ข้อมูลทั่วไป  ชนเผ่ามอแกน ชนเผ่ามอแกน เป็นชาวเลกลุ่มหนึ่ง ที่รู้จักกัน การแปล - ข้อมูลทั่วไป  ชนเผ่ามอแกน ชนเผ่ามอแกน เป็นชาวเลกลุ่มหนึ่ง ที่รู้จักกัน ไทย วิธีการพูด

ข้อมูลทั่วไป ชนเผ่ามอแกน ชนเผ่ามอแ

ข้อมูลทั่วไป



ชนเผ่ามอแกน ชนเผ่ามอแกน เป็นชาวเลกลุ่มหนึ่ง ที่รู้จักกันในนามยิปซีทะเล สืบเชื้อสายมาจากโปโตมาเลซึ่งร่อนเร่อยู่ในทะเลอันดามัน มากว่า 100 ปี อาศัยอยู่ตามหมู่เกาะ และชายฝั่งทะเลตั้งแต่หมู่เกาะมะริดในเมียร์ม่า ลงไปทางใต้และทางตะวันออกในหมู่เกาะของทะเลซูลู ในประเทศฟิลิปินส์ รวมถึงชายฝั่งของประเทศมาเลเซีย และอินโดนีเซียด้วย ในหมู่เกาะมะริดในเมียนมาร์ยังมีประชากรมอแกนอีกนับพัน พม่าเรียกมอแกนว่า ซลัง เซลัง หรือ ซาเลา (Selon) สันนิษฐานว่า คำนี้คงจะมาจากคำว่าฉลางหรือถลาง ซึ่งเป็นชื่อโบราณของภูเก็ต (Junk Selon) ซึ่งเป็นบริเวณที่มีชาวเลมาชุมนุมกันอยู่มากในสมัยก่อนอยู่ในทะเล ซึ่งเป็นตำนานเรื่องเล่าของชาวมอแกน

ชนเผ่ามอแกน เป็นกลุ่มชาติพันธ์ที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ตามเกาะในบริเวณภาคใต้ของไทย มีรูปแบบของวิถีชีวิต ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม ความเชื่อ รวมทั้งค่านิยมที่มีเอกลักษณ์เฉพาะเป็นของตนเอง ใช้ชีวิตเดินทางเคลื่อนย้ายถิ่น ทำมาหากินอยู่ในบริเวณเขตทะเลอันดามัน ชีวิตส่วนใหญ่ของชาวมอแกน อาศัยอยู่บนเรือที่พวกเขาเรียกว่า “กำบาง” หากินกับทะเล งมหอย ตกปลา จับปูและสัตว์ทะเลต่างๆ อาหารหลัก คือเผือกมัน มีวิถีชีวิตที่สอดคล้องกับฤดูกาล จากอิทธิพลของลมมรสุมในฤดูมรสุมตะวันตกเฉียงเหนือ (เดือนพฤษภาคม-เดือนพฤศจิกายน) ซึ่งมีคลื่นลมจัด ชาวมอแกนจะอพยพขึ้นมาสร้างบ้านเรือนตามเกาะ หรือบริเวณชายหาดที่มีอ่าวกำบังคลื่นลมเพื่อหลบลมพายุ

ภาษา

ภาษมอแกน หรือ ภาษามอเก็น ภาษาเมาเก็น ภาษาบาซิง หรือ เซลุง, ซาลอง, ซะโลน และชาวเกาะ เป็นภาษาในตระกูลภาษาออสโตรนีเชียน ภาษามาลาโย-โพโลนีเชียน สาขามาเลย์อิกซึ่งพูดกันทางใต้ของประเทศพม่าลงมา ตั้งแต่เมืองมะริดลงมาทางใต้ พบมากในบริเวณเกาะของพม่าภาคใต้ และคาบสมุทรเมกุย ไปจนถึงจังหวัดระนอง จังหวัดพังงา จังหวัดภูเก็ต จังหวัดกระบี่ ของประเทศไทย ใกล้เคียงกับภาษามอเกลน และมีความสัมพันธ์กับ ภาษาอูรักลาโอ้ย เรียงประโยคแบบประธาน-กริยา-กรรม จากตระกูลภาษาออสโตรนีเชียนที่มอแกนใช้ มอแกนมีภาษาพูดเป็นของตัวเองตั้งแต่บรรพบุรุษแล้ว ไม่มีภาษาเขียนเป็นของตัวเอง ส่วนใหญ่จะใช้ภาษาเขียนเป็นภาษาไทย ภาษายาวี พม่า และมาเลย์ หรือการบันทึกโดยตัวอักษร ดังนั้นประวัติความเป็นมาตำนาน นิทาน ความรู้พื้นบ้านในด้านต่างๆ ของชาวเลจึงมีการบันทึกไว้ในระยะหลังๆ ชาวเลเริ่มชีมชับวัฒนธรรมและภาษาไทยมากขึ้น ส่วนวัฒนธรรมตั้งเดิมก็ถูกละเลยและค่อยๆ สูญหายไป เด็กชาวเลอูรักลาโว้ยรุ่นใหม่ในชุมชนราไวย์ จังหวัดภูเก็ดหันมาใช้ภาษาไทยปักษ์ใต้กันแทบทั้งนั้น แม้แต่การสื่อสารพูดคุยกันในครอบครัว ก็ใช้ภาษาไทยเป็นหลัก

วิถีชีวิต และลักษณะบ้านเรือน

วิถีชีวิต
ชาวมอแกนยังคงหากินกับทะเลเหมือนเช่นบรรพบุรุษ และเนื่องจากชาวมอแกนเป็นคนกลุ่มน้อย เป็นคนไม่มีสัญชาติ และไม่มีเชื้อชาติ ชาวมอแกนไม่มีความรู้ ไม่ได้รับการศึกษาทำให้ทั้งเด็กและผู้ใหญ่ชาวมอแกนยังคงเป็นปัญหาชนกลุ่ม น้อยของประเทศไทย และเพื่อให้ชาวมอแกนมีความรู้ สามารถติดต่อสื่อสารกับคนไทยได้ อย่างถูกต้องและเข้าใจ วิถีชีวิตของชาวมอแกน อาศัยการนับเวลาจะสังเกตจากดวงจันทร์

ลักษณะบ้านเรือน
บ้านเรือนของชาวมอแกน ยังคงอนุรักษ์ความเป็นดั้งเดิมคือมุงด้วยหลังคาจาก พออาศัยอยู่ได้ไม่เดือดร้อน อยู่อย่างพอเพียงด้วยการหาหอย หาปลา นำมาทำเป็นอาหาร เรือ หรือ “ก่าบาง” เป็นสิ่งจำเป็นในชีวิตของมอแกน เป็นทั้งพาหนะ เครื่องมือทำมาหากิน บ้านพักอาศัย และบ่อยครั้งเป็นที่เกิดและที่ตายของมอแกน ก่าบางมีเอกลักษณ์ที่โดดเด่นคือมี “ง่าม” หรือรอยหยักเว้าที่หัวเรือและท้ายเรือ ประโยชน์ใช้สอยของง่ามที่หัวและท้ายเรือก็คือเป็นที่ปีนและก้าวขึ้นลงเรือ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อมอแกนลงทะเลเพื่อว่ายน้ำและดำน้ำ การขึ้นเรือทางข้างเรือที่มีกราบทำด้วยไม้ระกำเป็นไปได้ยากเพราะไม้ระกำที่ เสียบต่อกันด้วยซี่ไม้ไผ่นั้นไม่แข็งแรงพอที่จะรับน้ำหนักคนโหนขึ้น ง่ามมีประโยชน์สำหรับเป็นที่จับยึดเวลาลากเรือขึ้นและลงหาด และนักมานุษยวิทยายังให้ความหมาย ของง่ามเรือในเชิงสัญลักษณ์ซึ่งสะท้อนคุณลักษณะของมนุษย์ คือ มีปากและมีทวาร เรือเป็นเสมือนมนุษย์คนหนึ่ง คำเรียกส่วนต่างๆ ของเรือ ก็มาจากคำเรียกอวัยวะในร่างการของคน เช่น หละแก้ (ท้อง) ตะบิน (แก้ม) ตู่โก๊ะ (คอ) บ่าฮ้อย (ไหล่) ตะบิ้ง (ซี่โครง) เป็นต้น แต่ในปัจจุบันชาวเลก็เริ่มสร้างบ้านเรือนเลียนแบบคนบนฝั่ง เป็นแบบถาวร โดยใช้ไม้จากป่าชายเลน เช่นไม้โกงกาง หลังคามุงจาก กั้นฝาด้วยจากหรือไม้ไผ่ การดำรงชีพของชาวเลหลัก ๆ ยังคงพึ่งพาการ “จับปลา” ทำประมงน้ำตื้น และที่เสริมเข้ามาในยุคหลัง ๆ ก็คือ “รับจ้างนายทุน” งมสิ่งของในทะเล เช่น เปลือกหอยแปลก ๆ หรือรับจ้างทั่วไป ที่เห็นกันอยู่ไม่ใช่เรือไม้ระกำ (ไม้ระกำมีลักษณะเป็นท่อนเล็กเรียวแบบต้นอ้อย) สมัยนี้มอแกนใช้ไม้กระดานทำเรือกันหมดแล้ว เรือไม้ระกำเหลือเพียงไม่กี่ลำในพม่า มอแกนส่วนใหญ่เลิกใช้ไม้ระกำเสริมกราบเรือแล้ว เพราะไม้ระกำมีอายุใช้งานเพียง 3-6 เดือนเท่านั้น มอแกนหันมาใช้ไม้กระดานเนื่องจากมีความคงทน ใช้ได้นานหลายปี ส่วนมากเรือนั้นใช้ได้นานหลายสิบปี และบางทียังสืบทอดมาถึงรุ่นลูกหลานด้วย หลังจากที่มอแกนหันมาใช้ไม้กระดาน ใบเรือก็หมดประโยชน์ใช้สอยไปด้วย เนื่องจากเรือไม้กระดานมีน้ำหนักมาก ต้องขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์ แม้ว่าจะเริ่มซึมซับค่านิยมทางวัตถุมากขึ้นเรื่อยๆ

วัฒนธรรมประเพณี

ในด้านของสังคมการครองเรือน ชายหญิงมอแกนมักจะแต่งงานอยู่กินตั้งแต่อายุยังน้อย ยึดประเพณีผัวเดียวเมียเดียว จะไม่เปลี่ยนคู่ครองนอกจากสามีหรืออภรรยาเสียชีวิตลง หรือมีปัญหาขัดแย้งกันอย่างรุนแรงจึงแยกจากกัน ลูกๆ ถือเป็นสิ่งสำคัญในครอบครัว มอแกนแต่ละครอบครัวจะมีลูกประมาณ 2-5 คน เนื่องจากความห่างไกลจากการบริการ พื้นฐานสาธารณสุขทำให้จำนวนประชากรมอแกนค่อนข้างจะคงที่

ประเพณีการแต่งงาน

หนุ่มสาวชาวมอแกนเมือมีความรักต่อกันก็จะมีการจีบกันที่เหมือนๆ กับหนุ่มสาวทั่วไป โดยการที่ฝ่ายชายจะเป็นฝ่ายที่แสดงความสามารถ หรือเรียกร้องความสนใจให้กับฝ่ายหญิงเพื่อดึงดูดให้ฝ่ายหญิงสนใจตัวเอง สำหรับการแต่งงานของชาวมอแกนจะถือว่าไม่มีเลยก็ว่าได้เพราะการแต่งงานของเขา ไม่มีอะไรมากมายก
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ข้อมูลทั่วไป ชนเผ่ามอแกนชนเผ่ามอแกนเป็นชาวเลกลุ่มหนึ่งที่รู้จักกันในนามยิปซีทะเลสืบเชื้อสายมาจากโปโตมาเลซึ่งร่อนเร่อยู่ในทะเลอันดามันมากว่า 100 ปีอาศัยอยู่ตามหมู่เกาะและชายฝั่งทะเลตั้งแต่หมู่เกาะมะริดในเมียร์ม่าลงไปทางใต้และทางตะวันออกในหมู่เกาะของทะเลซูลูในประเทศฟิลิปินส์รวมถึงชายฝั่งของประเทศมาเลเซียและอินโดนีเซียด้วยในหมู่เกาะมะริดในเมียนมาร์ยังมีประชากรมอแกนอีกนับพันพม่าเรียกมอแกนว่าซลังเซลังหรือซาเลา (Selon) สันนิษฐานว่าคำนี้คงจะมาจากคำว่าฉลางหรือถลางซึ่งเป็นชื่อโบราณของภูเก็ต (อีเมลขยะ Selon) ซึ่งเป็นบริเวณที่มีชาวเลมาชุมนุมกันอยู่มากในสมัยก่อนอยู่ในทะเลซึ่งเป็นตำนานเรื่องเล่าของชาวมอแกน ชนเผ่ามอแกนเป็นกลุ่มชาติพันธ์ที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ตามเกาะในบริเวณภาคใต้ของไทยมีรูปแบบของวิถีชีวิตขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรมความเชื่อรวมทั้งค่านิยมที่มีเอกลักษณ์เฉพาะเป็นของตนเองใช้ชีวิตเดินทางเคลื่อนย้ายถิ่นทำมาหากินอยู่ในบริเวณเขตทะเลอันดามันชีวิตส่วนใหญ่ของชาวมอแกนอาศัยอยู่บนเรือที่พวกเขาเรียกว่า "กำบาง" หากินกับทะเลงมหอยตกปลาจับปูและสัตว์ทะเลต่าง ๆ อาหารหลักคือเผือกมันมีวิถีชีวิตที่สอดคล้องกับฤดูกาลจากอิทธิพลของลมมรสุมในฤดูมรสุมตะวันตกเฉียงเหนือ (เดือนพฤษภาคม-เดือนพฤศจิกายน) ซึ่งมีคลื่นลมจัดชาวมอแกนจะอพยพขึ้นมาสร้างบ้านเรือนตามเกาะหรือบริเวณชายหาดที่มีอ่าวกำบังคลื่นลมเพื่อหลบลมพายุภาษาภาษมอแกนหรือภาษามอเก็นภาษาเมาเก็นภาษาบาซิงหรือเซลุง ซาลอง ซะโลนและชาวเกาะเป็นภาษาในตระกูลภาษาออสโตรนีเชียนภาษามาลาโยโพโลนีเชียนสาขามาเลย์อิกซึ่งพูดกันทางใต้ของประเทศพม่าลงมาตั้งแต่เมืองมะริดลงมาทางใต้พบมากในบริเวณเกาะของพม่าภาคใต้และคาบสมุทรเมกุยไปจนถึงจังหวัดระนองจังหวัดพังงาจังหวัดภูเก็ตจังหวัดกระบี่ของประเทศไทยใกล้เคียงกับภาษามอเกลนและมีความสัมพันธ์กับภาษาอูรักลาโอ้ยจากตระกูลภาษาออสโตรนีเชียนที่มอแกนใช้เรียงประโยคแบบประธาน-กริยา-กรรมมอแกนมีภาษาพูดเป็นของตัวเองตั้งแต่บรรพบุรุษแล้วไม่มีภาษาเขียนเป็นของตัวเองส่วนใหญ่จะใช้ภาษาเขียนเป็นภาษาไทยภาษายาวีพม่าและมาเลย์หรือการบันทึกโดยตัวอักษรดังนั้นประวัติความเป็นมาตำนานนิทานความรู้พื้นบ้านในด้านต่าง ๆ ของชาวเลจึงมีการบันทึกไว้ในระยะหลัง ๆ ชาวเลเริ่มชีมชับวัฒนธรรมและภาษาไทยมากขึ้นส่วนวัฒนธรรมตั้งเดิมก็ถูกละเลยและค่อย ๆ สูญหายไปเด็กชาวเลอูรักลาโว้ยรุ่นใหม่ในชุมชนราไวย์จังหวัดภูเก็ดหันมาใช้ภาษาไทยปักษ์ใต้กันแทบทั้งนั้นแม้แต่การสื่อสารพูดคุยกันในครอบครัวก็ใช้ภาษาไทยเป็นหลักวิถีชีวิตและลักษณะบ้านเรือนวิถีชีวิตชาวมอแกนยังคงหากินกับทะเลเหมือนเช่นบรรพบุรุษและเนื่องจากชาวมอแกนเป็นคนกลุ่มน้อยเป็นคนไม่มีสัญชาติและไม่มีเชื้อชาติชาวมอแกนไม่มีความรู้ไม่ได้รับการศึกษาทำให้ทั้งเด็กและผู้ใหญ่ชาวมอแกนยังคงเป็นปัญหาชนกลุ่มน้อยของประเทศไทยและเพื่อให้ชาวมอแกนมีความรู้สามารถติดต่อสื่อสารกับคนไทยได้อย่างถูกต้องและเข้าใจวิถีชีวิตของชาวมอแกนอาศัยการนับเวลาจะสังเกตจากดวงจันทร์ ลักษณะบ้านเรือน บ้านเรือนของชาวมอแกนยังคงอนุรักษ์ความเป็นดั้งเดิมคือมุงด้วยหลังคาจากพออาศัยอยู่ได้ไม่เดือดร้อนอยู่อย่างพอเพียงด้วยการหาหอยหาปลานำมาทำเป็นอาหารเรือหรือ "ก่าบาง" เป็นสิ่งจำเป็นในชีวิตของมอแกนเป็นทั้งพาหนะเครื่องมือทำมาหากินบ้านพักอาศัยและบ่อยครั้งเป็นที่เกิดและที่ตายของมอแกนก่าบางมีเอกลักษณ์ที่โดดเด่นคือมี "ง่าม" หรือรอยหยักเว้าที่หัวเรือและท้ายเรือประโยชน์ใช้สอยของง่ามที่หัวและท้ายเรือก็คือเป็นที่ปีนและก้าวขึ้นลงเรือโดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อมอแกนลงทะเลเพื่อว่ายน้ำและดำน้ำการขึ้นเรือทางข้างเรือที่มีกราบทำด้วยไม้ระกำเป็นไปได้ยากเพราะไม้ระกำที่เสียบต่อกันด้วยซี่ไม้ไผ่นั้นไม่แข็งแรงพอที่จะรับน้ำหนักคนโหนขึ้นง่ามมีประโยชน์สำหรับเป็นที่จับยึดเวลาลากเรือขึ้นและลงหาดและนักมานุษยวิทยายังให้ความหมายของง่ามเรือในเชิงสัญลักษณ์ซึ่งสะท้อนคุณลักษณะของมนุษย์คือมีปากและมีทวารเรือเป็นเสมือนมนุษย์คนหนึ่งคำเรียกส่วนต่าง ๆ ของเรือก็มาจากคำเรียกอวัยวะในร่างการของคนเช่นหละแก้ (ท้อง) ตะบิน (แก้ม) ตู่โก๊ะ (คอ) บ่าฮ้อย (ไหล่) ตะบิ้ง (ซี่โครง) เป็นต้นแต่ในปัจจุบันชาวเลก็เริ่มสร้างบ้านเรือนเลียนแบบคนบนฝั่งเป็นแบบถาวรโดยใช้ไม้จากป่าชายเลนเช่นไม้โกงกางหลังคามุงจากกั้นฝาด้วยจากหรือไม้ไผ่การดำรงชีพของชาวเลหลักๆ ยังคงพึ่งพาการ "จับปลา" ทำประมงน้ำตื้นและที่เสริมเข้ามาในยุคหลังๆ ก็คือ "รับจ้างนายทุน"งมสิ่งของในทะเลเช่นเปลือกหอยแปลกๆ หรือรับจ้างทั่วไปที่เห็นกันอยู่ไม่ใช่เรือไม้ระกำ (ไม้ระกำมีลักษณะเป็นท่อนเล็กเรียวแบบต้นอ้อย) สมัยนี้มอแกนใช้ไม้กระดานทำเรือกันหมดแล้วเรือไม้ระกำเหลือเพียงไม่กี่ลำในพม่ามอแกนส่วนใหญ่เลิกใช้ไม้ระกำเสริมกราบเรือแล้ว 3-6 เพราะไม้ระกำมีอายุใช้งานเพียงเดือนเท่านั้นมอแกนหันมาใช้ไม้กระดานเนื่องจากมีความคงทนใช้ได้นานหลายปีส่วนมากเรือนั้นใช้ได้นานหลายสิบปีและบางทียังสืบทอดมาถึงรุ่นลูกหลานด้วยหลังจากที่มอแกนหันมาใช้ไม้กระดานใบเรือก็หมดประโยชน์ใช้สอยไปด้วยเนื่องจากเรือไม้กระดานมีน้ำหนักมากต้องขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์แม้ว่าจะเริ่มซึมซับค่านิยมทางวัตถุมากขึ้นเรื่อย ๆวัฒนธรรมประเพณี ในด้านของสังคมการครองเรือนชายหญิงมอแกนมักจะแต่งงานอยู่กินตั้งแต่อายุยังน้อยยึดประเพณีผัวเดียวเมียเดียวจะไม่เปลี่ยนคู่ครองนอกจากสามีหรืออภรรยาเสียชีวิตลงหรือมีปัญหาขัดแย้งกันอย่างรุนแรงจึงแยกจากกันลูก ๆ ถือเป็นสิ่งสำคัญในครอบครัวมอแกนแต่ละครอบครัวจะมีลูกประมาณ 2-5 คนเนื่องจากความห่างไกลจากการบริการพื้นฐานสาธารณสุขทำให้จำนวนประชากรมอแกนค่อนข้างจะคงที่ ประเพณีการแต่งงาน หนุ่มสาวชาวมอแกนเมือมีความรักต่อกันก็จะมีการจีบกันที่เหมือน ๆ กับหนุ่มสาวทั่วไปโดยการที่ฝ่ายชายจะเป็นฝ่ายที่แสดงความสามารถหรือเรียกร้องความสนใจให้กับฝ่ายหญิงเพื่อดึงดูดให้ฝ่ายหญิงสนใจตัวเองสำหรับการแต่งงานของชาวมอแกนจะถือว่าไม่มีเลยก็ว่าได้เพราะการแต่งงานของเขาไม่มีอะไรมากมายก
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ข้อมูลทั่วไปชนเผ่ามอแกนชนเผ่ามอแกนเป็นชาวเลกลุ่มหนึ่งที่รู้จักกันในนามยิปซีทะเล มากว่า 100 ปีอาศัยอยู่ตามหมู่เกาะ ในประเทศฟิลิปินส์รวมถึงชายฝั่งของประเทศมาเลเซียและอินโดนีเซียด้วย พม่าเรียกมอแกนว่าซลังเซลังหรือซาเลา (Selon) สันนิษฐานว่าคำนี้คงจะมาจากคำว่าฉลางหรือถลางซึ่งเป็นชื่อโบราณของภูเก็ต (Junk Selon) มีรูปแบบของวิถีชีวิตขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรมความเชื่อ ใช้ชีวิตเดินทางเคลื่อนย้ายถิ่น ชีวิตส่วนใหญ่ของชาวมอแกนอาศัยอยู่บนเรือที่พวกเขาเรียกว่า "กำบาง" หากินกับทะเลงมหอยตกปลาจับปูและสัตว์ทะเลต่างๆอาหารหลักคือเผือกมันมีวิถีชีวิตที่สอดคล้องกับฤดูกาล (เดือนพฤษภาคม - เดือนพฤศจิกายน) ซึ่งมีคลื่นลมจัด หรือภาษามอเก็นภาษาเมาเก็นภาษาบาซิงหรือเซลุง, ซาลอง, ซะโลนและชาวเกาะเป็นภาษาในตระกูลภาษาออสโตรนีเชียนภาษามาลาโย - โพโลนีเชียน ตั้งแต่เมืองมะริดลงมาทางใต้พบมากในบริเวณเกาะของพม่าภาคใต้และคาบสมุทรเมกุยไปจนถึงจังหวัดระนองจังหวัดพังงาจังหวัดภูเก็ตจังหวัดกระบี่ของประเทศไทยใกล้เคียงกับภาษามอเกลนและมีความสัมพันธ์กับภาษาอูรักลาโอ้ย เรียงประโยคแบบประธาน - กริยา - กรรม ไม่มีภาษาเขียนเป็นของตัวเองส่วนใหญ่จะใช้ภาษาเขียนเป็นภาษาไทยภาษายาวีพม่าและมาเลย์หรือการบันทึกโดยตัวอักษรดังนั้นประวัติความเป็นมาตำนานนิทานความรู้พื้นบ้านในด้านต่างๆ สูญหายไป ก็ใช้ภาษาไทยเป็นหลักวิถีชีวิต เป็นคนไม่มีสัญชาติและไม่มีเชื้อชาติชาวมอแกนไม่มีความรู้ น้อยของประเทศไทยและเพื่อให้ชาวมอแกนมีความรู้สามารถติดต่อสื่อสารกับคนไทยได้อย่างถูกต้องและเข้าใจวิถีชีวิตของชาวมอแกน พออาศัยอยู่ได้ไม่เดือดร้อนอยู่อย่างพอเพียงด้วยการหาหอยหาปลานำมาทำเป็นอาหารเรือหรือ "ก่าบาง" เป็นสิ่งจำเป็นในชีวิตของมอแกนเป็นทั้งพาหนะเครื่องมือทำมาหากินบ้านพักอาศัย ก่าบางมีเอกลักษณ์ที่โดดเด่นคือมี "ง่าม" และนักมานุษยวิทยายังให้ความหมาย คือมีปากและมีทวารเรือเป็นเสมือนมนุษย์คนหนึ่งคำเรียกส่วนต่างๆของเรือ เช่นหละแก้ (ท้อง) ตะบิน (แก้ม) ตู่โก๊ะ (คอ) บ่าฮ้อย (ไหล่) ตะบิ้ง (ซี่โครง) เป็นต้น เป็นแบบถาวรโดยใช้ไม้จากป่าชายเลนเช่นไม้โกงกางหลังคามุงจากกั้นฝาด้วยจากหรือไม้ไผ่การดำรงชีพของชาวเลหลัก ๆ ยังคงพึ่งพาการ "จับปลา" ทำประมงน้ำตื้นและที่เสริมเข้ามาในยุคหลัง ๆ ก็คือ "รับจ้างนายทุน" งมสิ่งของในทะเลเช่นเปลือกหอยแปลก ๆ หรือรับจ้างทั่วไปที่เห็นกันอยู่ไม่ใช่เรือไม้ระกำ เพราะไม้ระกำมีอายุใช้งานเพียง 3-6 เดือนเท่านั้น ใช้ได้นานหลายปีส่วนมากเรือนั้นใช้ได้นานหลายสิบปี หลังจากที่มอแกนหันมาใช้ไม้กระดานใบเรือก็หมดประโยชน์ใช้สอยไปด้วย ต้องขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์ ยึดประเพณีผัวเดียวเมียเดียว ลูก ๆ ถือเป็นสิ่งสำคัญในครอบครัวมอแกนแต่ละครอบครัวจะมีลูกประมาณ 2-5 คนเนื่องจากความห่างไกลจากการบริการ กับหนุ่มสาวทั่วไป ไม่มีอะไรมากมายก

























การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ข้อมูลทั่วไป



ชนเผ่ามอแกนชนเผ่ามอแกนเป็นชาวเลกลุ่มหนึ่งที่รู้จักกันในนามยิปซีทะเลสืบเชื้อสายมาจากโปโตมาเลซึ่งร่อนเร่อยู่ในทะเลอันดามันมากว่าอาศัยอยู่ตามหมู่เกาะ 100 .ลงไปทางใต้และทางตะวันออกในหมู่เกาะของทะเลซูลูในประเทศฟิลิปินส์รวมถึงชายฝั่งของประเทศมาเลเซียและอินโดนีเซียด้วยในหมู่เกาะมะริดในเมียนมาร์ยังมีประชากรมอแกนอีกนับพันพม่าเรียกมอแกนว่าซลังเซลังค็อค( ซีลอน ) สันนิษฐานว่าคำนี้คงจะมาจากคำว่าฉลางหรือถลางซึ่งเป็นชื่อโบราณของภูเก็ต ( ขยะตาม ) ซึ่งเป็นบริเวณที่มีชาวเลมาชุมนุมกันอยู่มากในสมัยก่อนอยู่ในทะเลซึ่งเป็นตำนานเรื่องเล่าของชาวมอแกน

ชนเผ่ามอแกนเป็นกลุ่มชาติพันธ์ที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ตามเกาะในบริเวณภาคใต้ของไทยมีรูปแบบของวิถีชีวิตขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรมความเชื่อรวมทั้งค่านิยมที่มีเอกลักษณ์เฉพาะเป็นของตนเองทำมาหากินอยู่ในบริเวณเขตทะเลอันดามันชีวิตส่วนใหญ่ของชาวมอแกนอาศัยอยู่บนเรือที่พวกเขาเรียกว่า " กำบาง " หากินกับทะเลงมหอยตกปลาจับปูและสัตว์ทะเลต่างๆอาหารหลักคือเผือกมันมีวิถีชีวิตที่สอดคล้องกับฤดูกาล( เดือนพฤษภาคม - เดือนพฤศจิกายน ) ซึ่งมีคลื่นลมจัดชาวมอแกนจะอพยพขึ้นมาสร้างบ้านเรือนตามเกาะหรือบริเวณชายหาดที่มีอ่าวกำบังคลื่นลมเพื่อหลบลมพายุ



ภาษมอแกนภาษาค็อคภาษามอเก็นภาษาเมาเก็นภาษาบาซิงค็อคเซลุงซาลอง , ,ซะโลนและชาวเกาะเป็นภาษาในตระกูลภาษาออสโตรนีเชียนภาษามาลาโย - โพโลนีเชียนสาขามาเลย์อิกซึ่งพูดกันทางใต้ของประเทศพม่าลงมาตั้งแต่เมืองมะริดลงมาทางใต้พบมากในบริเวณเกาะของพม่าภาคใต้และคาบสมุทรเมกุยจังหวัดพังงาจังหวัดภูเก็ตจังหวัดกระบี่ของประเทศไทยใกล้เคียงกับภาษามอเกลนและมีความสัมพันธ์กับภาษาอูรักลาโอ้ยเรียงประโยคแบบประธาน - กริยา - กรรมจากตระกูลภาษาออสโตรนีเชียนที่มอแกนใช้ไม่มีภาษาเขียนเป็นของตัวเองส่วนใหญ่จะใช้ภาษาเขียนเป็นภาษาไทยภาษายาวีพม่าและมาเลย์หรือการบันทึกโดยตัวอักษรดังนั้นประวัติความเป็นมาตำนานนิทานความรู้พื้นบ้านในด้านต่างๆชาวเลเริ่มชีมชับวัฒนธรรมและภาษาไทยมากขึ้นส่วนวัฒนธรรมตั้งเดิมก็ถูกละเลยและค่อยๆสูญหายไปเด็กชาวเลอูรักลาโว้ยรุ่นใหม่ในชุมชนราไวย์จังหวัดภูเก็ดหันมาใช้ภาษาไทยปักษ์ใต้กันแทบทั้งนั้นก็ใช้ภาษาไทยเป็นหลัก




วิถีชีวิตและลักษณะบ้านเรือนวิถีชีวิตชาวมอแกนยังคงหากินกับทะเลเหมือนเช่นบรรพบุรุษและเนื่องจากชาวมอแกนเป็นคนกลุ่มน้อยเป็นคนไม่มีสัญชาติและไม่มีเชื้อชาติชาวมอแกนไม่มีความรู้น้อยของประเทศไทยและเพื่อให้ชาวมอแกนมีความรู้สามารถติดต่อสื่อสารกับคนไทยได้อย่างถูกต้องและเข้าใจวิถีชีวิตของชาวมอแกนอาศัยการนับเวลาจะสังเกตจากดวงจันทร์


ลักษณะบ้านเรือนบ้านเรือนของชาวมอแกนยังคงอนุรักษ์ความเป็นดั้งเดิมคือมุงด้วยหลังคาจากพออาศัยอยู่ได้ไม่เดือดร้อนอยู่อย่างพอเพียงด้วยการหาหอยหาปลานำมาทำเป็นอาหารเรือค็อค " ก่าบาง " เป็นสิ่งจำเป็นในชีวิตของมอแกนเครื่องมือทำมาหากินบ้านพักอาศัยและบ่อยครั้งเป็นที่เกิดและที่ตายของมอแกนก่าบางมีเอกลักษณ์ที่โดดเด่นคือมี " ง่าม " หรือรอยหยักเว้าที่หัวเรือและท้ายเรือโดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อมอแกนลงทะเลเพื่อว่ายน้ำและดำน้ำการขึ้นเรือทางข้างเรือที่มีกราบทำด้วยไม้ระกำเป็นไปได้ยากเพราะไม้ระกำที่เสียบต่อกันด้วยซี่ไม้ไผ่นั้นไม่แข็งแรงพอที่จะรับน้ำหนักคนโหนขึ้นและนักมานุษยวิทยายังให้ความหมายของง่ามเรือในเชิงสัญลักษณ์ซึ่งสะท้อนคุณลักษณะของมนุษย์ความมีปากและมีทวารเรือเป็นเสมือนมนุษย์คนหนึ่งคำเรียกส่วนต่างๆของเรือก็มาจากคำเรียกอวัยวะในร่างการของคนเช่น( ท้อง ) ตะบิน ( แก้ม ) ตู่โก๊ะ ( คอ ) บ่าฮ้อย ( ไหล่ ) ตะบิ้ง ( ซี่โครง ) เป็นต้นแต่ในปัจจุบันชาวเลก็เริ่มสร้างบ้านเรือนเลียนแบบคนบนฝั่งเป็นแบบถาวรโดยใช้ไม้จากป่าชายเลนเช่นไม้โกงกางหลังคามุงจากการดำรงชีพของชาวเลหลักจะยังคงพึ่งพาการ " จับปลา " ทำประมงน้ำตื้นและที่เสริมเข้ามาในยุคหลังจะก็คือ " รับจ้างนายทุน " งมสิ่งของในทะเลเช่นเปลือกหอยแปลกจะหรือรับจ้างทั่วไปที่เห็นกันอยู่ไม่ใช่เรือไม้ระกำสมัยนี้มอแกนใช้ไม้กระดานทำเรือกันหมดแล้วเรือไม้ระกำเหลือเพียงไม่กี่ลำในพม่ามอแกนส่วนใหญ่เลิกใช้ไม้ระกำเสริมกราบเรือแล้วเพราะไม้ระกำมีอายุใช้งานเพียง 3-6 เดือนเท่านั้นใช้ได้นานหลายปีส่วนมากเรือนั้นใช้ได้นานหลายสิบปีและบางทียังสืบทอดมาถึงรุ่นลูกหลานด้วยหลังจากที่มอแกนหันมาใช้ไม้กระดานใบเรือก็หมดประโยชน์ใช้สอยไปด้วยเนื่องจากเรือไม้กระดานมีน้ำหนักมากแม้ว่าจะเริ่มซึมซับค่านิยมทางวัตถุมากขึ้นเรื่อยๆ



วัฒนธรรมประเพณีในด้านของสังคมการครองเรือนชายหญิงมอแกนมักจะแต่งงานอยู่กินตั้งแต่อายุยังน้อยยึดประเพณีผัวเดียวเมียเดียวจะไม่เปลี่ยนคู่ครองนอกจากสามีหรืออภรรยาเสียชีวิตลงหรือมีปัญหาขัดแย้งกันอย่างรุนแรงจึงแยกจากกันถือเป็นสิ่งสำคัญในครอบครัวมอแกนแต่ละครอบครัวจะมีลูกประมาณ 2-5 คนเนื่องจากความห่างไกลจากการบริการพื้นฐานสาธารณสุขทำให้จำนวนประชากรมอแกนค่อนข้างจะคงที่



ประเพณีการแต่งงานหนุ่มสาวชาวมอแกนเมือมีความรักต่อกันก็จะมีการจีบกันที่เหมือนๆกับหนุ่มสาวทั่วไปโดยการที่ฝ่ายชายจะเป็นฝ่ายที่แสดงความสามารถหรือเรียกร้องความสนใจให้กับฝ่ายหญิงเพื่อดึงดูดให้ฝ่ายหญิงสนใจตัวเองไม่มีอะไรมากมายก
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: