ทฤษฎีการสื่อสารวัฒนธรรมร่วม (Co-cultural communication theory)สำหรับกา การแปล - ทฤษฎีการสื่อสารวัฒนธรรมร่วม (Co-cultural communication theory)สำหรับกา ไทย วิธีการพูด

ทฤษฎีการสื่อสารวัฒนธรรมร่วม (Co-cul

ทฤษฎีการสื่อสารวัฒนธรรมร่วม (Co-cultural communication theory)
สำหรับการศึกษาในเรื่องของวัฒนธรรมมีผู้ให้ความสนใจเพิ่มมากขึ้นในหลายมิติ รวมทั้งมิติของการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม (Intercultural Communication)ซึ่งในมิตินี้Mark P. Orbeได้เรียกว่าเป็นการสื่อสารวัฒนธรรมร่วมหรือ “Co-culturalCommunication”
Mark P. Orbeได้ศึกษาเกี่ยวกับ แบบแผนการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรมของชนกลุ่มน้อยที่มีต่อชนกลุ่มใหญ่ของสังคมภายใต้อำนาจที่ไม่ทัดเทียมกันอันได้แก่ ชนผิวสี สตรี เกย์ เลสเบี้ยน ผู้พิการ เป็นต้น ในบริบทของสังคมอเมริกัน
การสื่อสารวัฒนธรรมร่วม(Co-culturalCommunication) เป็นอีกคำหนึ่งที่Mark P. Orbeใช้แทนการกล่าวถึงสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม (Intercultural Communication) โดย Orbe ได้อธิบายคำว่าการสื่อสารวัฒนธรรมร่วมว่าเป็นการปฏิสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มคนที่มีอำนาจเหนือกว่ากับกลุ่มคนที่มีอำนาจต่ำกว่าในสังคม เขาเลือกที่จะใช้คำว่า “co-cultural communication” แทนที่จะเป็นคำอื่นอาทิ “subcultured”, “subordinate” หรือ “muted group” เนื่องจากคำเรียกดังกล่าวค่อนข้างเป็นคำเรียกที่มองกลุ่มสังคมเหล่านี้ในทางต่ำต้อยกว่า และใช้คำว่า “tactic” เพื่ออธิบายการกระทำการสื่อสารของกลุ่มที่ไม่มีอิทธิพลและใช้คำว่า “strategies” กับกลุ่มที่มีอิทธิพล (Orbe,Mark P.,1998 อ้างถึงใน พีรยุทธ โอรพันธ์, 2551)
ทฤษฎีการสื่อสารวัฒนธรรมร่วม(Co-cultural communication theory)เป็นการค้นหากระบวนการที่สมาชิกของกลุ่มวัฒนธรรมร่วมเลือกปฏิบัติการการสื่อสาร (communicative practices) เมื่อมีการปฏิสัมพันธ์ภายในโครงสร้างของสังคมที่พวกเขาไม่มีอิทธิพล ซึ่ง Orbeพบว่าการกระทำหรือวิธีการสื่อสาร (tactic) ที่สมาชิกของกลุ่มวัฒนธรรมร่วมได้ใช้ในการสื่อสารเพื่อให้ได้ผลบางอย่างที่ตนต้องการนั้น สามาถจัดกลุ่มเป็นตัวแปรอิสระที่เป็นปัจจัยอันมีอิทธิพลต่อการเลือกใช้วิธีการสื่อสาร (practice selection) ได้ทั้งหมด 6 ปัจจัยด้วยกันได้แก่ 1. ผลที่ต้องการ (preferred outcome) 2. ประสบการณ์ชีวิต (field of experience) 3. ความสามารถ (abilities) 4. บริบทของสถานการณ์ (situational context) 5. สิ่งที่ได้มาและสิ่งที่เสียไป (perceived costs and rewards) 6. วิธีการสื่อสาร (communication approach)
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ทฤษฎีการสื่อสารวัฒนธรรมร่วม (Co-cultural communication theory)สำหรับการศึกษาในเรื่องของวัฒนธรรมมีผู้ให้ความสนใจเพิ่มมากขึ้นในหลายมิติ รวมทั้งมิติของการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม (Intercultural Communication)ซึ่งในมิตินี้Mark P. Orbeได้เรียกว่าเป็นการสื่อสารวัฒนธรรมร่วมหรือ “Co-culturalCommunication”Mark P. Orbeได้ศึกษาเกี่ยวกับ แบบแผนการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรมของชนกลุ่มน้อยที่มีต่อชนกลุ่มใหญ่ของสังคมภายใต้อำนาจที่ไม่ทัดเทียมกันอันได้แก่ ชนผิวสี สตรี เกย์ เลสเบี้ยน ผู้พิการ เป็นต้น ในบริบทของสังคมอเมริกันการสื่อสารวัฒนธรรมร่วม(Co-culturalCommunication) เป็นอีกคำหนึ่งที่Mark P. Orbeใช้แทนการกล่าวถึงสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม (Intercultural Communication) โดย Orbe ได้อธิบายคำว่าการสื่อสารวัฒนธรรมร่วมว่าเป็นการปฏิสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มคนที่มีอำนาจเหนือกว่ากับกลุ่มคนที่มีอำนาจต่ำกว่าในสังคม เขาเลือกที่จะใช้คำว่า “co-cultural communication” แทนที่จะเป็นคำอื่นอาทิ “subcultured”, “subordinate” หรือ “muted group” เนื่องจากคำเรียกดังกล่าวค่อนข้างเป็นคำเรียกที่มองกลุ่มสังคมเหล่านี้ในทางต่ำต้อยกว่า และใช้คำว่า “tactic” เพื่ออธิบายการกระทำการสื่อสารของกลุ่มที่ไม่มีอิทธิพลและใช้คำว่า “strategies” กับกลุ่มที่มีอิทธิพล (Orbe,Mark P.,1998 อ้างถึงใน พีรยุทธ โอรพันธ์, 2551)ทฤษฎีการสื่อสารวัฒนธรรมร่วม(Co-cultural communication theory)เป็นการค้นหากระบวนการที่สมาชิกของกลุ่มวัฒนธรรมร่วมเลือกปฏิบัติการการสื่อสาร (communicative practices) เมื่อมีการปฏิสัมพันธ์ภายในโครงสร้างของสังคมที่พวกเขาไม่มีอิทธิพล ซึ่ง Orbeพบว่าการกระทำหรือวิธีการสื่อสาร (tactic) ที่สมาชิกของกลุ่มวัฒนธรรมร่วมได้ใช้ในการสื่อสารเพื่อให้ได้ผลบางอย่างที่ตนต้องการนั้น สามาถจัดกลุ่มเป็นตัวแปรอิสระที่เป็นปัจจัยอันมีอิทธิพลต่อการเลือกใช้วิธีการสื่อสาร (practice selection) ได้ทั้งหมด 6 ปัจจัยด้วยกันได้แก่ 1. ผลที่ต้องการ (preferred outcome) 2. ประสบการณ์ชีวิต (field of experience) 3. ความสามารถ (abilities) 4. บริบทของสถานการณ์ (situational context) 5. สิ่งที่ได้มาและสิ่งที่เสียไป (perceived costs and rewards) 6. วิธีการสื่อสาร (communication approach)
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ทฤษฎีการสื่อสารวัฒนธรรมร่วม (การสื่อสารร่วมทางวัฒนธรรม
(การสื่อสารแลกเปลี่ยน) ซึ่งในมิตินี้มาร์คพี "ร่วม culturalCommunication"
มาร์คพี Orbe ได้ศึกษาเกี่ยวกับ ชนผิวสีสตรีเกย์เลสเบี้ยนผู้พิการเป็นต้น
เป็นอีกคำหนึ่งที่มาร์คพี (การสื่อสารแลกเปลี่ยน) โดย Orbe เขาเลือกที่จะใช้คำว่า "การสื่อสารร่วมวัฒนธรรม" แทนที่จะเป็นคำอื่นอาทิ "ผ่านการเปลี่ยน", "ผู้ใต้บังคับบัญชา" หรือ "กลุ่มเงียบ" และใช้คำว่า "ชั้นเชิง" "กลยุทธ์" กับกลุ่มที่มีอิทธิพล (Orbe มาร์คพี 1998 อ้างถึงในพีรยุทธโอรพันธ์, 2551)
ทฤษฎีการสื่อสารวัฒนธรรมร่วม (การสื่อสารร่วมทางวัฒนธรรม (การปฏิบัติการสื่อสาร) ซึ่ง Orbe พบว่าการกระทำหรือวิธีการสื่อสาร (กลยุทธ์) (การเลือกปฏิบัติ) ได้ทั้งหมด 6 ปัจจัยด้วยกัน ได้แก่ 1. ผลที่ต้องการ (ผลที่ต้องการ) 2. ประสบการณ์ชีวิต (เขตประสบการณ์) 3. ความสามารถ (ความสามารถ) 4. บริบทของสถานการณ์ (บริบทสถานการณ์) 5. สิ่งที่ได้ มาและสิ่งที่เสียไป (ค่าใช้จ่ายในการรับรู้และผลตอบแทน) 6. วิธีการสื่อสาร (วิธีการสื่อสาร)
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: