ปรัชญากรีกสมัยเสื่อมโซฟิสต์หลักจากที่จักรพรรคดิยุสติเนียนแห่งโรมได้สั่ การแปล - ปรัชญากรีกสมัยเสื่อมโซฟิสต์หลักจากที่จักรพรรคดิยุสติเนียนแห่งโรมได้สั่ ไทย วิธีการพูด

ปรัชญากรีกสมัยเสื่อมโซฟิสต์หลักจากท

ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
โซฟิสต์



หลักจากที่จักรพรรคดิยุสติเนียนแห่งโรมได้สั่งปิดสำนักปรัชญากรีกที่ไม่นับถือศาสนาคริสต์เมื่อ พ.ศ.1072 ทำให้สำนักปรัชญาอะคาเดมีและลีเซอุมไม่มีการพัฒนาการทางด้านแนวคิดทางปรัชญาแต่อย่างใด ลูกศิษย์ของสำนักเพียงแต่รักษาหลักปรัชญาของอาจารย์ไว้เท่านั้น

นักปรัชญาสมัยนี้มี 5 กลุ่ม และรับแนวคิกทางปรัชญามาจากแหล่งต่างๆ ดังต่อไปนี้
1. สำนักเอปิคิวเรียนยอมรับทฤษฎีอะตอมหรือปรมณูของเดมอคริตุส
2. สำนักสโตอิกยอมรับทฤษฎีไฟของเฮราคริตุส
3. นักวิมตินิยมได้รับอิทธิพลจากญาณวิทยาของพลาโต้
4. นักสังคหนิยมผสมผสานปรัชญาหลายสำนัก
5. สำนักพลาโต้ใหม่ยอมรับปรัชญาของพลาโต้

เอปิคิวรุส

เอปิคิวรุส เป็นผู้ก่อตั้งสำนักเอปิคิวเรียน ท่านเกิดที่เกาะซามอส ศึกษาปรัชญาของเดมอคริตุสจากครูชื่อนอซิฟาเนส ท่านศึกษาปรัชญาในหลายสำนัก เอปิคิวรุสได้เปิดสอนปรัชญาที่กรุงเอเธนส์โดยใช้สวนของท่านเป็นสถานศึกษา เน้นการสอนศิษย์ให้ท่องจำหลักปรัชญาสำคัญๆ

ศิษย์ของเอปิคิวรุสผู้มีชื่อเสียงโด่งดังคือกวีชาวโรมันชื่อลูเครติอุส เขาได้เขียนอธิบายหลักปรัชญาของเอปิคิวรุสไว้ในกวีนิพนธ์เรื่อง ว่าด้วยธรรมชาติของสรรพสิ่ง

ญาณวิทยา เดมอคริตุสเป็นนักเหตุผลนิยม เพราะเห็นว่าความรู้แท้เกิดจากการใช้เหตุผล ไม่ใช่ประสาทสัมผัส แต่เอปิคิวรุส ก็เป็นนักประสบการณ์นิยม เพราะเสนอทัศนะว่าความรู้แท้เกิดจากสัญชานหรือประสาทสัมผัส

อภิปรัชญา เอปิคิวรุสเป็นนักวัตถุนิยม เพราะเขายอมรับแนวความคิดของเดมอคริตุสที่ว่า สรรพสิ่งเกิดจาการรวมตัวของปรมณู แม้วิญญาณก็เกิดจากปรมณู เมื่อมนุษย์ถึงแก่ความตาย วิญญาณก็ดับสลาย มนุษย์ตายแล้วสูญ ปรัชญาของเอปิคิวรุสเป็นอุจเฉททิฐิ

จริยศาตร์ เอปิคิวรุสมีทัศนะคล้ายกับของโวฟิสต์ที่ว่าไม่มีความดีสากลและความชั่วสากล คุณธรรมไม่ใช่ความดีในตัวเองความแตกต่างของทัศนะทั้งสองอยู่ตรงที่ว่า ขณะที่โซฟิสต์เห็นว่าความมีประโยชน์เป็นเกณฑ์ตัดสินความดี แต่เอปิคิวรุสเห็นว่าความสุขหรือความสำราญเป็นเกณฑ์ตัดสินความดี นั่นคือการกระทำที่นำความสุขมาให้เป็นความดี ส่วนการกระทำที่นำความทุกข์มาให้เป็นความชั่ว

สำนักสโตอิก

เซโนแห่งคิติอุมเป็นนักปรัชญาผู้ก่อตั้งสำนักสโตอิก เซโนได้ศึกษาปรัชญาของเฮราคลีตุสอย่างจริงจัง หลังจากศึกษาปรัชญาอยู่หลายปี เซโนได้ตั้งสำนักปรัชญาของตนขึ้น โดยใช้บริเวณระเบียงของซุ้มประตูเมืองเป็นที่สอนปรัชญา คำว่า “สโตอา” ในภาษากรีกแปลว่า “ประตูเมือง” เหตุนั้นสำนักนี้จึงมีชื่อว่า “สโตอิก” แปลว่าสำนักประตูเมือง ศิษย์ของเซโนมาจากทุกชั้นวรรณะ มีทั้งคนจนและคนมั่งมี เซโนไม่นิยมรับเด็กหนุ่มเป็นศิษย์ เพราะถือว่าคนมีอายุและวุฒิภาวะเหมาะสมเท่านั้นจะสามารถเรียนรู้ปรัชญา

เซโนถึงแก่กรรมเมื่อ พ.ศ.379 ภายหลังมรณกรรมของเซโนสำนักสโตอิกยังคงรุ่งเรืองต่อมาอีกหลายศตวรรษ พัฒนาการของสำนักนี้แบ่งออกเป็น 3 ยุค ดังนี้

1. สำนักสโตอิกเก่า มีนักปรัชญาสำคัญคือ เซโนแห่งคิติอุม เคลอันรีส และครีซิปปุส
2. สำนักสโตอิกกลาง มีนักปรัชญาสำคัญคือ ปาเนติอุสและโปเซอีโดนีอุส
3. สำนักาสโตอิกใหม่ มีนักปรัชญาสัญคือ อันเนอุส เซเนคา เอปิคเตตุสและจักรพรรดิมาร์คุส เอาเรลีอุส

ปรัชญาสำนักสโตอิก

ปรัชญาสำนักสโตอิกแบ่งเป็น 3 สาขา คือตรรกศาสตร์ อภิปรัชญา และจริยศาสตร์ พวกสโตอิกถือว่าเป้าหมายของปรัชญาอยู่ที่การแสวงหารากฐานให้กับจริยศาสตร์

ตรรกศาสตร์

สโตอิกเหมือนกับตรรกศาสตร์ของอาริสโตเติล ต่างกันคือประเด็นว่า ประโยคเท่านั้นที่เราบอกว่าจริงหรือเท็จ ประโยคจึงเป็นพื้นฐานของเหตุผล หาใช่คำ ดังที่อาริสโตเติลเสนอ คำเป็นเพียงองค์ประกอบของประโยค ตัดสินความสมเหตุสมผลกันที่ประโยคต่างหาก ทัศนะนี้ทำให้ครีซิปบุสได้ชื่อว่าเป็นผู้ค้นพบตรรกศาสตร์แห่งประโยค ซึ่งต่อมากลายมาเป็นตรรกศาสตร์สัญลักษณ์

เรื่องทฤษฎีความรู้ที่พวกสโตอิกจัดเข้าเป็นส่วนหนึ่งของตรรกศาสตร์ ประเด็นที่เกี่ยวกับทฤษฎีความรู้ บ่อเกิกดของความรู้และเกณฑ์ตัดสินความจริง เสนอมติว่า สัญชานเป็นบ่อเกิดของความรู้

สโตอิกปฏิเสธทฤษฎีมโนคติหรือแบบของพลาโต้และอริสโตเติล เขาเห็นว่าไม่มีสิ่งสากลอยู่ในโลกแห่งมโนคติ ทั้งไม่มีสิ่งสากลแทรกสถิตอยู่ภายในสิ่งเฉพาะ สิ่งเฉพาะเท่านั้นที่มีอยู่จริง สิ่งสากลไม่มีจริง

ปรัชญาของสโตอิกเป็นประสบการณ์นิยม ประสบการณ์นิยมถือว่าความรู้ทุกอย่างมาจากสัญชาน

สโตอิกให้ความสนใจศึกษษเรื่องเกณฑ์ตัดสินความจริง มีทัศนะว่า ประสาทสัมผัสหรือสัญชานเป็นเกณฑ์มาตรฐานสำหรับตัดสินความจริง สโตอิกเพิ่มเติมว่า สัญชานใดจะให้ความรู้แท้จริงหรือไม่ นั่นขึ้นอยู่กับเงื่อนไขที่ส่า สัญชานนั้นสามารถทำให้จิตมีการปลงใจได้หรือไม การปลงใจก็คืออาการที่จิตยอมรับ ภาพที่เห็นหรือเสียงที่ได้ยิน

อภิปรัชญา

สโตอิกยอมรับทัศนะเรื่องไฟเป็นปฐมธาตุของดลกจากเฮราคลีตุส นำมาผสมผสานกับแนวคิดเรื่องกัตตุภาวะและกัมมภาวะของอาริสโตเติล

สโตอิกมีทัศนะว่าจักรวาลเกิดมาจากหลักการเบื้องต้น 2 ประการ คือกัตตุภาวะที่เป็นฝ่ายเคลื่อนไหวกระทำการและก่อสร้างสรรพสิ่ง และกัมมภาวะที่เป็นฝ่ายถูกเคลื่อนที่ ถูกกระทำและถูกก่อสร้าง กัตตุภาวะหมายถึงพระเจ้าและกัมมภาวะหมายถึงสสาร พระเจ้าและสสารเป็นสิ่งเดียวกัน สโตอิกถือว่าไฟเป็นสิ่งแรกสุดของจักรวาล สรรพสิ่งออกมาจากไฟและกลับไปสู่ไฟ พระเจ้าคือไฟ สสารก็คือไฟ ไฟที่ละเอียดประณีตจัดเป็นพระเจ้า ส่วนไฟที่หยาบจัดเป็นสสาร

วิญญาณมนุษย์เกิดจากไฟคือพระเจ้า วิญญาณมนุษย์มาจากพระเจ้าไม่ได้หมายถึงวิญญาณทุกดวงแต่หมายถึงวิญญาณของมนุษย์คนแรกเท่านั้นที่มาจากพระเจ้า วิญญาณของคนที่ตายทุกคนจะรออยู่จนถึงวันที่ไฟไหม้โลกแล้วจึงกลับไปสู่พระเจ้า

จริยศาสตร์

พัฒนามาจากแนวคิดทางอภิปรัชญา 2 ประการ คือ 1. จักรวาลถูกปกครองด้วยกฎเหตุผลที่ตายตัว และ 2. ธรรมชาติอันเป็นแก่นแท้ของมนุษย์ คืการคิดอย่างมีเหตุผลที่ตระหนักรู้กฏธรรมชาติและพร้อมที่จะปฏิบัติตามกฎเหล่านั้น วิธีดำเนินชีวิตที่ดีในทัศนะของพวกสโตอิกก็คือ “มีชีวิตอยู่ตามธรรมชาติ” หมายความว่า มนุษย์ควรย่อมรับและปฏิบัติตามกฎเหตุผลในธรรมชาติโดยไม่ฝ่าฝืนหรือหลีกเลี่ยงแต่ประการใด

วิมตินิยมและสังคหนิยม

สิ่งที่ชาวโรมันคือผสมผสานปรัชญากรีกเด่นๆ เข้าด้วยกั
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ปรัชญากรีกสมัยเสื่อมโซฟิสต์หลักจากที่จักรพรรคดิยุสติเนียนแห่งโรมได้สั่งปิดสำนักปรัชญากรีกที่ไม่นับถือศาสนาคริสต์เมื่อ พ.ศ.1072 ทำให้สำนักปรัชญาอะคาเดมีและลีเซอุมไม่มีการพัฒนาการทางด้านแนวคิดทางปรัชญาแต่อย่างใดลูกศิษย์ของสำนักเพียงแต่รักษาหลักปรัชญาของอาจารย์ไว้เท่านั้น นักปรัชญาสมัยนี้มี 5 กลุ่มและรับแนวคิกทางปรัชญามาจากแหล่งต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ 1. สำนักเอปิคิวเรียนยอมรับทฤษฎีอะตอมหรือปรมณูของเดมอคริตุส 2. สำนักสโตอิกยอมรับทฤษฎีไฟของเฮราคริตุส 3. นักวิมตินิยมได้รับอิทธิพลจากญาณวิทยาของพลาโต้ 4. นักสังคหนิยมผสมผสานปรัชญาหลายสำนัก 5. สำนักพลาโต้ใหม่ยอมรับปรัชญาของพลาโต้เอปิคิวรุส เอปิคิวรุสเป็นผู้ก่อตั้งสำนักเอปิคิวเรียนท่านเกิดที่เกาะซามอสศึกษาปรัชญาของเดมอคริตุสจากครูชื่อนอซิฟาเนสท่านศึกษาปรัชญาในหลายสำนักเอปิคิวรุสได้เปิดสอนปรัชญาที่กรุงเอเธนส์โดยใช้สวนของท่านเป็นสถานศึกษาเน้นการสอนศิษย์ให้ท่องจำหลักปรัชญาสำคัญ ๆ ศิษย์ของเอปิคิวรุสผู้มีชื่อเสียงโด่งดังคือกวีชาวโรมันชื่อลูเครติอุสเขาได้เขียนอธิบายหลักปรัชญาของเอปิคิวรุสไว้ในกวีนิพนธ์เรื่องว่าด้วยธรรมชาติของสรรพสิ่ง ญาณวิทยาเดมอคริตุสเป็นนักเหตุผลนิยมเพราะเห็นว่าความรู้แท้เกิดจากการใช้เหตุผลไม่ใช่ประสาทสัมผัสแต่เอปิคิวรุสก็เป็นนักประสบการณ์นิยมเพราะเสนอทัศนะว่าความรู้แท้เกิดจากสัญชานหรือประสาทสัมผัส อภิปรัชญาเอปิคิวรุสเป็นนักวัตถุนิยมเพราะเขายอมรับแนวความคิดของเดมอคริตุสที่ว่าสรรพสิ่งเกิดจาการรวมตัวของปรมณูแม้วิญญาณก็เกิดจากปรมณูเมื่อมนุษย์ถึงแก่ความตายวิญญาณก็ดับสลายมนุษย์ตายแล้วสูญปรัชญาของเอปิคิวรุสเป็นอุจเฉททิฐิ จริยศาตร์เอปิคิวรุสมีทัศนะคล้ายกับของโวฟิสต์ที่ว่าไม่มีความดีสากลและความชั่วสากลคุณธรรมไม่ใช่ความดีในตัวเองความแตกต่างของทัศนะทั้งสองอยู่ตรงที่ว่าขณะที่โซฟิสต์เห็นว่าความมีประโยชน์เป็นเกณฑ์ตัดสินความดีแต่เอปิคิวรุสเห็นว่าความสุขหรือความสำราญเป็นเกณฑ์ตัดสินความดีนั่นคือการกระทำที่นำความสุขมาให้เป็นความดีส่วนการกระทำที่นำความทุกข์มาให้เป็นความชั่ว สำนักสโตอิก เซโนแห่งคิติอุมเป็นนักปรัชญาผู้ก่อตั้งสำนักสโตอิกเซโนได้ศึกษาปรัชญาของเฮราคลีตุสอย่างจริงจังหลังจากศึกษาปรัชญาอยู่หลายปีเซโนได้ตั้งสำนักปรัชญาของตนขึ้นโดยใช้บริเวณระเบียงของซุ้มประตูเมืองเป็นที่สอนปรัชญาคำว่า "สโตอา" ในภาษากรีกแปลว่า "ประตูเมือง" เหตุนั้นสำนักนี้จึงมีชื่อว่า "สโตอิก" แปลว่าสำนักประตูเมืองศิษย์ของเซโนมาจากทุกชั้นวรรณะมีทั้งคนจนและคนมั่งมีเซโนไม่นิยมรับเด็กหนุ่มเป็นศิษย์เพราะถือว่าคนมีอายุและวุฒิภาวะเหมาะสมเท่านั้นจะสามารถเรียนรู้ปรัชญา เซโนถึงแก่กรรมเมื่อ พ.ศ.379 ภายหลังมรณกรรมของเซโนสำนักสโตอิกยังคงรุ่งเรืองต่อมาอีกหลายศตวรรษ พัฒนาการของสำนักนี้แบ่งออกเป็น 3 ยุค ดังนี้ 1. สำนักสโตอิกเก่า มีนักปรัชญาสำคัญคือ เซโนแห่งคิติอุม เคลอันรีส และครีซิปปุส 2. สำนักสโตอิกกลาง มีนักปรัชญาสำคัญคือ ปาเนติอุสและโปเซอีโดนีอุส 3. สำนักาสโตอิกใหม่ มีนักปรัชญาสัญคือ อันเนอุส เซเนคา เอปิคเตตุสและจักรพรรดิมาร์คุส เอาเรลีอุส ปรัชญาสำนักสโตอิก ปรัชญาสำนักสโตอิกแบ่งเป็น 3 สาขา คือตรรกศาสตร์ อภิปรัชญา และจริยศาสตร์ พวกสโตอิกถือว่าเป้าหมายของปรัชญาอยู่ที่การแสวงหารากฐานให้กับจริยศาสตร์ ตรรกศาสตร์ สโตอิกเหมือนกับตรรกศาสตร์ของอาริสโตเติล ต่างกันคือประเด็นว่า ประโยคเท่านั้นที่เราบอกว่าจริงหรือเท็จ ประโยคจึงเป็นพื้นฐานของเหตุผล หาใช่คำ ดังที่อาริสโตเติลเสนอ คำเป็นเพียงองค์ประกอบของประโยค ตัดสินความสมเหตุสมผลกันที่ประโยคต่างหาก ทัศนะนี้ทำให้ครีซิปบุสได้ชื่อว่าเป็นผู้ค้นพบตรรกศาสตร์แห่งประโยค ซึ่งต่อมากลายมาเป็นตรรกศาสตร์สัญลักษณ์ เรื่องทฤษฎีความรู้ที่พวกสโตอิกจัดเข้าเป็นส่วนหนึ่งของตรรกศาสตร์ ประเด็นที่เกี่ยวกับทฤษฎีความรู้ บ่อเกิกดของความรู้และเกณฑ์ตัดสินความจริง เสนอมติว่า สัญชานเป็นบ่อเกิดของความรู้ สโตอิกปฏิเสธทฤษฎีมโนคติหรือแบบของพลาโต้และอริสโตเติล เขาเห็นว่าไม่มีสิ่งสากลอยู่ในโลกแห่งมโนคติ ทั้งไม่มีสิ่งสากลแทรกสถิตอยู่ภายในสิ่งเฉพาะ สิ่งเฉพาะเท่านั้นที่มีอยู่จริง สิ่งสากลไม่มีจริง ปรัชญาของสโตอิกเป็นประสบการณ์นิยม ประสบการณ์นิยมถือว่าความรู้ทุกอย่างมาจากสัญชาน สโตอิกให้ความสนใจศึกษษเรื่องเกณฑ์ตัดสินความจริง มีทัศนะว่า ประสาทสัมผัสหรือสัญชานเป็นเกณฑ์มาตรฐานสำหรับตัดสินความจริง สโตอิกเพิ่มเติมว่า สัญชานใดจะให้ความรู้แท้จริงหรือไม่ นั่นขึ้นอยู่กับเงื่อนไขที่ส่า สัญชานนั้นสามารถทำให้จิตมีการปลงใจได้หรือไม การปลงใจก็คืออาการที่จิตยอมรับ ภาพที่เห็นหรือเสียงที่ได้ยิน
อภิปรัชญา

สโตอิกยอมรับทัศนะเรื่องไฟเป็นปฐมธาตุของดลกจากเฮราคลีตุส นำมาผสมผสานกับแนวคิดเรื่องกัตตุภาวะและกัมมภาวะของอาริสโตเติล

สโตอิกมีทัศนะว่าจักรวาลเกิดมาจากหลักการเบื้องต้น 2 ประการ คือกัตตุภาวะที่เป็นฝ่ายเคลื่อนไหวกระทำการและก่อสร้างสรรพสิ่ง และกัมมภาวะที่เป็นฝ่ายถูกเคลื่อนที่ ถูกกระทำและถูกก่อสร้าง กัตตุภาวะหมายถึงพระเจ้าและกัมมภาวะหมายถึงสสาร พระเจ้าและสสารเป็นสิ่งเดียวกัน สโตอิกถือว่าไฟเป็นสิ่งแรกสุดของจักรวาล สรรพสิ่งออกมาจากไฟและกลับไปสู่ไฟ พระเจ้าคือไฟ สสารก็คือไฟ ไฟที่ละเอียดประณีตจัดเป็นพระเจ้า ส่วนไฟที่หยาบจัดเป็นสสาร

วิญญาณมนุษย์เกิดจากไฟคือพระเจ้า วิญญาณมนุษย์มาจากพระเจ้าไม่ได้หมายถึงวิญญาณทุกดวงแต่หมายถึงวิญญาณของมนุษย์คนแรกเท่านั้นที่มาจากพระเจ้า วิญญาณของคนที่ตายทุกคนจะรออยู่จนถึงวันที่ไฟไหม้โลกแล้วจึงกลับไปสู่พระเจ้า

จริยศาสตร์

พัฒนามาจากแนวคิดทางอภิปรัชญา 2 ประการ คือ 1. จักรวาลถูกปกครองด้วยกฎเหตุผลที่ตายตัว และ 2. ธรรมชาติอันเป็นแก่นแท้ของมนุษย์ คืการคิดอย่างมีเหตุผลที่ตระหนักรู้กฏธรรมชาติและพร้อมที่จะปฏิบัติตามกฎเหล่านั้น วิธีดำเนินชีวิตที่ดีในทัศนะของพวกสโตอิกก็คือ “มีชีวิตอยู่ตามธรรมชาติ” หมายความว่า มนุษย์ควรย่อมรับและปฏิบัติตามกฎเหตุผลในธรรมชาติโดยไม่ฝ่าฝืนหรือหลีกเลี่ยงแต่ประการใด

วิมตินิยมและสังคหนิยม

สิ่งที่ชาวโรมันคือผสมผสานปรัชญากรีกเด่นๆ เข้าด้วยกั
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
พ.ศ. 1072 5 กลุ่ม ดังต่อไปนี้1 เป็นผู้ก่อตั้งสำนักเอปิคิวเรียนท่านเกิดที่เกาะซามอส ท่านศึกษาปรัชญาในหลายสำนัก เดมอคริตุสเป็นนักเหตุผลนิยม ไม่ใช่ประสาทสัมผัส แต่เอปิคิวรุสก็เป็นนักประสบการณ์นิยม เอปิคิวรุสเป็นนักวัตถุนิยม สรรพสิ่งเกิดจาการรวมตัวของปรมณูแม้วิญญาณก็เกิดจากปรมณูเมื่อมนุษย์ถึงแก่ความตายวิญญาณก็ดับสลายมนุษย์ตายแล้วสูญ หลังจากศึกษาปรัชญาอยู่หลายปีเซโนได้ตั้งสำนักปรัชญาของตนขึ้น คำว่า "สโตอา" ในภาษากรีกแปลว่า "ประตูเมือง" เหตุนั้นสำนักนี้จึงมีชื่อว่า "สโตอิก" แปลว่าสำนักประตูเมืองศิษย์ของเซโนมาจากทุกชั้นวรรณะมีทั้งคนจนและคนมั่งมีเซโน ไม่นิยมรับเด็กหนุ่มเป็นศิษย์ พ.ศ. 379 พัฒนาการของสำนักนี้แบ่งออกเป็น 3 ยุคดังนี้1 สำนักสโตอิกเก่ามีนักปรัชญาสำคัญคือเซโนแห่งคิติอุมเคลอันรีสและครีซิปปุส2 สำนักสโตอิกกลางมีนักปรัชญาสำคัญคือปาเนติอุสและโปเซอีโดนีอุส3 สำนักาสโตอิกใหม่มีนักปรัชญาสัญคืออันเนอุสเซเนคาเอปิคเตตุสและจักรพรรดิมาร์คุส 3 สาขาคือตรรกศาสตร์อภิปรัชญาและจริยศาสตร์ ต่างกันคือประเด็นว่า ประโยคจึงเป็นพื้นฐานของเหตุผลหาใช่คำดังที่อาริสโตเติลเสนอคำเป็นเพียงองค์ประกอบของประโยค ประเด็นที่เกี่ยวกับทฤษฎีความรู้ เสนอมติว่า สิ่งเฉพาะเท่านั้นที่มีอยู่จริง มีทัศนะว่า สโตอิกเพิ่มเติมว่า นั่นขึ้นอยู่กับเงื่อนไขที่ส่า การปลงใจก็คืออาการที่จิตยอมรับ 2 ประการ ถูกกระทำและถูกก่อสร้าง พระเจ้าและสสารเป็นสิ่งเดียวกัน สรรพสิ่งออกมาจากไฟและกลับไปสู่ไฟพระเจ้าคือไฟสสารก็คือไฟไฟที่ละเอียดประณีตจัดเป็นพระเจ้า 2 ประการคือ 1 และ 2. ธรรมชาติอันเป็นแก่นแท้ของมนุษย์ "มีชีวิตอยู่ตามธรรมชาติ" หมายความว่า เข้าด้วยกั

































































การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
โซฟิสต์ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม




หลักจากที่จักรพรรคดิยุสติเนียนแห่งโรมได้สั่งปิดสำนักปรัชญากรีกที่ไม่นับถือศาสนาคริสต์เมื่อพ . ศ .1072 ทำให้สำนักปรัชญาอะคาเดมีและลีเซอุมไม่มีการพัฒนาการทางด้านแนวคิดทางปรัชญาแต่อย่างใดลูกศิษย์ของสำนักเพียงแต่รักษาหลักปรัชญาของอาจารย์ไว้เท่านั้น

นักปรัชญาสมัยนี้มี 5 กลุ่มและรับแนวคิกทางปรัชญามาจากแหล่งต่างๆดังต่อไปนี้
1 สำนักเอปิคิวเรียนยอมรับทฤษฎีอะตอมหรือปรมณูของเดมอคริตุส
2 สำนักสโตอิกยอมรับทฤษฎีไฟของเฮราคริตุส
3นักวิมตินิยมได้รับอิทธิพลจากญาณวิทยาของพลาโต้
4 นักสังคหนิยมผสมผสานปรัชญาหลายสำนัก
5 สำนักพลาโต้ใหม่ยอมรับปรัชญาของพลาโต้



เอปิคิวรุสเอปิคิวรุสเป็นผู้ก่อตั้งสำนักเอปิคิวเรียนท่านเกิดที่เกาะซามอสศึกษาปรัชญาของเดมอคริตุสจากครูชื่อนอซิฟาเนสท่านศึกษาปรัชญาในหลายสำนักเน้นการสอนศิษย์ให้ท่องจำหลักปรัชญาสำคัญๆ



ศิษย์ของเอปิคิวรุสผู้มีชื่อเสียงโด่งดังคือกวีชาวโรมันชื่อลูเครติอุสเขาได้เขียนอธิบายหลักปรัชญาของเอปิคิวรุสไว้ในกวีนิพนธ์เรื่องว่าด้วยธรรมชาติของสรรพสิ่งญาณวิทยาเดมอคริตุสเป็นนักเหตุผลนิยมเพราะเห็นว่าความรู้แท้เกิดจากการใช้เหตุผลไม่ใช่ประสาทสัมผัสแต่เอปิคิวรุสก็เป็นนักประสบการณ์นิยมเพราะเสนอทัศนะว่าความรู้แท้เกิดจากสัญชานหรือประสาทสัมผัส

อภิปรัชญาเอปิคิวรุสเป็นนักวัตถุนิยมเพราะเขายอมรับแนวความคิดของเดมอคริตุสที่ว่าสรรพสิ่งเกิดจาการรวมตัวของปรมณูแม้วิญญาณก็เกิดจากปรมณูเมื่อมนุษย์ถึงแก่ความตายวิญญาณก็ดับสลายมนุษย์ตายแล้วสูญ

จริยศาตร์เอปิคิวรุสมีทัศนะคล้ายกับของโวฟิสต์ที่ว่าไม่มีความดีสากลและความชั่วสากลคุณธรรมไม่ใช่ความดีในตัวเองความแตกต่างของทัศนะทั้งสองอยู่ตรงที่ว่า
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: