ค้นหาตัวเอง และคณะที่ตัวเองชอบ : การจะทำอะไรให้มันสำเร็จได้มันต้องมีเป การแปล - ค้นหาตัวเอง และคณะที่ตัวเองชอบ : การจะทำอะไรให้มันสำเร็จได้มันต้องมีเป ไทย วิธีการพูด

ค้นหาตัวเอง และคณะที่ตัวเองชอบ : กา

ค้นหาตัวเอง และคณะที่ตัวเองชอบ : การจะทำอะไรให้มันสำเร็จได้มันต้องมีเป้าหมายที่ชัดเจน คนส่วนใหญ่มักคิดว่าเป้าหมายของการสอบ Admission ก็คือทำคะแนน GAT/PAT และ O-NET ให้มันดี แต่จริง ๆ แล้วการวางเป้าหมายแค่นั้นมักไม่เพียงพอ เพราะเวลาเราเหนื่อยเราท้อกับการอ่านหนังสือ เราจะเลิกความคิดที่จะทำคะแนนสูง ๆ อีกต่อไป และสาเหตุที่เป็นแบบนี้เพราะเราไม่มีหลักจริง ๆ
Tips: เทคนิคในการค้นหาตัวเอง และคณะที่ตัวเองชื่นชอบ
1) พิจารณาจากบุคลิกภาพและลักษณะนิสัยส่วนตัว
2) พิจารณาจากความสามารถทางด้านวิชาการ
3) หาข้อมูลจากรุ่นพี่ๆประกอบการตัดสินใจ
รวบรวมข้อมูล : หลังจากรวบรวมข้อมูลแล้วตัดสินใจได้ว่าอยากเรียนคณะอะไร หรืออยากทำอาชีพอะไรแล้ว คราวนี้เราก็มาหาที่เรียนกันโดยการรวบรวมข้อมูลของคณะที่เราอยากจะเข้า พิจารณาคณะที่เราต้องการในหลาย ๆ มหาวิทยาลัย ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับวิธีการสมัครว่ามีวิธีการรับทางใดได้บ้าง เพราะในบางคณะจะมีวิธีการรับเข้าหลายวิธีด้วยกัน เช่น การรับตรง (โควต้า) หรือ การใช้คะแนน GAT/PAT รอบแรก นอกจากนั้นบางคณะยังมีภาคภาษาอังกฤษอีกด้วย เราจึงควรรวบรวมข้อมูลโดยอ้างอิงจากข้อมูลปีที่แล้วว่าจะมีการเปิดให้สมัคร และมีการสอบในช่วงใดของปี วิชาที่ใช้สอบและเนื้อหาข้อสอบ เมื่อได้ข้อมูลทั้งหมดแล้วให้เขียนไว้ในปฏิทินว่าช่วงไหนน่าจะมีอะไรเปิด บ้าง จากนั้นก็คอยติดตามข่าวจาก website คณะหรือมหาวิทยาลัย
ค้นหาข้อมูลสถาบันต่าง ๆ

ทดสอบตัวเอง : เมื่อรู้ข้อมูลวิชาที่ต้องการจะสอบแล้ว ให้ลองทำการจำลองการสอบด้วยตัวเอง จับเวลาให้เหมือนข้อสอบจริง และสอบให้ครบทุกวิชา ย้ำว่าต้องจับเวลาแบบจริงจัง จากนั้นก็ตรวจข้อสอบ แล้วดูคะแนนที่ทำได้ เทียบกับคะแนนต่ำสุดของคณะนั้นๆที่เราต้องการ แน่นอนว่าคะแนนของเราก็มักจะต่ำกว่าคะแนนต่ำสุด เพราะอาจจะมีอีกหลายบทที่ยังไม่ได้เรียน หรือยังไม่ได้ทบทวน คะแนนย่อมน้อยกว่าที่ควรจะเป็น แต่สิ่งที่เราต้องการคือการประเมินว่าเราห่างจากเป้าหมายของเรามากแค่ไหน แล้วอะไรหรือวิชาใดที่เป็นอุปสรรคต่อการเข้าคณะนั้น

จัดตารางการอ่านหนังสือ : เมื่อรู้แล้วว่าอะไรคือจุดอ่อนของเรา วิชาใด หรือบทใดที่จำเป็นต่อการสอบ แต่เรายังมีความรู้ไม่แน่นพอ ตอนนี้ก็ถึงเวลาวางตารางการอ่านหนังสือ ระยะเวลาและความหนักเบาของการอ่านหนังสือนั้นไม่สามารถจะกำหนดได้ชัดเจน ขึ้นอยู่กับความสามารถในการเรียนรู้จดจำ และที่ขาดไม่ได้คือต้องประเมินว่าคณะที่เราเลือกมีคู่แข่ง และคะแนนต่ำสุดมากน้อยแค่ไหน การจัดตารางการอ่านหนังสือควรจะวางแผนอ่านหนังสือให้เสร็จ 1 เดือนก่อนวันสอบ เพราะว่า 1 เดือนไม่ควรจะมาทบทวนเนื้อหาแล้ว ควรจะฝึกทำโจทย์จับเวลาและเน้นพัฒนาด้านเทคนิคเท่านั้น
ทบทวนเนื้อหารการเรียนได้ที่รายการสอนศาสตร์

ตะลุยข้อสอบ : 1 เดือนก่อนวันสอบจริง ให้เริ่มทำข้อสอบเสมือนจริงและจับเวลาเสมือนจริง อาทิตย์ละ 1 ครั้ง ส่วนวันอื่นๆก็ให้จัดตารางทำข้อสอบเป็นรายวิชาแยกไปแต่ละวัน ทุกๆอาทิตย์ก็ทำการประเมินว่ายังมีตรงไหนที่ไม่กระจ่าง ไม่เคลียร์ ทำการทบทวนและปรึกษาผู้รู้ หรือเพื่อนที่ถนัดวิชานั้นๆ มาช่วยก็ได้

ทำใจให้พร้อม : ฝึกสมองมามากแล้ว อย่าลืมฝึกจิตใจ หาเวลานั่งสมาธิเพื่อลดความประหม่า ยิ่งใกล้วันสอบ ยิ่งคณะที่เราเลือกมีการแข่งขันสูง ความประหม่าก็ยิ่งมา ความประหม่าและความเครียดอาจจะทำให้วันสำคัญของเราล้มเหลวได้ ดังนั้นขอให้เชื่อในความรู้และความสามารถของตัวเอง คิดซะว่าผลมันคือเรื่องรอง ความพยายามและความตั้งใจจริงคือสิ่งสำคัญที่สุดในการสอบ

เตรียมเอกสารและอุปกรณ์การสอบให้ครบ 1 วันก่อนวันสอบ : เตรียมเอกสาร เหลาดินสอ ปากกา ยางลบ และบัตรประจำตัวต่างๆไว้ในซองใสเตรียมให้ครบก่อนหน้าวันที่จะสอบ อย่าเตรียมของตอนเช้าของวันสอบ ความตื่นเต้น และความลนอาจจะทำให้เราเผลอลืมหยิบสิ่งสำคัญเหล่านี้ได้
สอนศาสตร์ , Admission
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ค้นหาตัวเองและคณะที่ตัวเองชอบ: การจะทำอะไรให้มันสำเร็จได้มันต้องมีเป้าหมายที่ชัดเจนคนส่วนใหญ่มักคิดว่าเป้าหมายของการสอบชมก็คือทำคะแนนแก ทพ้อยท์/PAT และ O-NET ให้มันดีแต่จริงๆ แล้วการวางเป้าหมายแค่นั้นมักไม่เพียงพอเพราะเวลาเราเหนื่อยเราท้อกับการอ่านหนังสือเราจะเลิกความคิดที่จะทำคะแนนสูงๆ อีกต่อไปและสาเหตุที่เป็นแบบนี้เพราะเราไม่มีหลักจริงๆเคล็ดลับ: เทคนิคในการค้นหาตัวเองและคณะที่ตัวเองชื่นชอบ1) พิจารณาจากบุคลิกภาพและลักษณะนิสัยส่วนตัว2) พิจารณาจากความสามารถทางด้านวิชาการ3) หาข้อมูลจากรุ่นพี่ๆประกอบการตัดสินใจ รวบรวมข้อมูล: หลังจากรวบรวมข้อมูลแล้วตัดสินใจได้ว่าอยากเรียนคณะอะไรหรืออยากทำอาชีพอะไรแล้วคราวนี้เราก็มาหาที่เรียนกันโดยการรวบรวมข้อมูลของคณะที่เราอยากจะเข้าพิจารณาคณะที่เราต้องการในหลายๆ มหาวิทยาลัยศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับวิธีการสมัครว่ามีวิธีการรับทางใดได้บ้างเพราะในบางคณะจะมีวิธีการรับเข้าหลายวิธีด้วยกันเช่นการรับตรง (โควต้า) หรือการใช้คะแนนแก ทพ้อยท์/PAT รอบแรกนอกจากนั้นบางคณะยังมีภาคภาษาอังกฤษอีกด้วยเราจึงควรรวบรวมข้อมูลโดยอ้างอิงจากข้อมูลปีที่แล้วว่าจะมีการเปิดให้สมัครและมีการสอบในช่วงใดของปีวิชาที่ใช้สอบและเนื้อหาข้อสอบเมื่อได้ข้อมูลทั้งหมดแล้วให้เขียนไว้ในปฏิทินว่าช่วงไหนน่าจะมีอะไรเปิดบ้างจากนั้นก็คอยติดตามข่าวจากเว็บไซต์คณะหรือมหาวิทยาลัยค้นหาข้อมูลสถาบันต่างๆ ทดสอบตัวเอง: เมื่อรู้ข้อมูลวิชาที่ต้องการจะสอบแล้วให้ลองทำการจำลองการสอบด้วยตัวเองจับเวลาให้เหมือนข้อสอบจริงและสอบให้ครบทุกวิชาย้ำว่าต้องจับเวลาแบบจริงจังจากนั้นก็ตรวจข้อสอบแล้วดูคะแนนที่ทำได้เทียบกับคะแนนต่ำสุดของคณะนั้นๆที่เราต้องการแน่นอนว่าคะแนนของเราก็มักจะต่ำกว่าคะแนนต่ำสุดเพราะอาจจะมีอีกหลายบทที่ยังไม่ได้เรียนหรือยังไม่ได้ทบทวนคะแนนย่อมน้อยกว่าที่ควรจะเป็นแต่สิ่งที่เราต้องการคือการประเมินว่าเราห่างจากเป้าหมายของเรามากแค่ไหนแล้วอะไรหรือวิชาใดที่เป็นอุปสรรคต่อการเข้าคณะนั้น จัดตารางการอ่านหนังสือ: เมื่อรู้แล้วว่าอะไรคือจุดอ่อนของเราวิชาใดหรือบทใดที่จำเป็นต่อการสอบแต่เรายังมีความรู้ไม่แน่นพอตอนนี้ก็ถึงเวลาวางตารางการอ่านหนังสือระยะเวลาและความหนักเบาของการอ่านหนังสือนั้นไม่สามารถจะกำหนดได้ชัดเจนขึ้นอยู่กับความสามารถในการเรียนรู้จดจำและที่ขาดไม่ได้คือต้องประเมินว่าคณะที่เราเลือกมีคู่แข่งและคะแนนต่ำสุดมากน้อยแค่ไหนการจัดตารางการอ่านหนังสือควรจะวางแผนอ่านหนังสือให้เสร็จ 1 เดือนก่อนวันสอบเพราะว่า 1 เดือนไม่ควรจะมาทบทวนเนื้อหาแล้วควรจะฝึกทำโจทย์จับเวลาและเน้นพัฒนาด้านเทคนิคเท่านั้นทบทวนเนื้อหารการเรียนได้ที่รายการสอนศาสตร์ตะลุยข้อสอบ: 1 เดือนก่อนวันสอบจริงให้เริ่มทำข้อสอบเสมือนจริงและจับเวลาเสมือนจริงอาทิตย์ละ 1 ครั้งส่วนวันอื่นๆก็ให้จัดตารางทำข้อสอบเป็นรายวิชาแยกไปแต่ละวันทุกๆอาทิตย์ก็ทำการประเมินว่ายังมีตรงไหนที่ไม่กระจ่างไม่เคลียร์ทำการทบทวนและปรึกษาผู้รู้หรือเพื่อนที่ถนัดวิชานั้น ๆ มาช่วยก็ได้ ทำใจให้พร้อม: ฝึกสมองมามากแล้วอย่าลืมฝึกจิตใจหาเวลานั่งสมาธิเพื่อลดความประหม่ายิ่งใกล้วันสอบยิ่งคณะที่เราเลือกมีการแข่งขันสูงความประหม่าก็ยิ่งมาความประหม่าและความเครียดอาจจะทำให้วันสำคัญของเราล้มเหลวได้ดังนั้นขอให้เชื่อในความรู้และความสามารถของตัวเองคิดซะว่าผลมันคือเรื่องรองความพยายามและความตั้งใจจริงคือสิ่งสำคัญที่สุดในการสอบ วันก่อนวันสอบเตรียมเอกสารและอุปกรณ์การสอบให้ครบ 1: เตรียมเอกสารเหลาดินสอปากกายางลบและบัตรประจำตัวต่างๆไว้ในซองใสเตรียมให้ครบก่อนหน้าวันที่จะสอบอย่าเตรียมของตอนเช้าของวันสอบความตื่นเต้นและความลนอาจจะทำให้เราเผลอลืมหยิบสิ่งสำคัญเหล่านี้ได้สอนศาสตร์ ค่าเข้าชม
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ค้นหาตัวเองและคณะที่ตัวเองชอบ: ค่าเข้าชมก็คือทำคะแนน GAT / PAT และ O-NET ให้มันดี แต่จริง ๆ เราจะเลิกความคิดที่จะทำคะแนนสูง ๆ อีกต่อไป ๆ
เคล็ดลับ: เทคนิคในการค้นหาตัวเองและคณะที่ตัวเองชื่นชอบ
1) : หรืออยากทำอาชีพอะไรแล้ว พิจารณาคณะที่เราต้องการในหลาย ๆ มหาวิทยาลัย เช่นการรับตรง (โควต้า) หรือการใช้คะแนน GAT / PAT รอบแรก และมีการสอบในช่วงใดของปีวิชาที่ใช้สอบและเนื้อหาข้อสอบ บ้างจากนั้นก็คอยติดตามข่าวจากเว็บไซต์ ๆทดสอบตัวเอง: ให้ลองทำการจำลองการสอบด้วยตัวเองจับเวลาให้เหมือนข้อสอบจริงและสอบให้ครบทุกวิชาย้ำว่าต้องจับเวลาแบบจริงจังจากนั้นก็ตรวจข้อสอบแล้วดูคะแนนที่ทำได้ หรือยังไม่ได้ทบทวนคะแนนย่อมน้อยกว่าที่ควรจะเป็น : วิชาใดหรือบทใดที่จำเป็นต่อการสอบ แต่เรายังมีความรู้ไม่แน่นพอ และคะแนนต่ำสุดมากน้อยแค่ไหน 1 เดือนก่อนวันสอบเพราะว่า 1 เดือนไม่ควรจะมาทบทวนเนื้อหาแล้ว 1 เดือนก่อนวันสอบจริง อาทิตย์ละ 1 ครั้ง ไม่เคลียร์ทำการทบทวนและปรึกษาผู้รู้หรือเพื่อนที่ถนัดวิชานั้น ๆ มาช่วยก็ได้ทำใจให้พร้อม: ฝึกสมองมามากแล้วอย่าลืมฝึกจิตใจหาเวลานั่งสมาธิเพื่อลดความประหม่ายิ่งใกล้วันสอบยิ่งคณะที่เราเลือกมีการ แข่งขันสูงความประหม่าก็ยิ่งมา คิดซะว่าผลมันคือเรื่องรอง 1 วันก่อนวันสอบ: เตรียมเอกสารเหลาดินสอปากกายางลบ อย่าเตรียมของตอนเช้าของวันสอบความตื่นเต้น , ค่าเข้าชม















การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ค้นหาตัวเองและคณะที่ตัวเองชอบ :การจะทำอะไรให้มันสำเร็จได้มันต้องมีเป้าหมายที่ชัดเจนคนส่วนใหญ่มักคิดว่าเป้าหมายของการสอบเข้าก็คือทำคะแนนและโอเน็ต GAT / PAT ให้มันดีแต่จริงจะแล้วการวางเป้าหมายแค่นั้นมักไม่เพียงพอเราจะเลิกความคิดที่จะทำคะแนนสูงจะไม่มี
อีกต่อไปและสาเหตุที่เป็นแบบนี้เพราะเราไม่มีหลักจริงเคล็ดลับ : เทคนิคในการค้นหาตัวเองและคณะที่ตัวเองชื่นชอบ
1 ) พิจารณาจากบุคลิกภาพและลักษณะนิสัยส่วนตัว
2 ) พิจารณาจากความสามารถทางด้านวิชาการ
3
) หาข้อมูลจากรุ่นพี่ๆประกอบการตัดสินใจรวบรวมข้อมูล :หลังจากรวบรวมข้อมูลแล้วตัดสินใจได้ว่าอยากเรียนคณะอะไรหรืออยากทำอาชีพอะไรแล้วคราวนี้เราก็มาหาที่เรียนกันโดยการรวบรวมข้อมูลของคณะที่เราอยากจะเข้าพิจารณาคณะที่เราต้องการในหลายจะมหาวิทยาลัยเพราะในบางคณะจะมีวิธีการรับเข้าหลายวิธีด้วยกันเช่นการรับตรง ( โควต้า ) ค็อคการใช้คะแนน GAT / PAT รอบแรกนอกจากนั้นบางคณะยังมีภาคภาษาอังกฤษอีกด้วยและมีการสอบในช่วงใดของปีวิชาที่ใช้สอบและเนื้อหาข้อสอบเมื่อได้ข้อมูลทั้งหมดแล้วให้เขียนไว้ในปฏิทินว่าช่วงไหนน่าจะมีอะไรเปิดบ้างจากนั้นก็คอยติดตามข่าวจากคณะหรือมหาวิทยาลัย
เว็บไซต์ค้นหาข้อมูลสถาบันต่างไม่มี

ทดสอบตัวเอง :เมื่อรู้ข้อมูลวิชาที่ต้องการจะสอบแล้วให้ลองทำการจำลองการสอบด้วยตัวเองจับเวลาให้เหมือนข้อสอบจริงและสอบให้ครบทุกวิชาย้ำว่าต้องจับเวลาแบบจริงจังจากนั้นก็ตรวจข้อสอบแล้วดูคะแนนที่ทำได้แน่นอนว่าคะแนนของเราก็มักจะต่ำกว่าคะแนนต่ำสุดเพราะอาจจะมีอีกหลายบทที่ยังไม่ได้เรียนหรือยังไม่ได้ทบทวนคะแนนย่อมน้อยกว่าที่ควรจะเป็นแล้วอะไรหรือวิชาใดที่เป็นอุปสรรคต่อการเข้าคณะนั้น

จัดตารางการอ่านหนังสือ :เมื่อรู้แล้วว่าอะไรคือจุดอ่อนของเราวิชาใดหรือบทใดที่จำเป็นต่อการสอบแต่เรายังมีความรู้ไม่แน่นพอตอนนี้ก็ถึงเวลาวางตารางการอ่านหนังสือขึ้นอยู่กับความสามารถในการเรียนรู้จดจำและที่ขาดไม่ได้คือต้องประเมินว่าคณะที่เราเลือกมีคู่แข่งและคะแนนต่ำสุดมากน้อยแค่ไหนการจัดตารางการอ่านหนังสือควรจะวางแผนอ่านหนังสือให้เสร็จ 1 เดือนก่อนวันสอบ1 เดือนไม่ควรจะมาทบทวนเนื้อหาแล้วควรจะฝึกทำโจทย์จับเวลาและเน้นพัฒนาด้านเทคนิคเท่านั้น
ทบทวนเนื้อหารการเรียนได้ที่รายการสอนศาสตร์

ตะลุยข้อสอบ :1 เดือนก่อนวันสอบจริงให้เริ่มทำข้อสอบเสมือนจริงและจับเวลาเสมือนจริงอาทิตย์ละ 1 ครั้งส่วนวันอื่นๆก็ให้จัดตารางทำข้อสอบเป็นรายวิชาแยกไปแต่ละวันทุกๆอาทิตย์ก็ทำการประเมินว่ายังมีตรงไหนที่ไม่กระจ่างทำการทบทวนและปรึกษาผู้รู้หรือเพื่อนที่ถนัดวิชานั้นๆมาช่วยก็ได้

ทำใจให้พร้อม :ฝึกสมองมามากแล้วอย่าลืมฝึกจิตใจหาเวลานั่งสมาธิเพื่อลดความประหม่ายิ่งใกล้วันสอบยิ่งคณะที่เราเลือกมีการแข่งขันสูงความประหม่าก็ยิ่งมาความประหม่าและความเครียดอาจจะทำให้วันสำคัญของเราล้มเหลวได้คิดซะว่าผลมันคือเรื่องรองความพยายามและความตั้งใจจริงคือสิ่งสำคัญที่สุดในการสอบ

เตรียมเอกสารและอุปกรณ์การสอบให้ครบ 1 วันก่อนวันสอบ :เตรียมเอกสารเหลาดินสอปากกายางลบและบัตรประจำตัวต่างๆไว้ในซองใสเตรียมให้ครบก่อนหน้าวันที่จะสอบอย่าเตรียมของตอนเช้าของวันสอบความตื่นเต้นและความลนอาจจะทำให้เราเผลอลืมหยิบสิ่งสำคัญเหล่านี้ได้
สอนศาสตร์เข้า ,
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: