อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา เป็นอุทยานประวัติศาสตร์ในจังหวัดพระ การแปล - อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา เป็นอุทยานประวัติศาสตร์ในจังหวัดพระ ไทย วิธีการพูด

อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา

อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา เป็นอุทยานประวัติศาสตร์ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ได้รับการพิจารณาเป็นมรดกโลกเมื่อวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2534

เนื้อหา [ซ่อน]
1 ประวัติ
2 เหตุผลที่ได้รับคัดเลือกเป็นมรดกโลก
3 อ้างอิง
4 บรรณานุกรม
5 แหล่งข้อมูลอื่น
ประวัติ[แก้]

แผนที่อุทยานฯ
ครั้งพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชทรงสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ขึ้นเป็นราชธานี ได้มีการรื้ออิฐจากสถาปัตยกรรมในกรุงศรีอยุธยาเพื่อไปก่อสร้างกรุงเทพมหานคร ทำให้โบราณสถานต่าง ๆ ถูกทำลายและทิ้งร้างไป[1] ครั้นถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้อนุรักษ์และฟื้นฟูโบราณสถานในกรุงศรีอยุธยาขึ้นอีกครั้ง

ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้พระยาโบราณราชธานินท์ ข้าหลวงมณฑลกรุงเก่าทำการขุดแต่งโบราณสถาน และปรับปรุงสภาพในพระราชวังโบราณ

เมื่อปี พ.ศ. 2478 กรมศิลปากรประกาศขึ้นทะเบียนโบราณสถานหลายแห่งในเกาะรอบเมืองพระนครศรีอยุธยาเป็นโบราณสถานสำคัญของชาติ รวม 69 แห่ง[2]

ต่อมาในสมัยของ จอมพล ป. พิบูลสงคราม จึงได้เริ่มโครงการบูรณะพระที่นั่ง และวัดต่างๆ โดยมีกรมศิลปากรเป็นผู้ดูแล

ปี พ.ศ. 2512 ได้มีโครงการชื่อ โครงการสำรวจขุดแต่งและบูรณะปรับปรุงโบราณสถาน โดยมีความพยายามที่จะประสานงานร่วมมือกับองค์กรต่างๆ ในอันที่จะอนุรักษ์เมืองประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยาไว้

ในที่สุด พ.ศ. 2519 ได้มีการปรับปรุงโครงสร้างของงานชิ้นใหม่ แล้วจัดทำโครงการอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยาขึ้น และเริ่มทำการบูรณะปรับปรุงโบราณสถานเป็นต้นมาตั้งแต่ พ.ศ. 2520

และในประชุมคณะกรรมการมรดกโลกสมัยสามัญครั้งที่ 15 ปี พ.ศ. 2534 ณ เมืองคาร์เธจ ประเทศตูนิเซีย นครประวัติศาสคร์พระนครศรีอยุธยา พร้อมด้วยเมืองประวัติศาสตร์สุโขทัยและเมืองบริวาร(อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย ศรีสัชนาลัย และกำแพงเพชร) และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่-ห้วยขาแข้ง ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นแหล่งมรดกโลก
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยาเป็นอุทยานประวัติศาสตร์ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาได้รับการพิจารณาเป็นมรดกโลกเมื่อวันที่ 13 ธันวาคมพ.ศ. 2534เนื้อหา [ซ่อน] 1 ประวัติ2 เหตุผลที่ได้รับคัดเลือกเป็นมรดกโลก3 อ้างอิง4 บรรณานุกรม5 แหล่งข้อมูลอื่น[แก้] ประวัติแผนที่อุทยานฯครั้งพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชทรงสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ขึ้นเป็นราชธานีได้มีการรื้ออิฐจากสถาปัตยกรรมในกรุงศรีอยุธยาเพื่อไปก่อสร้างกรุงเทพมหานครทำให้โบราณสถานต่างๆ ถูกทำลายและทิ้งร้างไป [1] ครั้นถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้อนุรักษ์และฟื้นฟูโบราณสถานในกรุงศรีอยุธยาขึ้นอีกครั้งในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้พระยาโบราณราชธานินท์ข้าหลวงมณฑลกรุงเก่าทำการขุดแต่งโบราณสถานและปรับปรุงสภาพในพระราชวังโบราณเมื่อปีพ.ศ. 2478 กรมศิลปากรประกาศขึ้นทะเบียนโบราณสถานหลายแห่งในเกาะรอบเมืองพระนครศรีอยุธยาเป็นโบราณสถานสำคัญของชาติรวม 69 แห่ง [2]ต่อมาในสมัยของจอมพลป. พิบูลสงครามจึงได้เริ่มโครงการบูรณะพระที่นั่งและวัดต่าง ๆ โดยมีกรมศิลปากรเป็นผู้ดูแลปีพ.ศ. 2512 ได้มีโครงการชื่อโครงการสำรวจขุดแต่งและบูรณะปรับปรุงโบราณสถานโดยมีความพยายามที่จะประสานงานร่วมมือกับองค์กรต่าง ๆ ในอันที่จะอนุรักษ์เมืองประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยาไว้ในที่สุดพ.ศ. ๒๕๑๙ ได้มีการปรับปรุงโครงสร้างของงานชิ้นใหม่แล้วจัดทำโครงการอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยาขึ้นและเริ่มทำการบูรณะปรับปรุงโบราณสถานเป็นต้นมาตั้งแต่พ.ศ. 2520และในประชุมคณะกรรมการมรดกโลกสมัยสามัญครั้งที่ 15 ปีพ.ศ. 2534 ณเมืองคาร์เธจประเทศตูนิเซียนครประวัติศาสคร์พระนครศรีอยุธยาพร้อมด้วยเมืองประวัติศาสตร์สุโขทัยและเมืองบริวาร (อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัยศรีสัชนาลัยและกำแพงเพชร) และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่-ห้วยขาแข้งได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นแหล่งมรดกโลก
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
13 ธันวาคม พ.ศ. 2534 เนื้อหา [ซ่อน] 1 ประวัติ2 อ้างอิงบรรณานุกรม 4 5 ทำให้โบราณสถานต่าง ๆ ถูกทำลายและทิ้งร้างไป [1] โปรดเกล้าฯให้พระยาโบราณราชธานินท์ พ.ศ. 2478 รวม 69 แห่ง [2] ต่อมาในสมัยของจอมพลป พิบูลสงครามจึงได้เริ่มโครงการบูรณะพระที่นั่งและวัดต่างๆโดยมีกรมตรีเป็นผู้ดูแลปี พ.ศ. 2512 ได้มีโครงการชื่อ พ.ศ. 2519 พ.ศ. 15 ปี พ.ศ. 2534 ณ เมืองคาร์เธจประเทศตูนิเซียนครประวัติศาสคร์พระนครศรีอยุธยา ศรีสัชนาลัยและกำแพงเพชร)






















การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยาเป็นอุทยานประวัติศาสตร์ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาได้รับการพิจารณาเป็นมรดกโลกเมื่อวันที่ 13 ธันวาคมพ . ศ . 2534 เนื้อหาซ่อน

[ ]
1 ประวัติเหตุผลที่ได้รับคัดเลือกเป็นมรดกโลก

23 อ้างอิง
4 บรรณานุกรม
5 แหล่งข้อมูลอื่น
[ ]

ประวัติแก้แผนที่อุทยานฯ
ครั้งพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชทรงสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ขึ้นเป็นราชธานีได้มีการรื้ออิฐจากสถาปัตยกรรมในกรุงศรีอยุธยาเพื่อไปก่อสร้างกรุงเทพมหานครทำให้โบราณสถานต่างจะถูกทำลายและทิ้งร้างไป [ 1 ]โปรดให้อนุรักษ์และฟื้นฟูโบราณสถานในกรุงศรีอยุธยาขึ้นอีกครั้ง

ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯให้พระยาโบราณราชธานินท์ข้าหลวงมณฑลกรุงเก่าทำการขุดแต่งโบราณสถานและปรับปรุงสภาพในพระราชวังโบราณ

เมื่อปีพ . ศ .2478 กรมศิลปากรประกาศขึ้นทะเบียนโบราณสถานหลายแห่งในเกาะรอบเมืองพระนครศรีอยุธยาเป็นโบราณสถานสำคัญของชาติรวม 69 แห่ง [ 2 ]

ต่อมาในสมัยของจอมพลป .พิบูลสงครามจึงได้เริ่มโครงการบูรณะพระที่นั่งและวัดต่างๆโดยมีกรมศิลปากรเป็นผู้ดูแล

. พ . ศ .2512 ได้มีโครงการชื่อโครงการสำรวจขุดแต่งและบูรณะปรับปรุงโบราณสถานโดยมีความพยายามที่จะประสานงานร่วมมือกับองค์กรต่างๆในอันที่จะอนุรักษ์เมืองประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยาไว้

ในที่สุดพ . ศ .พ.ศ. 2519 ได้มีการปรับปรุงโครงสร้างของงานชิ้นใหม่แล้วจัดทำโครงการอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยาขึ้นและเริ่มทำการบูรณะปรับปรุงโบราณสถานเป็นต้นมาตั้งแต่พ . ศ .

เชียงใหม่และในประชุมคณะกรรมการมรดกโลกสมัยสามัญครั้งที่ 15 . พ . ศ .
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: