เหตุหัวรถจักรชนสถานีหัวลำโพง พ.ศ. 2529
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ภาพเหตุการณ์ครั้งนี้
เหตุการณ์หัวรถจักรพุ่งชนสถานีหัวลำโพง พ.ศ. 2529 เป็นอุบัติเหตุที่เกิดเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2529[1] เวลาประมาณ 08.50 น. เมื่อขบวนรถไฟประกอบด้วยหัวรถจักรจำนวน 6 คันพ่วงติดกัน ซึ่งได้แก่หมายเลข 4029, 4042, 4044, 4010, 4006, 4043 กำลังซ่อมบำรุงอยู่ที่โรงเก็บหัวรถจักร สถานีรถไฟชุมทางบางซื่อ พนักงานขับรถไฟได้ติดเครื่องยนต์และลงจากรถโดยไม่ดับเครื่อง ทำให้หัวรถจักรเร่งเครื่องยนต์โดยอัตโนมัติ และวิ่งเข้าสู่รางรถไฟหลัก รถไฟวิ่งไปตามเส้นทาง ผ่านทางแยกตัดกับถนนพระราม 6, ถนนประดิพัทธ์ ผ่านสถานีรถไฟสามเสน, ถนนนครไชยศรี, ถนนราชวิถี, ถนนศรีอยุธยา, ถนนเพชรบุรี เป็นระยะทางประมาณ 15 กิโลเมตร ด้วยความเร็วประมาณ 50 กิโลเมตร/ชั่วโมง โดยไม่มีพนักงานขับรถ
รถไฟพุ่งเข้าชนเหล็กกั้นรถไฟ ที่สถานีรถไฟหัวลำโพง และทะลุเลยเข้าไปในชานชาลาสถานี ชนป้ายตารางเวลาเดินรถ ร้านค้า และเคาน์เตอร์ประชาสัมพันธ์ ขณะที่มีผู้โดยสารจำนวนมากอยู่ในสถานี ก่อนเกิดเหตุ ทางสถานีได้ออกประกาศเตือนผู้โดยสารแล้ว แต่เนื่องจากความบกพร่องของระบบกระจายเสียง ทำให้เสียงก้องและผู้โดยสารจำนวนมากไม่ทราบการแจ้งเตือนล่วงหน้า
เหตุการณ์ครั้งนี้ได้รับการเรียกขานจากสื่อมวลชนว่าเป็น รถไฟผีสิง เนื่องจากหัวรถจักรตัวเปล่า โดยไม่มีคนขับเกิดวิ่งได้เองจนชนชานชาลาสถานีกรุงเทพ นับเป็นความผิดปกติอย่างมาก บางกระแสก็กล่าวเกินเลยไปถึงขนาดตั้งข้อสังเกตว่าเป็นการวินาศกรรมหรือไม่ เป็นต้น
เนื้อหา [แสดง]
ความเสียหาย[แก้]
เหตุการณ์นี้มีผู้เสียชีวิตทั้งสิ้น 4 คน บาดเจ็บ 4 คน ค่าเสียหายประมาณ 2 ล้านบาท โดยผู้เสียชีวิตมีรายนามดังนี้
นายแสวง ศรีสุข
เด็กชายพิเศษฐ แสนมาโนตร
นายสมบัติ สังแคนพรม
นางโสภา เก้าเอี้ยน
การสอบสวน[แก้]
เมื่อผลการสอบสวนของการรถไฟแห่งประเทศไทย (ร.ฟ.ท.) ออกมา พบว่าเกิดจากการที่พนักงานสะเพร่าไม่ได้ดับเครื่องก่อนลงจากหัวรถจักร ก็ได้มีคำสั่งให้ นายสมจิตร พิลึก นายตรวจกล ได้รับโทษไล่ออก แต่เนื่องจากมีเหตุสมควรจึงลดโทษเหลือ ปลดออก และให้ร่วมกับนายเตรียม พิศพานต์ เจ้าหน้าที่ประจำหอสัญญาณ ชดใช้ค่าเสียหายในกรณีนี้ด้วย[2] และระหว่างสอบสวนอยู่นั้น ก็ปรากฏข่าวการทุจริตและเรื่องอื้อฉาวต่าง ๆ ในการรถไฟแห่งประเทศไทย ออกมาเป็นระยะ ๆ เช่นการทุจริตในการจัดซื้อ หรือการบริหารงานที่ไร้ประสิทธิภาพของผู้บริหาร เป็นต้น
เหตุหัวรถจักรชนสถานีหัวลำโพง พ.ศ. 2529
จากวิกิพีเดีย พ.ศ. 2529 เป็นอุบัติเหตุที่เกิดเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2529 [1] เวลาประมาณ 08.50 น 6 คันพ่วงติดกันซึ่ง ได้แก่ หมายเลข 4029, 4042, 4044, 4010, 4006, 4043 สถานีรถไฟชุมทางบางซื่อ 6, 15 กิโลเมตรด้วยความเร็วประมาณ 50 กิโลเมตรและวิ่งเข้าสู่รางรถไฟหลักรถไฟวิ่งไปตามเส้นทางผ่านทางแยกตัดกับถนนพระราม, ถนนประดิพัทธ์ผ่านสถานีรถไฟสามเสน, ถนนนครไชยศรีถนนราชวิถีถนนศรีอยุธยา, ถนนเพชรบุรีเป็นระยะทางประมาณ / ชั่วโมง ที่สถานีรถไฟหัวลำโพงและทะลุเลยเข้าไปในชานชาลาสถานีชนป้ายตารางเวลาเดินรถร้านค้าและเคาน์เตอร์ประชาสัมพันธ์ ก่อนเกิดเหตุ รถไฟผีสิงเนื่องจากหัวรถจักรตัวเปล่า นับเป็นความผิดปกติอย่างมาก เป็นต้นเนื้อหา 4 คนบาดเจ็บ 4 คนค่าเสียหายประมาณ 2 ล้านบาท ศรีสุขเด็กชายพิเศษฐแสนมาโนตรนายสมบัติสังแคนพรมนางโสภา (ร.ฟ.ท. ) ออกมา ก็ได้มีคำสั่งให้นายสมจิตรพิลึกนายตรวจกลได้รับโทษไล่ออก ปลดออกและให้ร่วมกับนายเตรียมพิศพานต์เจ้าหน้าที่ประจำหอสัญญาณชดใช้ค่าเสียหายในกรณีนี้ด้วย [2] และระหว่างสอบสวนอยู่นั้น ๆ ในการรถไฟแห่งประเทศไทยออกมาเป็นระยะ ๆ เช่นการทุจริตในการจัดซื้อ เป็นต้น
การแปล กรุณารอสักครู่..
เหตุหัวรถจักรชนสถานีหัวลำโพงพ . ศ . 2529
จากวิกิพีเดียสารานุกรมเสรีภาพเหตุการณ์ครั้งนี้เหตุการณ์หัวรถจักรพุ่งชนสถานีหัวลำโพงพ . ศ . 2529 เป็นอุบัติเหตุที่เกิดเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายนพ . ศ . 2529 [ 1 ] เวลาประมาณ 08.50 น .เมื่อขบวนรถไฟประกอบด้วยหัวรถจักรจำนวน 6 คันพ่วงติดกันซึ่งได้แก่หมายเลข 4029 4042 , 4044 4010 4006 , , , ,แบบกำลังซ่อมบำรุงอยู่ที่โรงเก็บหัวรถจักรสถานีรถไฟชุมทางบางซื่อพนักงานขับรถไฟได้ติดเครื่องยนต์และลงจากรถโดยไม่ดับเครื่องทำให้หัวรถจักรเร่งเครื่องยนต์โดยอัตโนมัติและวิ่งเข้าสู่รางรถไฟหลักผ่านทางแยกตัดกับถนนพระราม 6ถนนประดิพัทธ์ผ่านสถานีรถไฟสามเสนถนนนครไชยศรีถนนราชวิถีถนนศรีอยุธยา , , , , เป็นระยะทางประมาณถนนเพชรบุรี 15 กิโลเมตรด้วยความเร็วประมาณ 50 กิโลเมตร / ชั่วโมงโดยไม่มีพนักงานขับรถ
รถไฟพุ่งเข้าชนเหล็กกั้นรถไฟที่สถานีรถไฟหัวลำโพงและทะลุเลยเข้าไปในชานชาลาสถานีชนป้ายตารางเวลาเดินรถร้านค้าและเคาน์เตอร์ประชาสัมพันธ์ขณะที่มีผู้โดยสารจำนวนมากอยู่ในสถานีก่อนเกิดเหตุแต่เนื่องจากความบกพร่องของระบบกระจายเสียงทำให้เสียงก้องและผู้โดยสารจำนวนมากไม่ทราบการแจ้งเตือนล่วงหน้า
เหตุการณ์ครั้งนี้ได้รับการเรียกขานจากสื่อมวลชนว่าเป็นรถไฟผีสิงเนื่องจากหัวรถจักรตัวเปล่าโดยไม่มีคนขับเกิดวิ่งได้เองจนชนชานชาลาสถานีกรุงเทพนับเป็นความผิดปกติอย่างมากเป็นต้น
เนื้อหา [ แสดง ]
[ ]
ความเสียหายแก้เหตุการณ์นี้มีผู้เสียชีวิตทั้งสิ้น 4 คนบาดเจ็บ 4 คนค่าเสียหายประมาณ 2 ล้านบาทโดยผู้เสียชีวิตมีรายนามดังนี้
นายแสวงศรีสุขเด็กชายพิเศษฐแสนมาโนตรสังแคนพรม
นายสมบัตินางโสภาเก้าเอี้ยนการสอบสวนแก้
[ ]
เมื่อผลการสอบสวนของการรถไฟแห่งประเทศไทยก็ได้ ( Flying Officer) ออกมาพบว่าเกิดจากการที่พนักงานสะเพร่าไม่ได้ดับเครื่องก่อนลงจากหัวรถจักรก็ได้มีคำสั่งให้นายสมจิตรพิลึกนายตรวจกลได้รับโทษไล่ออกแต่เนื่องจากมีเหตุสมควรจึงลดโทษเหลือปลดออกและให้ร่วมกับนายเตรียมเจ้าหน้าที่ประจำหอสัญญาณชดใช้ค่าเสียหายในกรณีนี้ด้วย [ 2 ] และระหว่างสอบสวนอยู่นั้นก็ปรากฏข่าวการทุจริตและเรื่องอื้อฉาวต่างจะในการรถไฟแห่งประเทศไทยออกมาเป็นระยะจะเช่นการทุจริตในการจัดซื้อเป็นต้น
การแปล กรุณารอสักครู่..