กวางผาเป็นสัตว์ตระกูลแพะเช่นเดียวกับเลียงผา รูปร่างทั่วไปคล้ายเลียงผา  การแปล - กวางผาเป็นสัตว์ตระกูลแพะเช่นเดียวกับเลียงผา รูปร่างทั่วไปคล้ายเลียงผา  ไทย วิธีการพูด

กวางผาเป็นสัตว์ตระกูลแพะเช่นเดียวกั

กวางผาเป็นสัตว์ตระกูลแพะเช่นเดียวกับเลียงผา รูปร่างทั่วไปคล้ายเลียงผา แต่กวางผามีขนาดเล็กกว่าราวครึ่งหนึ่ง มีคอเล็กกว่า หางยาวกว่า และขาสั้นกว่า ต่อมหัวตาที่เป็นช่องเปิดระหว่างจมูกและตาของกวางผาเล็กมาก กระดูกจมูกของกวางผาเป็นคนละชิ้นกับกระดูกหน้า ซึ่งต่างจากเลียงผา กวางผาในเมืองไทยมีความยาวลำตัว 80-120 เซนติเมตร หางยาว 7-20 เซนติเมตร หูยาว 10-14 เซนติเมตร ความสูงที่หัวไหล่ 50-70 เซนติเมตร หนักราว 22-32 กิโลกรัม
ขนกวางผาหยาบยาวสีน้ำตาลอมเทา ขนหางฟูและดำ ใต้คางและอกมีสีน้ำตาลเข้มมีลายจาง ๆ บริเวณต้นขาสีเข้มและค่อย ๆ จางลงเมื่อไล่ลงไปถึงปลายขา เขาสีดำเขาโค้งไปด้านหลัง กวางผาตัวเมียมักมีสีจางกว่าตัวผู้ เขาสั้นกว่าและมีพาลีไม่เด่นชัดเท่าตัวผู้
กวางผาอาศัยอยู่บนภูเขาสูง พบที่ระดับความสูง 3,300-13,500 ฟุตที่เป็นหน้าผาที่มีพืชขึ้นเป็นหย่อมและมีหลืบหินสำหรับหลบซ่อน อาศัยเป็นฝูงครอบครัวเล็ก ๆ ประมาณ 5-6 ตัว ส่วนตัวผู้จะหากินโดยลำพังยกเว้นในฤดูผสมพันธุ์เท่านั้น
เขตกระจายพันธุ์แพร่ตั้งแต่เขตอัลซูรีในรัสเซีย แมนจูเรีย จีน เกาหลี ลงมาจนถึงพม่า และตะวันตกเฉียงเหนือของไทย ปัจจุบันในเมืองไทยพบกวางผาเฉพาะในเทือกเขาที่เป็นต้นน้ำปิงเท่านั้น
กวางผากินหญ้า ใบไม้ และผลไม้เป็นอาหาร มีสายตาดี จึงพึ่งพาประสาทการมองมากกว่าประสาทรับกลิ่นหรือประสาทรับฟัง ซึ่งต่างจากสัตว์หากินเป็นฝูงชนิดอื่น เมื่อตกใจกลัวจะทำตัวแข็งทื่อ หากภัยอันตรายเข้าใกล้ตัวมากจึงวิ่งหนีไป
ฤดูผสมพันธุ์ของกวางผาอยู่ในช่วงเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนธันวาคม ตั้งท้องนานประมาณ 6 สัปดาห์ ออกลูกครั้งละตัว ลูกกวางผาจะอยู่กับแม่เป็นเวลาประมาณ 6 เดือนแล้วจึงแยกย้ายไป พอถึงวัย 2-3 ขวบก็ผสมพันธุ์ได้แล้ว อายุขัยประมาณ 8-10 ปี
เนื่องจากกวางผาอาศัยอยู่ในพื้นที่ที่เข้าถึงได้ยาก จึงมีศัตรูในธรรมชาติน้อยมาก นอกจากเสือไฟเท่านั้น อย่างไรก็ตามกวางผาต้องประสบภัยคุกคามจากการล่าของมนุษย์ และการบุกรุกถางป่าก็ทำให้กวางผาไม่มีที่อยู่อาศัยจนกระทั่งปัจจุบันอยู่ในภาวะใกล้สูญพันธุ์อย่างยิ่ง
กวางผาเป็นหนึ่งใน 15 สัตว์ป่าสงวนของไทย ไอยูซีเอ็นจัดสถานภาพไว้อยู่ในระดับเสี่ยงสูญพันธุ์ (2547)
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
กวางผาเป็นสัตว์ตระกูลแพะเช่นเดียวกับเลียงผา รูปร่างทั่วไปคล้ายเลียงผา แต่กวางผามีขนาดเล็กกว่าราวครึ่งหนึ่ง มีคอเล็กกว่าหางยาวกว่าและขาสั้นกว่า ต่อมหัวตาที่เป็นช่องเปิดระหว่างจมูกและตาของกวางผาเล็กมากซึ่งต่างจากเลียงผากวางผาในเมืองไทยมีความยาวลำตัว 80-120 เซนติเมตรหางยาว 7-20 เซนติเมตรหูยาว 10-14 เซนติเมตรความสูงที่หัวไหล่ 50-70 เซนติเมตรหนักราว 22-32 กิโลกรัม
ขนกวางผาหยาบยาวสีน้ำตาลอมเทาขนหางฟูและดำใต้คางและอกมีสีน้ำตาลเข้มมีลายจาง ๆ บริเวณต้นขาสีเข้มและค่อย ๆ จางลงเมื่อไล่ลงไปถึงปลายขาเขาสีดำเขาโค้งไปด้านหลัง กวางผาตัวเมียมักมีสีจางกว่าตัวผู้กวางผาอาศัยอยู่บนภูเขาสูงพบที่ระดับความสูง 3,300-13,เขตกระจายพันธุ์แพร่ตั้งแต่เขตอัลซูรีในรัสเซีย แมนจูเรียจีนเกาหลีลงมาจนถึงพม่าและตะวันตกเฉียงเหนือของไทย ปัจจุบันในเมืองไทยพบกวางผาเฉพาะในเทือกเขาที่เป็นต้นน้ำปิงเท่านั้น
กวางผากินหญ้าใบไม้และผลไม้เป็นอาหารมีสายตาดี จึงพึ่งพาประสาทการมองมากกว่าประสาทรับกลิ่นหรือประสาทรับฟัง ซึ่งต่างจากสัตว์หากินเป็นฝูงชนิดอื่น เมื่อตกใจกลัวจะทำตัวแข็งทื่อฤดูผสมพันธุ์ของกวางผาอยู่ในช่วงเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนธันวาคม ตั้งท้องนานประมาณ 6 สัปดาห์ออกลูกครั้งละตัว ลูกกวางผาจะอยู่กับแม่เป็นเวลาประมาณ 6 เดือนแล้วจึงแยกย้ายไปพอถึงวัย 2-3 ขวบก็ผสมพันธุ์ได้แล้ว8-10 ปี
เนื่องจากกวางผาอาศัยอยู่ในพื้นที่ที่เข้าถึงได้ยาก จึงมีศัตรูในธรรมชาติน้อยมากนอกจากเสือไฟเท่านั้น อย่างไรก็ตามกวางผาต้องประสบภัยคุกคามจากการล่าของมนุษย์
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
กวางผาเป็นสัตว์ตระกูลแพะเช่นเดียวกับเลียงผารูปร่างทั่วไปคล้ายเลียงผาแต่กวางผามีขนาดเล็กกว่าราวครึ่งหนึ่งมีคอเล็กกว่าหางยาวกว่าและขาสั้นกว่าต่อมหัวตาที่เป็นช่องเปิดระหว่างจมูกและตาของกวางผาเล็กมาก ซึ่งต่างจากเลียงผากวางผาในเมืองไทยมีความยาวลำตัว 80-120 เซนติเมตรหางยาว 7-20 เซนติเมตรหูยาว 10-14 เซนติเมตรความสูงที่หัวไหล่ 50-70 เซนติเมตรหนักราว 22-32 กิโลกรัม
ขนกวางผาหยาบยาวสีน้ำตาลอมเทาขนหางฟูและดำใต้คางและอกมีสีน้ำตาลเข้มมีลายจางๆ บริเวณต้นขาสีเข้มและค่อยๆ จางลงเมื่อไล่ลงไปถึงปลายขาเขาสีดำเขาโค้งไปด้านหลังกวางผาตัวเมียมักมีสีจางกว่าตัวผู้ กวางผาอาศัยอยู่บนภูเขาสูงพบที่ระดับความสูง 3300-13500 ฟุตที่เป็นหน้าผาที่มีพืชขึ้นเป็นหย่อมและมีหลืบหินสำหรับหลบซ่อนอาศัยเป็นฝูงครอบครัวเล็กๆ ประมาณ 5-6 ตัวส่วนตัวผู้จะหากินโดยลำพังยกเว้นในฤดูผสมพันธุ์เท่านั้น
เขตกระจายพันธุ์แพร่ตั้งแต่เขตอัลซูรีในรัสเซียแมนจูเรียจีนเกาหลีลงมาจนถึงพม่าและตะวันตกเฉียงเหนือของไทยปัจจุบันในเมืองไทยพบกวางผาเฉพาะในเทือกเขาที่เป็นต้นน้ำปิงเท่านั้น
กวางผากินหญ้าใบไม้และผลไม้เป็นอาหารมีสายตาดีจึงพึ่งพาประสาทการมองมากกว่าประสาทรับกลิ่นหรือประสาทรับฟังซึ่งต่างจากสัตว์หากินเป็นฝูงชนิดอื่นเมื่อตกใจกลัวจะทำตัวแข็งทื่อ ฤดูผสมพันธุ์ของกวางผาอยู่ในช่วงเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนธันวาคมตั้งท้องนานประมาณ 6 สัปดาห์ออกลูกครั้งละตัวลูกกวางผาจะอยู่กับแม่เป็นเวลาประมาณ 6 เดือนแล้วจึงแยกย้ายไปพอถึงวัย 2-3 ขวบก็ผสมพันธุ์ได้แล้ว 8-10 ปี
เนื่องจากกวางผาอาศัยอยู่ในพื้นที่ที่เข้าถึงได้ยากจึงมีศัตรูในธรรมชาติน้อยมากนอกจากเสือไฟเท่านั้นอย่างไรก็ตามกวางผาต้องประสบภัยคุกคามจากการล่าของมนุษย์ กวางผาเป็นหนึ่งใน 15 สัตว์ป่าสงวนของไทยไอยูซีเอ็นจัดสถานภาพไว้อยู่ในระดับเสี่ยงสูญพันธุ์ (2547)
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
กวางผาเป็นสัตว์ตระกูลแพะเช่นเดียวกับเลียงผรูปร่างทั่วไปคล้ายเลียงผาแต่กวางผามีขนาดเล็กกว่าราวครึ่งหนึ่งมีคอเล็กกว่าหางยาวกว่าและขาสั้นกว่าต่อมหัวตาที่เป็นช่องเปิดระหว่างจมูกและตาขอซึ่งต่างจากเลียงผากวางผาในเมืองไทยมีความยาวลำตัว 80-120 80-120 80-120 80-120 เซนติเมตรหางยาว 7-20 เซนติเมตรหูยาว 10-14 เซนติเมตรความสูงที่หัวไหล่ 50-70 50-70 50-70 เซนติเมตรหนักราว 22-32 กิโลกรัม
ขนกวางผาหยาบยาวสีน้ำตาลอมเทาขนหางฟูและดำใต้คางและอกมีสีน้ำตาลเข้มมีลายจางบริเวณต้นขาสีเข้มและค่อยๆๆจางลงเมื่อไล่ลงไปถึงปลายขาเขาสีดำเขาโค้งไปด้านหลังกวางผาตัวเมียมักมีสีจางกว่าตัวผู้กวางผาอาศัยอยู่บนภูเขาสูง พบที่ระดับความสูง 3,300 - 13500 ฟุตที่เป็นหน้าผาที่มีพืชขึ้นเป็นหย่อมและมีอาศัยเป็นฝูงครอบครัวเล็กๆประมาณ 5-6 5-6 5-6 ตัวส่วนตัวผู้จะหากินโดยลำพังยกเว้นในฤดูผสมพันเขตกระจายพันธุ์แพร่ตั้งแต่เขตอัลซูรีในรัสเแมนจูเรียจีนเกาหลีลงมาจนถึงพม่าและตะวันตกเฉียงเหนือของไทยปัจจุบันในเมืองไทยพบกวางผาเฉพาะในเทือกเขาทกวางผากินหญ้าใบไม้และผลไม้เป็นอาหารมีสายตาดีจึงพึ่งพาประสาทการมองมากกว่าประสาทรับกลิ่นซึ่งต่างจากสัตว์หากินเป็นฝูงชนิดอื่นเมื่อตกใจกลัวจะทำตัวแข็งทื่อฤดูผสมพันธุ์ของกวางผาอยู่ในช่วงเดือนพฤศจิกตั้งท้องนานประมาณ 6 สัปดาห์ออกลูกครั้งละตัวลูกกวางผาจะอยู่กับแม่เป็นเวลาประมาณ 6 เดือนแล้วจึงแยกย้ายไปพอถึงวัย 2-3 2-3 2-3 ขวบก็ผสมพันธุ์ได้แล้ว8-10 8-10 8-10 ปี
ตามมาตรฐานเนื่องจากกวางผาอาศัยอยู่ในพื้นที่ที่เข้าถึจึงมีศัตรูในธรรมชาติน้อยมากนอกจากเสือไฟเท่านั้น อย่างไรก็ตามกวางผาต้องประสบภัยคุกคามจากการกวางผาเป็นหนึ่งใน 15 สัตว์ป่าสงวนของไทย ไอยูซีเอ็นจัดสถานภาพไว้อยู่ในระดับเสี่ยงสู ( 2547 )
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2025 I Love Translation. All reserved.

E-mail: