ยังไม่มีการบันทึกที่ชัดเจนว่าประเทศหรือชนชาติใดเป็นต้นตำรับของแฮมเบอร์ การแปล - ยังไม่มีการบันทึกที่ชัดเจนว่าประเทศหรือชนชาติใดเป็นต้นตำรับของแฮมเบอร์ ไทย วิธีการพูด

ยังไม่มีการบันทึกที่ชัดเจนว่าประเทศ

ยังไม่มีการบันทึกที่ชัดเจนว่าประเทศหรือชนชาติใดเป็นต้นตำรับของแฮมเบอร์เกอร์ แต่คำที่ใช้เรียกขนมปัง 2 ชิ้นที่มีเนื้ออยู่ตรงกลางว่าแฮมเบอร์เกอร์นั้น เริ่มต้นขึ้นที่เมืองฮัมบูร์ก(Hamburg) ประเทศเยอรมนี ขณะที่เมนูกินด่วนแบบนี้ยังไปฮิตติดอันดับที่สหรัฐ แทน ส่วนคนในฮัมบูรก์เองนั้น กลับนิยมทานแซนด์วิชมากกว่า

อย่างไรก็ตามยังไม่มีหลักฐานที่แน่ชัดว่าใครเป็นผู้ที่แนะนำให้ชาวฮัมบูร์กรู้จักกับการปรุงอาหารชนิดนี้ โดยมีผู้กล่าวถึงที่มาเอาไว้ 2 ทฤษฎีด้วยกัน โดยทฤษฎีแรกมีการกล่าวเอาไว้ว่า ในช่วงยุคกลาง เมืองฮัมบูร์กเป็นเมืองศูนย์กลางทางการค้าที่สำคัญระหว่างโลกอาหรับและยุโรป ทำให้พ่อค้าอาหรับเข้ามาติดต่อกับชาวบ้าน และได้แนะนำอาหารที่ชื่อกะบาบ ซึ่งเป็นเนื้อลูกแกะบดผสมเครื่องเทศ ที่มักจะกินกันดิบๆ ให้กับชาวบ้าน

หลังจากนั้นชาวเมืองฮัมบูร์กได้ดัดแปลงเปลี่ยนจากเนื้อลูกแกะไปเป็นเนื้อหมูหรือว่าเนื้อวัวแทน พร้อมกับปรุงรสขึ้นใหม่ จนกลายเป็น “ฮัมบูร์กสเต็ก” และสุดท้ายก็พัฒนากลายมาเป็น “แฮมเบอร์เกอร์” ในเวลาต่อมา

ส่วนอีกทฤษฎีนั้นกล่าวไว้ว่า ในช่วงที่กองทัพมองโกลของเจงกีสข่านยกทัพบุกรัสเซียนั้น เหล่าทหารจะกินเนื้อลูกแกะดิบที่ปั้นเป็นก้อนกลม ซึ่งเหล่าทหารมีวิธีการทำให้เนื้อนิ่มด้วยการวางไว้ใต้อานม้า

จากนั้นชาวรัสเซียก็รับเอาอาหารชนิดนี้ไป และเรียกว่า “ทาร์ทาร์สเต็ก” เนื่องจากชาวรัสเซียเรียกชาวมองโกลว่า “ทาร์ทาร์” และในช่วงศตวรรษที่ 17 รัสเซียเริ่มที่จะค้าขายติดต่อกับเมืองฮัมบูร์กและก็ได้นำอาหารชนิดนี้ไปเผยแพร่ด้วย โดยชาวเยอรมันได้เปลี่ยนไปใช้เนื้อวัวไปปรุงรสด้วยเครื่องเทศในท้องถิ่นจนกลายเป็น “ฮัมบูร์กสเต็ก” และอาจจะนำไปรมควันหรือว่าหมักเกลือ เพื่อที่จะสามารถเก็บได้นานระหว่างที่กำลังเดินทาง

จากนั้น ทหารเรือชาวเยอรมันและผู้อพยพก็ได้นำเมนูนี้ติดตัวไปยังสหรัฐฯด้วยในช่วง 1800s และในช่วงทศวรรษที่ 1820 หรือ 1830 นี่เองที่มีการนำชื่อ “แฮมเบอร์เกอร์สเต็ก” ไปปรากฏอยู่บนรายการอาหารของร้านอาหารที่ชื่อเดลโมนิโก ซึ่งตั้งอยู่ในนครนิวยอร์ก ก่อนจะได้รับความนิยมแพร่หลาย ไปอย่างรวดเร็ว

ช่วงต้นยุค 1900s ร้านอาหารในสหรัฐฯมากมายหลายร้านได้เริ่มนำแฮมเบอร์เกอร์สเต็กมาใส่ระหว่างขนมปัง 2 ชิ้น หรือว่าใส่ข้างในขนมปัง และเมื่อแฮมเบอร์เกอร์สเต็กถูกนำมาใส่ไว้ข้างในขนมปัง จึงถูกเรียกว่า “แฮมเบอร์เกอร์แซนด์วิช” และผู้ที่คิดค้นขนมปังก้อนสำหรับแฮมเบอร์เกอร์ขึ้นมาก็คือพ่อครัวที่ชื่อ เจ วอลเตอร์ แอนเดอร์สัน ในปี 1916 ก่อนที่เขาค้นนี้จะไปเปิดร้านอาหารที่ชื่อ ไวท์คาสเซิลในปี 1921

สำหรับชีสแฮมเบอร์เกอร์ หรือที่เรียกสั้นๆว่าชีสเบอร์เกอร์นั้น ว่ากันว่าผู้ที่เริ่มคิดค้นลงมือทำเป็นคนแรกก็คือเชฟที่ชื่อ ไลโอเนล สไตน์เบอร์เกอร์ จากร้านอาหารที่ชื่อ ไรท์สปอต ในเมืองพาซาดีนา มลรัฐแคลิฟอร์เนีย ส่วนผู้ที่ทำให้ชื่อเสียงของฟาสต์ฟูดส์อย่างแฮมเบอร์เกอร์ได้รับความนิยมเพิ่มมากขึ้นในยุคปัจจุบันก็คือ เรย์ ครอก ซึ่งเริ่มเปิดตัวร้านแมคโดนัลด์สาขาแรกช่วงกลางทศวรรษที่ 1950
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ยังไม่มีการบันทึกที่ชัดเจนว่าประเทศหรือชนชาติใดเป็นต้นตำรับของแฮมเบอร์เกอร์แต่คำที่ใช้เรียกขนมปัง 2 ชิ้นที่มีเนื้ออยู่ตรงกลางว่าแฮมเบอร์เกอร์นั้น เริ่มต้นขึ้นที่เมืองฮัมบูร์ก(Hamburg) ประเทศเยอรมนีขณะที่เมนูกินด่วนแบบนี้ยังไปฮิตติดอันดับที่สหรัฐแทนส่วนคนในฮัมบูรก์เองนั้นกลับนิยมทานแซนด์วิชมากกว่า อย่างไรก็ตามยังไม่มีหลักฐานที่แน่ชัดว่าใครเป็นผู้ที่แนะนำให้ชาวฮัมบูร์กรู้จักกับการปรุงอาหารชนิดนี้โดยมีผู้กล่าวถึงที่มาเอาไว้ 2 ทฤษฎีด้วยกันโดยทฤษฎีแรกมีการกล่าวเอาไว้ว่าในช่วงยุคกลางเมืองฮัมบูร์กเป็นเมืองศูนย์กลางทางการค้าที่สำคัญระหว่างโลกอาหรับและยุโรปทำให้พ่อค้าอาหรับเข้ามาติดต่อกับชาวบ้านและได้แนะนำอาหารที่ชื่อกะบาบซึ่งเป็นเนื้อลูกแกะบดผสมเครื่องเทศที่มักจะกินกันดิบ ๆ ให้กับชาวบ้าน หลังจากนั้นชาวเมืองฮัมบูร์กได้ดัดแปลงเปลี่ยนจากเนื้อลูกแกะไปเป็นเนื้อหมูหรือว่าเนื้อวัวแทนพร้อมกับปรุงรสขึ้นใหม่จนกลายเป็น "ฮัมบูร์กสเต็ก" และสุดท้ายก็พัฒนากลายมาเป็น "แฮมเบอร์เกอร์" ในเวลาต่อมา ส่วนอีกทฤษฎีนั้นกล่าวไว้ว่าในช่วงที่กองทัพมองโกลของเจงกีสข่านยกทัพบุกรัสเซียนั้นเหล่าทหารจะกินเนื้อลูกแกะดิบที่ปั้นเป็นก้อนกลมซึ่งเหล่าทหารมีวิธีการทำให้เนื้อนิ่มด้วยการวางไว้ใต้อานม้า จากนั้นชาวรัสเซียก็รับเอาอาหารชนิดนี้ไปและเรียกว่า "ทาร์ทาร์สเต็ก" เนื่องจากชาวรัสเซียเรียกชาวมองโกลว่า "ทาร์ทาร์" และในช่วงศตวรรษที่ 17 รัสเซียเริ่มที่จะค้าขายติดต่อกับเมืองฮัมบูร์กและก็ได้นำอาหารชนิดนี้ไปเผยแพร่ด้วยโดยชาวเยอรมันได้เปลี่ยนไปใช้เนื้อวัวไปปรุงรสด้วยเครื่องเทศในท้องถิ่นจนกลายเป็น "ฮัมบูร์กสเต็ก" และอาจจะนำไปรมควันหรือว่าหมักเกลือเพื่อที่จะสามารถเก็บได้นานระหว่างที่กำลังเดินทาง จากนั้นทหารเรือชาวเยอรมันและผู้อพยพก็ได้นำเมนูนี้ติดตัวไปยังสหรัฐฯด้วยในช่วงศตวรรษที่ 19 และในช่วงทศวรรษที่ 1820 หรือ 1830 นี่เองที่มีการนำชื่อ "แฮมเบอร์เกอร์สเต็ก" ไปปรากฏอยู่บนรายการอาหารของร้านอาหารที่ชื่อเดลโมนิโกซึ่งตั้งอยู่ในนครนิวยอร์กก่อนจะได้รับความนิยมแพร่หลายไปอย่างรวดเร็ว ช่วงต้นยุคศตวรรษที่ 19 ร้านอาหารในสหรัฐฯมากมายหลายร้านได้เริ่มนำแฮมเบอร์เกอร์สเต็กมาใส่ระหว่างขนมปัง 2 ชิ้นหรือว่าใส่ข้างในขนมปังและเมื่อแฮมเบอร์เกอร์สเต็กถูกนำมาใส่ไว้ข้างในขนมปังจึงถูกเรียกว่า "แฮมเบอร์เกอร์แซนด์วิช" และผู้ที่คิดค้นขนมปังก้อนสำหรับแฮมเบอร์เกอร์ขึ้นมาก็คือพ่อครัวที่ชื่อเจวอลเตอร์แอนเดอร์สันในปี 1916 ก่อนที่เขาค้นนี้จะไปเปิดร้านอาหารที่ชื่อไวท์คาสเซิลในปี 1921 สำหรับชีสแฮมเบอร์เกอร์หรือที่เรียกสั้นๆว่าชีสเบอร์เกอร์นั้นว่ากันว่าผู้ที่เริ่มคิดค้นลงมือทำเป็นคนแรกก็คือเชฟที่ชื่อไลโอเนลสไตน์เบอร์เกอร์จากร้านอาหารที่ชื่อไรท์สปอตในเมืองพาซาดีนามลรัฐแคลิฟอร์เนียส่วนผู้ที่ทำให้ชื่อเสียงของฟาสต์ฟูดส์อย่างแฮมเบอร์เกอร์ได้รับความนิยมเพิ่มมากขึ้นในยุคปัจจุบันก็คือเรย์ครอกซึ่งเริ่มเปิดตัวร้านแมคโดนัลด์สาขาแรกช่วงกลางทศวรรษที่ 1950
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ยังไม่มีการบันทึกที่ชัดเจนว่าประเทศ หรือชนชาติใดเป็นต้นตำรับของแฮมเบอร์เกอร์ แต่คำที่ใช้เรียกขนมปัง 2 ชิ้นที่มีเนื้ออยู่ตรงกลางว่า แฮมเบอร์เกอร์นั้นเริ่มต้นขึ้นที่เมืองฮัมบูร์ก (Hamburg) ประเทศเยอรมนีขณะที่เมนูกิน ด่วนแบบนี้ยังไปฮิตติดอันดับที่สหรัฐแทนส่วนของคุณคนในห้างหุ้นส่วนจำกัดฮัมบูรก์เองนั้นกลับนิยมทานแซนด์วิชมากกว่า

อย่างไรก็ตามยังไม่มีหลักฐานที่แน่ชัดว่าได้ใครเป็นคุณผู้ที่แนะนำให้ชาวฮัมบูร์กรู้จักกับหัวเรื่อง: การปรุงอาหารชนิดนี้โดยมี ผู้กล่าวถึงที่มาเอาไว้ 2 ทฤษฎีด้วยกันโดยทฤษฎีแรกมีการ กล่าวเอาไว้ว่าในช่วงยุคกลางเมืองฮัมบูร์กเป็นเมืองศูนย์กลางทางการค้าที่สำคัญระหว่างโลกอาหรับและยุโรปทำให้พ่อค้าอาหรับเข้ามาติดต่อกับชาวบ้าน และได้แนะนำอาหารที่ชื่อกะบาบซึ่งเป็นเนื้อที่คุณลูกแกะบดผสมเครื่องเทศที่มักจะกินกันดิบๆให้กับชาวร้านบ้าน

หลังจากนั้นชาวเมืองฮัมบูร์กได้ดัดแปลงเปลี่ยนจากเนชั่เนื้อที่คุณลูกแกะไปเป็นเนื้อคุณหมูหรือว่าได้เนื้อวัวแทน พร้อมกับปรุงรสขึ้นใหม่จนกลาย เป็น"ฮัมบูร์กสเต็ก" และสุดท้ายก็พัฒนากลายมาเป็น "แฮมเบอร์เกอร์" ในห้างหุ้นส่วนจำกัดเวลาต่อมา

ส่วนอีกทฤษฎีนั้นกล่าวไว้ว่าได้ในห้างหุ้นส่วนจำกัดช่วงที่กองทัพมองโกลของเจงกีสข่านยกทัพบุกรัสเซียนั้นเหล่าคุณทหารจะกินเนื้อที่คุณลูก แกะดิบที่คุณปั้นเป็นก้อนกลมซึ่งเหล่าคุณทหารมีวิธีหัวเรื่อง: การทำให้เนื้อนิ่มด้วยหัวเรื่อง: การวางไว้ใต้อานม้า

จากเนชั่นั้นชาวรัสเซียก็รับเอาอาหารชนิดนี้ไปและเรียกว่าได้ "ทาร์ทาร์สเต็ก" เนื่องจากชาวรัสเซียเรียกชาวมองโกลว่า "ทาร์ทาร์" และในช่วงศตวรรษที่ 17 รัสเซียเริ่มที่จะค้าขายติดต่อกับเมือง ฮัมบูร์กและก็ได้นำอาหารชนิดนี้ไปเผยแพร่ด้วยโดยชาวเยอรมันได้เปลี่ยนไปใช้เนื้อวัวไปปรุงรสด้วยเครื่องเทศในท้องถิ่นจน กลายเป็น "ฮัมบูร์กสเต็ก" และอาจจะนำไปรมคการธนาคารวันหรือว่าได้หมักเกลือเพื่อที่จะด้านเก็บได้นานระหว่างที่กำลังเดินทาง

จากเนชั่นั้นคุณทหารเรือชาวเยอรมันและคุณผู้อพยพก็ได้นำเมนูนี้ติดตัวไปยังสหรัฐฯด้วย ในช่วงปี 1800 และในช่วงทศวรรษที่ 1820 หรือ 1830 นี่เองที่มีการนำชื่อ "แฮมเบอร์เกอร์สเต็ก"ไปปรากฏขณะนี้บนรายการอาหารของร้านอาหารที่ชื่อเดลคุณโมคุณนิโกซึ่งตั้งขณะนี้ในห้างหุ้นส่วนจำกัดนครนิวยอร์กก่อนจะได้รับความสามารถนิยมแพร่หลายไปอย่างรวดเร็ว

ช่วงคุณต้นยุค 1900 ร้านอาหารในสหรัฐฯมากมายหลายร้านได้ เริ่มนำแฮมเบอร์เกอร์สเต็กมาใส่ ระหว่างขนมปัง 2 ชิ้นหรือว่าใส่ข้างในขนมปังและ เมื่อแฮมเบอร์เกอร์สเต็กถูกนำมาใส่ไว้ข้างในขนมปังจึงถูกเรียกว่า "แฮมเบอร์เกอร์แซนด์วิช" และผู้ที่คิดค้นขนมปังก้อนสำหรับแฮมเบอร์เกอร์ ขึ้นมาก็คือพ่อครัวที่ชื่อเจวอลเตอร์แอ นเดอร์สันในปี 1916 ก่อนที่เขาค้นนี้จะไปเปิด ร้านอาหารที่ชื่อไวท์คาสเซิลในปี 1921

สำหรับชีสแฮมเบอร์เกอร์หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่าชีสเบอร์เกอร์นั้นว่ากันว่าผู้ที่เริ่มคิดค้นลงมือทำเป็นคน แรกก็คือเชฟที่ชื่อไลโอ เนลสไตน์เบอร์เกอร์จากร้านอาหารที่ชื่อไรท์สปอตในเมืองพาซาดีนามลรัฐแคลิฟอร์เนียส่วนผู้ที่ทำให้ชื่อเสียงของฟาสต์ฟูดส์อย่างแฮมเบอร์เกอร์ได้รับความนิยม เพิ่มมากขึ้นในยุคปัจจุบันก็คือ เรย์ครอกซึ่งเริ่มเปิดตัวร้านแมคโดนัลด์สาขาแรกช่วงกลางทศวรรษที่ 1950
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ยังไม่มีการบันทึกที่ชัดเจนว่าประเทศหรือชนชาติใดเป็นต้นตำรับของแฮมเบอร์เกอร์แต่คำที่ใช้เรียกขนมปัง 2 ชิ้นที่มีเนื้ออยู่ตรงกลางว่าแฮมเบอร์เกอร์นั้นเริ่มต้นขึ้นที่เมืองฮัมบูร์ก ( ฮัมบูร์ก ) ประเทศเยอรมนีขณะที่เมนูกินด่วนแบบนี้ยังไปฮิตติดอันดับที่สหรัฐแทนส่วนคนในฮ ัมบูรก์เองนั้นกลับนิยมทานแซนด์วิชมากกว่าอย่างไรก็ตามยังไม่มีหลักฐานที่แน่ชัดว่าใครเป็นผู้ที่แนะนำให้ชาวฮัมบูร์กรู้จักกับการปรุงอาหารชนิดนี้โดยมีผู้กล่าวถึงที่มาเอาไว้ 2 ทฤษฎีด้วยกันโดยทฤษฎีแรกมีการกล่าวเอาไว้ว่าในช่วงยุคกลางเมืองฮัมบูร์กเป็นเมืองศูนย์กลางทางการค้าที่สำคัญระหว่างโลกอาหรับแล ะยุโรปทำให้พ่อค้าอาหรับเข้ามาติดต่อกับชาวบ้านและได้แนะนำอาหารที่ชื่อกะบาบซึ่งเป็นเนื้อลูกแกะบดผสมเครื่องเทศที่มักจะกินกันดิบๆให้กับชาวบ้านหลังจากนั้นชาวเมืองฮัมบูร์กได้ดัดแปลงเปลี่ยนจากเนื้อลูกแกะไปเป็นเนื้อหมูหรือว่าเนื้อวัวแทนพร้อมกับปรุงรสขึ้นใหม่จนกลายเป็น " ฮัมบูร์กสเต็ก " และสุดท้ายก็พัฒนากลายมาเป็น " แฮมเบอร์เกอร์ " ในเวลาต่อมาส่วนอีกทฤษฎีนั้นกล่าวไว้ว่าในช่วงที่กองทัพมองโกลของเจงกีสข่านยกทัพบุกรัสเซียนั้นเหล่าทหารจะกินเนื้อลูกแกะดิบที่ปั้นเป็นก้อนกลมซึ่งเหล่าทหารมีวิธีการทำให้เนื้อนิ่มด้วยการวางไว้ใต้อานม้าจากนั้นชาวรัสเซียก็รับเอาอาหารชนิดนี้ไปและเรียกว่า " ทาร์ทาร์สเต็ก " เนื่องจากชาวรัสเซียเรียกชาวมองโกลว่า " ทาร์ทาร์ " และในช่วงศตวรรษที่ 17 รัสเซียเริ่มที่จะค้าขายติดต่อกับเมืองฮัมบูร์กและก็ได้นำอาหารชนิดนี้ไปเผยแพร่ด้วยโดยชาวเยอรมันได้เปลี่ยนไปใช้เนื้อวัวไ ปปรุงรสด้วยเครื่องเทศในท้องถิ่นจนกลายเป็น " ฮัมบูร์กสเต็ก " และอาจจะนำไปรมควันหรือว่าหมักเกลือเพื่อที่จะสามารถเก็บได้นานระหว่างที่กำลังเดินทางจากนั้นทหารเรือชาวเยอรมันและผู้อพยพก็ได้นำเมนูนี้ติดตัวไปยังสหรัฐฯด้วยในช่วง 1820 1830 1800 และในช่วงทศวรรษที่ค็อคนี่เองที่มีการนำชื่อ " แฮมเบอร์เกอร์สเต็ก " ไปปรากฏอยู่บนรายการอาหารของร้านอาหารที่ชื่อเดลโมนิโกซึ่งตั้งอยู่ในนครน
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: