ความเป็นมาของ วันขึ้นปีใหม่ไทย ในอดีต วันขึ้นปีใหม่ของไทยได้มีการเปลี่ การแปล - ความเป็นมาของ วันขึ้นปีใหม่ไทย ในอดีต วันขึ้นปีใหม่ของไทยได้มีการเปลี่ ไทย วิธีการพูด

ความเป็นมาของ วันขึ้นปีใหม่ไทย ในอด

ความเป็นมาของ วันขึ้นปีใหม่ไทย
ในอดีต วันขึ้นปีใหม่ของไทยได้มีการเปลี่ยนแปลงมาแล้ว 4 ครั้งคือ ครั้งแรกถือเอาวันแรม 1 ค่ำ เดือนอ้าย เป็นวันขึ้นปีใหม่ซึ่ง ตรงกับเดือนมกราคม ครั้งที่ 2 กำหนดให้วันขึ้นปีใหม่ตรงกับวันขึ้น 1 ค่ำ เดือน 5 ตามคติพราหมณ์ ซึ่งตรงกับเดือนเมษายน
การกำหนดวันขึ้นปีใหม่ใน 2 ครั้งนี้ ถือเอาทางจันทรคติเป็นหลัก ต่อมาได้ถือเอาทางสุริยคติแทน โดยกำหนดให้วันที่ 1 เมษายน เป็นวันขึ้นปีใหม่ ตั้งแต่ พ.ศ.2432 เป็นต้นมา อย่างไรก็ตาม ประชาชนส่วนใหญ่โดยเฉพาะตามชนบทยังคงยึดถือเอาวันสงกรานต์เป็น วันขึ้นปีใหม่อยู่ ต่อมาเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองมาเป็นระบอบประชาธิปไตย ทางราชการเห็นว่าวันขึ้นปีใหม่วันที่ 1 เมษายน ไม่สู้จะมีการรื่นเริงอะไรมากนัก สมควรที่จะฟื้นฟูขึ้นมาใหม่ จึงได้ประกาศให้มีงานรื่นเริงวันขึ้นปีใหม่ในวันที่ 1 เมษายน 2477 ขึ้นใน กรุงเทพฯเป็นครั้งแรก

การจัดงานวันขึ้นปีใหม่ที่ได้เริ่มเมื่อวันที่ 1 เมษายน ได้แพร่หลายออกไปต่างจังหวัดในปีต่อๆมา และในปี พ.ศ.2479 ก็ได้มีการ จัดงานรื่นเริงปีใหม่ทั่วทุกจังหวัด วันขึ้นปีใหม่วันที่ 1 เมษายน ในสมัยนั้นทางราชการเรียกว่า วันตรุษสงกรานต์

ต่อมาได้มีการพิจารณาเปลี่ยนวันขึ้นปีใหม่อีกครั้งหนึ่ง โดยคณะรัฐมนตรีได้แต่งตั้งคณะกรรมการขึ้น ซึ่งมีหลวงวิจิตรวาทการ เป็นประธานกรรมการ ที่ประชุมมีมติเป็นเอกฉันท์ให้เปลี่ยนวันขึ้นปีใหม่เป็นวันที่ 1 มกราคม โดยกำหนดให้วันที่ 1 มกราคม 2484 เป็น วันขึ้นปีใหม่เป็นต้นไป
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ความเป็นมาของวันขึ้นปีใหม่ไทย ในอดีตวันขึ้นปีใหม่ของไทยได้มีการเปลี่ยนแปลงมาแล้ว 4 ครั้งคือครั้งแรกถือเอาวันแรม 1 ค่ำเดือนอ้ายเป็นวันขึ้นปีใหม่ซึ่งตรงกับเดือนมกราคมครั้งที่ 2 กำหนดให้วันขึ้นปีใหม่ตรงกับวันขึ้น 1 ค่ำเดือน 5 ตามคติพราหมณ์ซึ่งตรงกับเดือนเมษายน การกำหนดวันขึ้นปีใหม่ใน 2 ครั้งนี้ถือเอาทางจันทรคติเป็นหลักต่อมาได้ถือเอาทางสุริยคติแทนโดยกำหนดให้วันที่ 1 เมษายนเป็นวันขึ้นปีใหม่ตั้งแต่ พ.ศ.2432 เป็นต้นมาอย่างไรก็ตามประชาชนส่วนใหญ่โดยเฉพาะตามชนบทยังคงยึดถือเอาวันสงกรานต์เป็นวันขึ้นปีใหม่อยู่ต่อมาเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองมาเป็นระบอบประชาธิปไตยทางราชการเห็นว่าวันขึ้นปีใหม่วันที่ 1 เมษายนไม่สู้จะมีการรื่นเริงอะไรมากนักสมควรที่จะฟื้นฟูขึ้นมาใหม่จึงได้ประกาศให้มีงานรื่นเริงวันขึ้นปีใหม่ในวันที่ 1 เมษายน 2477 ขึ้นในกรุงเทพฯเป็นครั้งแรกการจัดงานวันขึ้นปีใหม่ที่ได้เริ่มเมื่อวันที่ 1 เมษายนได้แพร่หลายออกไปต่างจังหวัดในปีต่อๆมาและในปี พ.ศ.2479 ก็ได้มีการจัดงานรื่นเริงปีใหม่ทั่วทุกจังหวัดวันขึ้นปีใหม่วันที่ 1 เมษายนในสมัยนั้นทางราชการเรียกว่าวันตรุษสงกรานต์ต่อมาได้มีการพิจารณาเปลี่ยนวันขึ้นปีใหม่อีกครั้งหนึ่งโดยคณะรัฐมนตรีได้แต่งตั้งคณะกรรมการขึ้นซึ่งมีหลวงวิจิตรวาทการเป็นประธานกรรมการที่ประชุมมีมติเป็นเอกฉันท์ให้เปลี่ยนวันขึ้นปีใหม่เป็นวันที่ 1 มกราคมโดยกำหนดให้วันที่ 1 มกราคม 2484 เป็นวันขึ้นปีใหม่เป็นต้นไป
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
มาเป็นความของการธนาคารวันขึ้นปีใหม่ไทยในอดีต
4 ครั้งคือครั้งแรกถือเอาวันแรม 1 ค่ำเดือนอ้ายเป็นวันขึ้นปีใหม่ซึ่งตรงกับเดือนมกราคมครั้งที่ 2 1 ค่ำเดือน 5 ตามคติพราหมณ์
2 ครั้งนี้ถือเอาทางจันทรคติเป็นหลักต่อมาได้ถือเอาทางสุริยคติแทนโดยกำหนดให้วันที่ 1 เมษายนเป็นวันขึ้นปีใหม่ตั้งแต่ พ.ศ. 2432 เป็นต้นมาอย่างไรก็ตาม วันขึ้นปีใหม่อยู่ 1 เมษายนไม่สู้จะมีการรื่นเริงอะไรมากนักสมควรที่จะฟื้นฟูขึ้นมาใหม่ 1 เมษายน 2477 ขึ้นใน 1 เมษายน และในปี พ.ศ. 2479 ก็ได้มีการ วันขึ้นปีใหม่วันที่ 1 เมษายนในสมัยนั้นทางราชการเรียกว่า ซึ่งมีหลวงวิจิตรวาทการเป็นประธานกรรมการ 1 มกราคมโดยกำหนดให้วันที่ 1 มกราคม 2484 เป็นวันขึ้นปีใหม่เป็นต้นไป




การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ความเป็นมาของวันขึ้นปีใหม่ไทย
ในอดีตวันขึ้นปีใหม่ของไทยได้มีการเปลี่ยนแปลงมาแล้ว 4 ครั้งคือครั้งแรกถือเอาวันแรม 1 ค่ำเดือนอ้ายเป็นวันขึ้นปีใหม่ซึ่งตรงกับเดือนมกราคมครั้งที่ 2 กำหนดให้วันขึ้นปีใหม่ตรงกับวันขึ้น 1 ค่ำเดือน 5ซึ่งตรงกับเดือนเมษายน
การกำหนดวันขึ้นปีใหม่ใน 2 ครั้งนี้ถือเอาทางจันทรคติเป็นหลักต่อมาได้ถือเอาทางสุริยคติแทนโดยกำหนดให้วันที่ 1 เมษายนเป็นวันขึ้นปีใหม่ตั้งแต่พ . ศ .2432 เป็นต้นมาอย่างไรก็ตามประชาชนส่วนใหญ่โดยเฉพาะตามชนบทยังคงยึดถือเอาวันสงกรานต์เป็นวันขึ้นปีใหม่อยู่ต่อมาเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองมาเป็นระบอบประชาธิปไตยทางราชการเห็นว่าวันขึ้นปีใหม่วันที่ 1ไม่สู้จะมีการรื่นเริงอะไรมากนักสมควรที่จะฟื้นฟูขึ้นมาใหม่จึงได้ประกาศให้มีงานรื่นเริงวันขึ้นปีใหม่ในวันที่เมษายนขึ้นในกรุงเทพฯเป็นครั้งแรก
1 พ.
การจัดงานวันขึ้นปีใหม่ที่ได้เริ่มเมื่อวันที่ 1 เมษายนได้แพร่หลายออกไปต่างจังหวัดในปีต่อๆมาและในปีพ . ศ .2479 ก็ได้มีการจัดงานรื่นเริงปีใหม่ทั่วทุกจังหวัดวันขึ้นปีใหม่วันที่ 1 เมษายนในสมัยนั้นทางราชการเรียกว่าวันตรุษสงกรานต์

ต่อมาได้มีการพิจารณาเปลี่ยนวันขึ้นปีใหม่อีกครั้งหนึ่งโดยคณะรัฐมนตรีได้แต่งตั้งคณะกรรมการขึ้นซึ่งมีหลวงวิจิตรวาทการเป็นประธานกรรมการที่ประชุมมีมติเป็นเอกฉันท์ให้เปลี่ยนวันขึ้นปีใหม่เป็นวันที่ 1โดยกำหนดให้วันที่ 1 มกราคม 2484 เป็นวันขึ้นปีใหม่เป็นต้นไป
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: