ภาวะเรือนกระจกคืออะไรและเกิดขึ้นได้อย่างไร  ภาวะเรือนกระจกคือ ภาวะที่ช การแปล - ภาวะเรือนกระจกคืออะไรและเกิดขึ้นได้อย่างไร  ภาวะเรือนกระจกคือ ภาวะที่ช ไทย วิธีการพูด

ภาวะเรือนกระจกคืออะไรและเกิดขึ้นได้

ภาวะเรือนกระจกคืออะไรและเกิดขึ้นได้อย่างไร
ภาวะเรือนกระจกคือ ภาวะที่ชั้นบรรยากาศของโลกกระทำตัวเสมือนกระจกที่ยอมให้รังสีคลื่นสั้นผ่านลงมายังผิวโลกได้ แต่จะดูดกลืนรังสีคลื่น
ยาวช่วงอินฟราเรดที่แผ่ออกจากพื้นผิวโลกเอาไว้จากนั้นก็จะคายพลังงานความร้อนให้กระจายอยู่ภายในชั้นบรรยากาศและพื้นผิวโลกจึงเปรียบเสมือน
กระจกที่ปกคลุมผิวโลกให้มีภาวะสมดุลทางอุณหภูมิ และเหมาะสมต่อสิ่งมีชีวิตบนผิวโลก
แต่ในปัจจุบันมีก๊าซบางชนิดสะสมอยู่ในชั้นบรรยากาศมากเกินสมดุล ซึ่งก๊าซเหล่านี้ สามารถดูดกลืนรังสีคลื่นยาวช่วงอินฟราเรด และคายพลัง
งานความร้อนได้ดี พื้นผิวโลกและชั้นบรรยากาศจึงมีอุณหภูมิสูงขึ้นส่งผลกระทบต่อสภาพภูมิอากาศของโลก และสิ่งมีชีวิตพื้นผิวโลกอย่างมากมาย
ในภาวะปกติชั้นบรรยากาศของโลกจะประกอบด้วย โอโซนไอน้ำและก๊าซชนิดต่างๆซึ่งทำหน้าที่กรองรังสีคลื่นสั้นบางชนิดให้ผ่านมาตกกระทบ
พื้นผิวโลก รังสีคลื่นสั้นที่ตกกระทบพื้นผิวโลกนี้จะสะท้อนกลับออกนอกชั้นบรรยากาศไปส่วนหนึ่ง ที่เหลือพื้นผิวโลกที่ประกอบด้วยพื้นน้ำ พื้นดิน และ
สิ่งมีชีวิตจะดูดกลืนไว้ หลังจากนั้นก็จะคายพลังงานออกมาในรูปรังสีคลื่นยาวช่วงอินฟราเรดแผ่กระจายขึ้นสู่ชั้นบรรยากาศและแผ่กระจายออกนอกชั้น
บรรยากาศไปส่วนหนึ่งอีกส่วนหนึ่งนั้นชั้นบรรยากาศก็จะดูดกลืนไว้ และคายพลังงานความร้อนออกมา ผลที่เกิดขึ้นคือทำให้โลกสามารถ รักษาสภาพ
สมดุลทางอุณหภูมิไว้ได้จึงมีวัฏจักรน้ำ อากาศ และฤดูกาลต่าง ๆ ดำเนินไปอย่างสมดุลเอื้ออำนวยต่อการดำรงชีวิตพืชและสัตว์ โลกจึงเปรียบเสมือน
เรือนปลูกพืชขนาดใหญ่ที่มีไอน้ำและก๊าซต่าง ๆ ในชั้นบรรยากาศเป็นเสมือนกรอบกระจกที่คอยควบคุมอุณหภูมิ และวัฏจักรต่าง ๆ ให้เป็นไปอย่างสม-
ดุล แต่ในปัจจุบันชั้นบรรยากาศของโลกมีปริมาณก็าซบางชนิดมากเกิน สมดุลของธรรมชาติอันเป็นผลมาจากฝีมือมนุษย์ เช่นก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
(CO2) ก๊าซมีเทน (CH4) ก๊าซคลอโรฟลูออโรคาร์บอน (CFC8) และก๊าซไนตรัสออกไซด์ (N2O) เป็นต้น
ก๊าซเหล่านี้มีคุณสมบัติพิเศษคือสามารถดูดกลืนและคายรังสีคลื่นยาวช่วงอินฟราเรดได้ดีมาก ดังนั้นเมื่อพื้นผิวโลกคายรังสีอินฟราเรดขึ้นสู่ชั้น
บรรยากาศ ก็าซเหล่านี้จะดูดกลืนรังสีอินฟราเรดเอาไว้ ต่อจากนั้นมันก็จะคายความร้อนสะสมอยู่บริเวณพื้นผิวโลก และชั้นบรรยากาศเพิ่มมากขึ้น พื้น
ผิวโลกจึงมีอุณหภูมิสูงขึ้น เราเรียกก๊าซที่ทำให้เกิดภาวะแบบนี้ว่า "ก๊าซเรือนกระจก (greenhouse gases)"
ก็าซเรือนกระจกนอกจากจะส่งผลกระทบต่อการเพิ่มอุณหภูมิของพื้นผิวโลกโดยตรงแล้ว มันยังส่งผลกระทบโดยทางอ้อมด้วย กล่าวคือมัน จะ
ไปทำปฏิกิริยาเคมีกับก๊าซอื่น ๆ และเกิดเป็นก๊าซเรือนกระจกชนิดใหม่ขึ้นมา หรือก็าซเรือนกระจกบางชนิดอาจรวมตัวกับโอโซน ทำให้โอโซนในชั้น-
บรรยากาศ ลดน้อยลงส่งผลให้ รังสีคลื่นสั้นที่ส่องผ่านชั้นโอโซนลงมายังพื้นผิวโลกได้มากขึ้นรวมทั้งปล่อยให้รังสีที่ทำอันตรายต่อมนุษย์และ สิ่งมี
ชีวิตส่องผ่านลงมาทำอันตรายกับสิ่งมีชีวิตบนโลกได้ด้วยก๊าซเรือนกระจก
ในชั้นบรรยากาศของโลกประกอบด้วยก๊าซต่าง ๆ หลายชนิดแต่ละชนิดมีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น และลดลงตามคุณสมบัติทางเคมีของก๊าซ
แต่ละชนิด ดังนั้นก็าซที่มีมากเกินสมดุลของชั้นบรรยากาศจะสะสมอยู่ในชั้นบรรยากาศ ก๊าซบางชนิดสามารถสะสมอยู่ในชั้นบรรยากาศได้นานหลาย
ร้อยปี บางชนิดสะสมอยู่ได้ในเวลาเพียงไม่กี่ปีก็สลายไป ก๊าซเรือนกระจกที่กล่าวถึงนี้ก็เช่นกัน เนื่องจากมันมีปริมาณที่มากเกินสมดุลในชั้นบรรยากาศ
มันจึงสะสมอยู่ในชั้นบรรยากาศและสะสมอยู่ได้เป็นเวลานานหลายปี
เราอาจแบ่งก็าซเรือนกระจกได้เป็นสองพวกตามอายุการสะสมอยู่ในชั้นบรรยากาศ คือ พวกที่มีอายุการสะสมอยู่ในชั้นบรรยากาศไม่นาน เนื่อง
จากก๊าซเหล่านี้สามารถ ทำปฏิกิริยาได้ดีกับไอน้ำ หรือก๊าซอื่น ๆ จึงทำให้มันมีอายุสะสมเฉลี่ยสั้น ส่วนอีกพวกหนึ่งเป็นก๊าซเรือนกระจกซึ่งมีอายุสะสม
เฉลี่ยนานหลายปี เช่น ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ก๊าซมีเทน ก๊าซไนตรัสออกไซด์ และก๊าซคลอโรฟลูออโรคาร์บอน เป็นต้น
ก็าซเหล่านี้นับเป็นก็าซที่เป็นตัวการหลักของการเกิดภาวะเรือนกระจกเนื่องจากมันมีอายุสะสมเฉลี่ยยาวนานและสามารถดูดกลืนรังสีอินฟราเรด
ได้ดีกว่าก็าซเรือนกระจกอื่น ๆ ทั้งยังส่งผลกระทบให้ผิวโลกมีอุณหภูมิสูงขึ้นโดยทางอ้อมได้ด้วย แม้ว่าจะมีการรณรงค์เพื่อลดการปลด ปล่อยก๊าซเรือน
กระจก กันอย่างกว้างขวาง แต่อัตราการเพิ่มปริมาณก๊าซเรือนกระจกก็ยังมีมากขึ้นซึ่งการเพิ่มขึ้นนี้เป็นผลมาจากฝีมือมนุษย์ทั้งสิ้น
ดังนั้นเราควรทราบถึงแหล่งที่มา และความสำคัญของก๊าซเรือนกระจกแต่ละชนิดโดยสังเขปดังนี้
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ภาวะเรือนกระจกคืออะไรและเกิดขึ้นได้อย่างไร ภาวะเรือนกระจกคือภาวะที่ชั้นบรรยากาศของโลกกระทำตัวเสมือนกระจกที่ยอมให้รังสีคลื่นสั้นผ่านลงมายังผิวโลกได้แต่จะดูดกลืนรังสีคลื่นยาวช่วงอินฟราเรดที่แผ่ออกจากพื้นผิวโลกเอาไว้จากนั้นก็จะคายพลังงานความร้อนให้กระจายอยู่ภายในชั้นบรรยากาศและพื้นผิวโลกจึงเปรียบเสมือนกระจกที่ปกคลุมผิวโลกให้มีภาวะสมดุลทางอุณหภูมิและเหมาะสมต่อสิ่งมีชีวิตบนผิวโลก แต่ในปัจจุบันมีก๊าซบางชนิดสะสมอยู่ในชั้นบรรยากาศมากเกินสมดุลซึ่งก๊าซเหล่านี้สามารถดูดกลืนรังสีคลื่นยาวช่วงอินฟราเรดและคายพลังงานความร้อนได้ดีพื้นผิวโลกและชั้นบรรยากาศจึงมีอุณหภูมิสูงขึ้นส่งผลกระทบต่อสภาพภูมิอากาศของโลกและสิ่งมีชีวิตพื้นผิวโลกอย่างมากมาย ในภาวะปกติชั้นบรรยากาศของโลกจะประกอบด้วยโอโซนไอน้ำและก๊าซชนิดต่างๆซึ่งทำหน้าที่กรองรังสีคลื่นสั้นบางชนิดให้ผ่านมาตกกระทบพื้นผิวโลกรังสีคลื่นสั้นที่ตกกระทบพื้นผิวโลกนี้จะสะท้อนกลับออกนอกชั้นบรรยากาศไปส่วนหนึ่งที่เหลือพื้นผิวโลกที่ประกอบด้วยพื้นน้ำพื้นดินและสิ่งมีชีวิตจะดูดกลืนไว้หลังจากนั้นก็จะคายพลังงานออกมาในรูปรังสีคลื่นยาวช่วงอินฟราเรดแผ่กระจายขึ้นสู่ชั้นบรรยากาศและแผ่กระจายออกนอกชั้นบรรยากาศไปส่วนหนึ่งอีกส่วนหนึ่งนั้นชั้นบรรยากาศก็จะดูดกลืนไว้และคายพลังงานความร้อนออกมาผลที่เกิดขึ้นคือทำให้โลกสามารถรักษาสภาพสมดุลทางอุณหภูมิไว้ได้จึงมีวัฏจักรน้ำอากาศและฤดูกาลต่างๆ ดำเนินไปอย่างสมดุลเอื้ออำนวยต่อการดำรงชีวิตพืชและสัตว์โลกจึงเปรียบเสมือนเรือนปลูกพืชขนาดใหญ่ที่มีไอน้ำและก๊าซต่างๆ ในชั้นบรรยากาศเป็นเสมือนกรอบกระจกที่คอยควบคุมอุณหภูมิและวัฏจักรต่างๆ ให้เป็นไปอย่างสม-ดุลแต่ในปัจจุบันชั้นบรรยากาศของโลกมีปริมาณก็าซบางชนิดมากเกินสมดุลของธรรมชาติอันเป็นผลมาจากฝีมือมนุษย์เช่นก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ก๊าซมีเทน (CH4) ก๊าซคลอโรฟลูออโรคาร์บอน (CFC8) และก๊าซไนตรัสออกไซด์ (N2O) เป็นต้น ก๊าซเหล่านี้มีคุณสมบัติพิเศษคือสามารถดูดกลืนและคายรังสีคลื่นยาวช่วงอินฟราเรดได้ดีมากดังนั้นเมื่อพื้นผิวโลกคายรังสีอินฟราเรดขึ้นสู่ชั้น บรรยากาศก็าซเหล่านี้จะดูดกลืนรังสีอินฟราเรดเอาไว้ต่อจากนั้นมันก็จะคายความร้อนสะสมอยู่บริเวณพื้นผิวโลกและชั้นบรรยากาศเพิ่มมากขึ้นพื้นผิวโลกจึงมีอุณหภูมิสูงขึ้นเราเรียกก๊าซที่ทำให้เกิดภาวะแบบนี้ว่า "ก๊าซเรือนกระจก (ก๊าซเรือนกระจก)" ก็าซเรือนกระจกนอกจากจะส่งผลกระทบต่อการเพิ่มอุณหภูมิของพื้นผิวโลกโดยตรงแล้วมันยังส่งผลกระทบโดยทางอ้อมด้วยกล่าวคือมันจะไปทำปฏิกิริยาเคมีกับก๊าซอื่นๆ และเกิดเป็นก๊าซเรือนกระจกชนิดใหม่ขึ้นมาหรือก็าซเรือนกระจกบางชนิดอาจรวมตัวกับโอโซนทำให้โอโซนในชั้น-บรรยากาศลดน้อยลงส่งผลให้รังสีคลื่นสั้นที่ส่องผ่านชั้นโอโซนลงมายังพื้นผิวโลกได้มากขึ้นรวมทั้งปล่อยให้รังสีที่ทำอันตรายต่อมนุษย์และสิ่งมี ชีวิตส่องผ่านลงมาทำอันตรายกับสิ่งมีชีวิตบนโลกได้ด้วยก๊าซเรือนกระจก ในชั้นบรรยากาศของโลกประกอบด้วยก๊าซต่างๆ หลายชนิดแต่ละชนิดมีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นและลดลงตามคุณสมบัติทางเคมีของก๊าซแต่ละชนิดดังนั้นก็าซที่มีมากเกินสมดุลของชั้นบรรยากาศจะสะสมอยู่ในชั้นบรรยากาศก๊าซบางชนิดสามารถสะสมอยู่ในชั้นบรรยากาศได้นานหลายร้อยปีบางชนิดสะสมอยู่ได้ในเวลาเพียงไม่กี่ปีก็สลายไปก๊าซเรือนกระจกที่กล่าวถึงนี้ก็เช่นกันเนื่องจากมันมีปริมาณที่มากเกินสมดุลในชั้นบรรยากาศ มันจึงสะสมอยู่ในชั้นบรรยากาศและสะสมอยู่ได้เป็นเวลานานหลายปี เราอาจแบ่งก็าซเรือนกระจกได้เป็นสองพวกตามอายุการสะสมอยู่ในชั้นบรรยากาศคือพวกที่มีอายุการสะสมอยู่ในชั้นบรรยากาศไม่นานเนื่องจากก๊าซเหล่านี้สามารถทำปฏิกิริยาได้ดีกับไอน้ำหรือก๊าซอื่นๆ จึงทำให้มันมีอายุสะสมเฉลี่ยสั้นส่วนอีกพวกหนึ่งเป็นก๊าซเรือนกระจกซึ่งมีอายุสะสมเฉลี่ยนานหลายปีเช่นก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ก๊าซมีเทนก๊าซไนตรัสออกไซด์และก๊าซคลอโรฟลูออโรคาร์บอนเป็นต้น ก็าซเหล่านี้นับเป็นก็าซที่เป็นตัวการหลักของการเกิดภาวะเรือนกระจกเนื่องจากมันมีอายุสะสมเฉลี่ยยาวนานและสามารถดูดกลืนรังสีอินฟราเรดได้ดีกว่าก็าซเรือนกระจกอื่นๆ ทั้งยังส่งผลกระทบให้ผิวโลกมีอุณหภูมิสูงขึ้นโดยทางอ้อมได้ด้วยแม้ว่าจะมีการรณรงค์เพื่อลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกกันอย่างกว้างขวางแต่อัตราการเพิ่มปริมาณก๊าซเรือนกระจกก็ยังมีมากขึ้นซึ่งการเพิ่มขึ้นนี้เป็นผลมาจากฝีมือมนุษย์ทั้งสิ้น ดังนั้นเราควรทราบถึงแหล่งที่มาและความสำคัญของก๊าซเรือนกระจกแต่ละชนิดโดยสังเขปดังนี้
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ซึ่งก๊าซเหล่านี้ และคายพลังงานความร้อนได้ดี พื้นดินและสิ่งมีชีวิตจะดูดกลืนไว้ และคายพลังงานความร้อนออกมาผลที่เกิดขึ้นคือทำให้โลกสามารถ อากาศและฤดูกาลต่าง ๆ ๆ และวัฏจักรต่าง ๆ ให้เป็นไปอย่างสม - ดุล เช่นก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์(CO2) ก๊าซมีเทน (CH4) ก๊าซคลอโรฟลูออโรคาร์บอน (CFC8) และก๊าซไนตรัสออกไซด์ (N2O) และชั้นบรรยากาศเพิ่มมากขึ้นพื้นผิวโลกจึงมีอุณหภูมิสูงขึ้น "ก๊าซเรือนกระจก (เรือนกระจก มันยังส่งผลกระทบโดยทางอ้อมด้วยกล่าวคือมันจะไปทำปฏิกิริยาเคมีกับก๊าซอื่น ๆ ทำให้โอโซนในชั้น - บรรยากาศลดน้อยลงส่งผลให้ ๆ คือ เนื่องจากก๊าซเหล่านี้สามารถทำปฏิกิริยาได้ดีกับไอน้ำหรือก๊าซอื่น ๆ จึงทำให้มันมีอายุเฉลี่ยสะสมสั้น เช่นก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ก๊าซมีเทนก๊าซไนตรัสออกไซด์และก๊าซคลอโรฟลูออโรคาร์บอน ๆ แม้ว่าจะมีการรณรงค์เพื่อลดการปล่อยก๊าซปลดเรือนกระจกกันอย่างกว้างขวาง































การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ภาวะเรือนกระจกคืออะไรและเกิดขึ้นได้อย่างไรภาวะที่ชั้นบรรยากาศของโลกกระทำตัวเสมือนกระจกที่ยอมให้รังสีคลื่นสั้นผ่านลงมายังผิวโลกได้แต่จะดูดกลืนรังสีคลื่น

ภาวะเรือนกระจกคือยาวช่วงอินฟราเรดที่แผ่ออกจากพื้นผิวโลกเอาไว้จากนั้นก็จะคายพลังงานความร้อนให้กระจายอยู่ภายในชั้นบรรยากาศและพื้นผิวโลกจึงเปรียบเสมือน
กระจกที่ปกคลุมผิวโลกให้มีภาวะสมดุลทางอุณหภูมิและเหมาะสมต่อสิ่งมีชีวิตบนผิวโลก
แต่ในปัจจุบันมีก๊าซบางชนิดสะสมอยู่ในชั้นบรรยากาศมากเกินสมดุลซึ่งก๊าซเหล่านี้สามารถดูดกลืนรังสีคลื่นยาวช่วงอินฟราเรดและคายพลัง
งานความร้อนได้ดีพื้นผิวโลกและชั้นบรรยากาศจึงมีอุณหภูมิสูงขึ้นส่งผลกระทบต่อสภาพภูมิอากาศของโลกและสิ่งมีชีวิตพื้นผิวโลกอย่างมากมาย
ในภาวะปกติชั้นบรรยากาศของโลกจะประกอบด้วยโอโซนไอน้ำและก๊าซชนิดต่างๆซึ่งทำหน้าที่กรองรังสีคลื่นสั้นบางชนิดให้ผ่านมาตกกระทบ
พื้นผิวโลกรังสีคลื่นสั้นที่ตกกระทบพื้นผิวโลกนี้จะสะท้อนกลับออกนอกชั้นบรรยากาศไปส่วนหนึ่งที่เหลือพื้นผิวโลกที่ประกอบด้วยพื้นน้ำพื้นดินและ
สิ่งมีชีวิตจะดูดกลืนไว้หลังจากนั้นก็จะคายพลังงานออกมาในรูปรังสีคลื่นยาวช่วงอินฟราเรดแผ่กระจายขึ้นสู่ชั้นบรรยากาศและแผ่กระจายออกนอกชั้น
บรรยากาศไปส่วนหนึ่งอีกส่วนหนึ่งนั้นชั้นบรรยากาศก็จะดูดกลืนไว้และคายพลังงานความร้อนออกมาผลที่เกิดขึ้นคือทำให้โลกสามารถรักษาสภาพ
สมดุลทางอุณหภูมิไว้ได้จึงมีวัฏจักรน้ำอากาศและฤดูกาลต่างจะดำเนินไปอย่างสมดุลเอื้ออำนวยต่อการดำรงชีวิตพืชและสัตว์โลกจึงเปรียบเสมือน
เรือนปลูกพืชขนาดใหญ่ที่มีไอน้ำและก๊าซต่างจะในชั้นบรรยากาศเป็นเสมือนกรอบกระจกที่คอยควบคุมอุณหภูมิและวัฏจักรต่างจะให้เป็นไปอย่างสม -
ดุลแต่ในปัจจุบันชั้นบรรยากาศของโลกมีปริมาณก็าซบางชนิดมากเกินสมดุลของธรรมชาติอันเป็นผลมาจากฝีมือมนุษย์เช่นก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
( CO2 ) ก๊าซมีเทน ( ร่าง ) ก๊าซคลอโรฟลูออโรคาร์บอน ( cfc8 ) และก๊าซไนตรัสออกไซด์ ( N2O ) เป็นต้น
ก๊าซเหล่านี้มีคุณสมบัติพิเศษคือสามารถดูดกลืนและคายรังสีคลื่นยาวช่วงอินฟราเรดได้ดีมากดังนั้นเมื่อพื้นผิวโลกคายรังสีอินฟราเรดขึ้นสู่ชั้น
บรรยากาศก็าซเหล่านี้จะดูดกลืนรังสีอินฟราเรดเอาไว้ต่อจากนั้นมันก็จะคายความร้อนสะสมอยู่บริเวณพื้นผิวโลกและชั้นบรรยากาศเพิ่มมากขึ้นพื้น
ผิวโลกจึงมีอุณหภูมิสูงขึ้นเราเรียกก๊าซที่ทำให้เกิดภาวะแบบนี้ว่า " ก๊าซเรือนกระจก ( ก๊าซเรือนกระจก ) "
ก็าซเรือนกระจกนอกจากจะส่งผลกระทบต่อการเพิ่มอุณหภูมิของพื้นผิวโลกโดยตรงแล้วมันยังส่งผลกระทบโดยทางอ้อมด้วยกล่าวคือมันจะ
ไปทำปฏิกิริยาเคมีกับก๊าซอื่นจะและเกิดเป็นก๊าซเรือนกระจกชนิดใหม่ขึ้นมาหรือก็าซเรือนกระจกบางชนิดอาจรวมตัวกับโอโซนทำให้โอโซนในชั้น -
บรรยากาศลดน้อยลงส่งผลให้รังสีคลื่นสั้นที่ส่องผ่านชั้นโอโซนลงมายังพื้นผิวโลกได้มากขึ้นรวมทั้งปล่อยให้รังสีที่ทำอันตรายต่อมนุษย์และสิ่งมี
ชีวิตส่องผ่านลงมาทำอันตรายกับสิ่งมีชีวิตบนโลกได้ด้วยก๊าซเรือนกระจกในชั้นบรรยากาศของโลกประกอบด้วยก๊าซต่างจะหลายชนิดแต่ละชนิดมีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นและลดลงตามคุณสมบัติทางเคมีของก๊าซ

แต่ละชนิดดังนั้นก็าซที่มีมากเกินสมดุลของชั้นบรรยากาศจะสะสมอยู่ในชั้นบรรยากาศก๊าซบางชนิดสามารถสะสมอยู่ในชั้นบรรยากาศได้นานหลาย
ร้อยปีบางชนิดสะสมอยู่ได้ในเวลาเพียงไม่กี่ปีก็สลายไปก๊าซเรือนกระจกที่กล่าวถึงนี้ก็เช่นกันเนื่องจากมันมีปริมาณที่มากเกินสมดุลในชั้นบรรยากาศ

มันจึงสะสมอยู่ในชั้นบรรยากาศและสะสมอยู่ได้เป็นเวลานานหลายปีเราอาจแบ่งก็าซเรือนกระจกได้เป็นสองพวกตามอายุการสะสมอยู่ในชั้นบรรยากาศความพวกที่มีอายุการสะสมอยู่ในชั้นบรรยากาศไม่นานเนื่อง
จากก๊าซเหล่านี้สามารถทำปฏิกิริยาได้ดีกับไอน้ำหรือก๊าซอื่นจะจึงทำให้มันมีอายุสะสมเฉลี่ยสั้นส่วนอีกพวกหนึ่งเป็นก๊าซเรือนกระจกซึ่งมีอายุสะสม
เฉลี่ยนานหลายปีเช่นก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ก๊าซมีเทนก๊าซไนตรัสออกไซด์และก๊าซคลอโรฟลูออโรคาร์บอนเป็นต้น
ก็าซเหล่านี้นับเป็นก็าซที่เป็นตัวการหลักของการเกิดภาวะเรือนกระจกเนื่องจากมันมีอายุสะสมเฉลี่ยยาวนานและสามารถดูดกลืนรังสีอินฟราเรด
ได้ดีกว่าก็าซเรือนกระจกอื่นจะทั้งยังส่งผลกระทบให้ผิวโลกมีอุณหภูมิสูงขึ้นโดยทางอ้อมได้ด้วยแม้ว่าจะมีการรณรงค์เพื่อลดการปลดปล่อยก๊าซเรือน
กระจกกันอย่างกว้างขวางแต่อัตราการเพิ่มปริมาณก๊าซเรือนกระจกก็ยังมีมากขึ้นซึ่งการเพิ่มขึ้นนี้เป็นผลมาจากฝีมือมนุษย์ทั้งสิ้น
ดังนั้นเราควรทราบถึงแหล่งที่มาและความสำคัญของก๊าซเรือนกระจกแต่ละชนิดโดยสังเขปดังนี้
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: