.75 ซึ่งยอมรับได้
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
2.4.1.2 จำนวน 2 ชุดมีรายละเอียดดังนี้
1) แบบสอบถามชุดที่ 1 ประกอบด้วย 2 ดังนี้ตอน
ตอนที่ 1 บิดาและมารดาของเด็กข้อมูลของเด็ก ได้แก่ เพศอายุการเข้าโรงเรียนอาชีพหลักระดับการศึกษาการเป็นสมาชิกกลุ่ม / องค์กรในชุมชนจำนวน 7 ข้อ
ตอนที่ 2 จำนวน 6 ข้อ
2) แบบสอบถามชุดที่ 2 มีลักษณะแบบเลือกตอบคือถูกหรือ ผิดจำนวน 14 ข้อมีเกณฑ์การให้คะแนนคือตอบ ถูกให้ 1 คะแนนและตอบผิดให้ 0 คะแนนคะแนน
แบบสอบถามชุดที่ 1 เก็บในช่วงการประเมินการสัมผัสส่วน ชุดที่ 2 เก็บในช่วงการประเมินการ สัมผัส แบบสอบถามชุดที่ 1 แบบสอบถามชุดที่ 1 หาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (ตรงตามเนื้อหา) โดยขอคำแนะนำจากผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 3 ท่าน (ดัชนีความถูกต้องเนื้อหา: CVI) โดยพิจารณาทีละข้อความว่า ๆ แล้วนำมาคำนวณค่า CVI ซึ่งค่า CVI ที่ได้จากการพิจารณารายข้อที่ ดีควรมีค่า > 0.80 (Polit และเบ็ค 2008) พบว่าจำนวน 12 ข้อมีระดับคะแนน 3 และ 4 13 ข้อคิดเป็น 0.92 เป็นค่าที่ยอดมรับได้ หมายถึงไม่สอดคล้อง2 หมายถึงสอดคล้องน้อย3 หมายถึงสอดคล้องค่อนข้างมาก4 หมายถึงสอดคล้องมาก(2) แบบสอบถามชุดที่ 2 แบบสอบถามชุดที่ 2 แบบวัดความสามารถรู้ แบบสอบถามชุดที่ 2 หาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (ตรงตามเนื้อหา) โดยขอคำ แนะนำจากผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 3 ท่าน (ดัชนีความถูกต้องเนื้อหา: CVI) พบว่าจำนวน 13 ข้อมีระดับคะแนน 3 และ 4 14 ข้อคิดเป็น 0.92 และหาค่าความเชื่อมั่นโดยสูตร KR-20 ของคูเดอร์ - ริชาร์ดสัน (Kuder-ริชาร์ด) 2 ระดับคือถูก - ผิดใช่ - ไม่ใช่เป็น - ไม่เป็น (หรือมีลักษณะ 0,1) 1 แสดงว่ามีความเชื่อมั่นสูงมาก ทั้งนี้เครื่องมือที่มีมาตรฐานทั่ว ๆ ไปควรมีความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.8 0.70 (สมชายวรกิจเกษมสกุล, 2553) ได้ค่าความเชื่อมั่น 0.75 ซึ่งยอมรับได้










การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: