ประวัตินายขนมต้มนายขนมต้ม เป็นชาวพระนครศรีอยุธยา (เมืองหลวงของประเทศไท การแปล - ประวัตินายขนมต้มนายขนมต้ม เป็นชาวพระนครศรีอยุธยา (เมืองหลวงของประเทศไท ไทย วิธีการพูด

ประวัตินายขนมต้มนายขนมต้ม เป็นชาวพร

ประวัตินายขนมต้ม
นายขนมต้ม เป็นชาวพระนครศรีอยุธยา (เมืองหลวงของประเทศไทยในอดีต ) ถูกกวาดต้อนไปเป็นเฉลยศึก ในระหว่างกรุงศรีอยุธยาแตกครั้งที่ ๒ ใน พ.ศ. ๒๓๑๐
ในพงศาวดารได้กล่าวไว้ว่า ฝีมือการต่อยมวยของนายขนมต้มนั้นเป็นที่สนใจของเจ้ามังระกษัตริย์พม่าเป็นอย่างมาก สืบเนื่องมาจากพระเจ้ามังระทรงจัดพิธีเฉลิมฉลองพระเจดีย์ชเวดากองเป็นเวลา ๗ วัน ๗ คืน และได้มีการจัดการแข่งขันชกมวยขึ้นในวันที่ ๑๗ มีนาคม พ.ศ. ๒๓๑๓ โดยเวทีมวยนั้นอยู่บริเวณเบื้องหน้าพระที่นั่งของพระเจ้ามังระ นายขนมต้มสามารถเอาชนะคู่ต่อสู้ได้ถึง ๑๐ คน ซึ่งทำให้พระเจ้ามังระทรงประทับใจ และประจักษ์ในความสามารถและทักษะการต่อยมวยของนายขนมต้มเป็นอย่างมาก นอกจากนี้พระเจ้ามังระยังทรงตรัสชื่นชมอีกด้วยว่า “คนไทยนี้มีพิษสงรอบตัว แม้มือเปล่ายังเอาชนะคนได้ถึงเก้าคนสิบคน” หลังจากนั้นนายขนมต้มก็ได้รับอิสรภาพจากพระเจ้ามังระและได้เดินทางกลับพระนครศรีอยุธยา และเขาได้บำเพ็ญประโยชน์แก่บ้านเมืองด้วยการสอนวิชามวยไทยตลอดระยะเวลาที่เหลืออยู่ที่บ้านเกิดของเขาในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
จากพงศาวดารที่กล่าวมานี้ นายขนมต้มได้รับการยกย่องให้เป็น “บิดาแห่งมวยไทย” ตราบจนกระทั่งทุกวันนี้ มวยไทยเป็นศิลปะการป้องกันตัวที่มีชื่อเสียงและเลื่องลือเป็นอย่างมาก นอกจากนี้แล้วมวยไทยยังได้ชื่อว่าเป็นกีฬาที่ดุดันและน่าตื่นเต้นที่สุดอีกด้วย
เพื่อเป็นการระลึกถึงและยกย่องชัยชนะครั้งยิ่งใหญ่ที่นายขนมต้มได้สร้างชื่อเสียงให้ชาวไทยให้เป็นที่ประจักษ์ในศิลปะการต่อสู้นั้นจึงถือเอาวันที่ ๑๗ มีนาคมของทุกปีเป็นวันมวยไทยแห่งชาติ
ยังมีหลักฐานอีกด้วยว่า นายขนมต้มอาศัยอยู่บริเวณวัดจุฬามณี ตำบลบ้านกุ่ม อำเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซึ่งในปัจจุบันคือบริเวณอาคารใกล้สี่แยกชลประทาน บริเวณทางเข้าวัดจุฬามณี ซึ่งอยู่ห่างจากอนุสาวรีย์นายขนมต้มไปทางทิศใต้ประมาณ ๑๐๐ เมตร
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ประวัตินายขนมต้มนายขนมต้มเป็นชาวพระนครศรีอยุธยา (เมืองหลวงของประเทศไทยในอดีต) ถูกกวาดต้อนไปเป็นเฉลยศึกในระหว่างกรุงศรีอยุธยาแตกครั้งที่ ๒ ในพ.ศ. ๒๓๑๐ ในพงศาวดารได้กล่าวไว้ว่า ฝีมือการต่อยมวยของนายขนมต้มนั้นเป็นที่สนใจของเจ้ามังระกษัตริย์พม่าเป็นอย่างมาก สืบเนื่องมาจากพระเจ้ามังระทรงจัดพิธีเฉลิมฉลองพระเจดีย์ชเวดากองเป็นเวลา ๗ วัน ๗ คืน และได้มีการจัดการแข่งขันชกมวยขึ้นในวันที่ ๑๗ มีนาคม พ.ศ. ๒๓๑๓ โดยเวทีมวยนั้นอยู่บริเวณเบื้องหน้าพระที่นั่งของพระเจ้ามังระ นายขนมต้มสามารถเอาชนะคู่ต่อสู้ได้ถึง ๑๐ คน ซึ่งทำให้พระเจ้ามังระทรงประทับใจ และประจักษ์ในความสามารถและทักษะการต่อยมวยของนายขนมต้มเป็นอย่างมาก นอกจากนี้พระเจ้ามังระยังทรงตรัสชื่นชมอีกด้วยว่า “คนไทยนี้มีพิษสงรอบตัว แม้มือเปล่ายังเอาชนะคนได้ถึงเก้าคนสิบคน” หลังจากนั้นนายขนมต้มก็ได้รับอิสรภาพจากพระเจ้ามังระและได้เดินทางกลับพระนครศรีอยุธยา และเขาได้บำเพ็ญประโยชน์แก่บ้านเมืองด้วยการสอนวิชามวยไทยตลอดระยะเวลาที่เหลืออยู่ที่บ้านเกิดของเขาในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา จากพงศาวดารที่กล่าวมานี้ นายขนมต้มได้รับการยกย่องให้เป็น “บิดาแห่งมวยไทย” ตราบจนกระทั่งทุกวันนี้ มวยไทยเป็นศิลปะการป้องกันตัวที่มีชื่อเสียงและเลื่องลือเป็นอย่างมาก นอกจากนี้แล้วมวยไทยยังได้ชื่อว่าเป็นกีฬาที่ดุดันและน่าตื่นเต้นที่สุดอีกด้วย เพื่อเป็นการระลึกถึงและยกย่องชัยชนะครั้งยิ่งใหญ่ที่นายขนมต้มได้สร้างชื่อเสียงให้ชาวไทยให้เป็นที่ประจักษ์ในศิลปะการต่อสู้นั้นจึงถือเอาวันที่ ๑๗ มีนาคมของทุกปีเป็นวันมวยไทยแห่งชาติ ยังมีหลักฐานอีกด้วยว่า นายขนมต้มอาศัยอยู่บริเวณวัดจุฬามณี ตำบลบ้านกุ่ม อำเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซึ่งในปัจจุบันคือบริเวณอาคารใกล้สี่แยกชลประทาน บริเวณทางเข้าวัดจุฬามณี ซึ่งอยู่ห่างจากอนุสาวรีย์นายขนมต้มไปทางทิศใต้ประมาณ ๑๐๐ เมตร
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ขนมที่คุณนายประวัติต้มที่คุณนายขนมต้มเป็นชาวพระนครศรีอยุธยา (เมืองหลวงของประเทศไทยในอดีต) ถูกกวาดต้อนไปเป็นเฉลยศึกในระหว่างกรุงศรีอยุธยาแตกครั้งที่ 2 ใน พ.ศ.
2310
ในพงศาวดารได้กล่าวไว้ว่า 7 วัน 7 คืน 17 มีนาคม พ.ศ. 2313 10 คนซึ่งทำให้พระเจ้ามังระทรงประทับใจ "คนไทยนี้มีพิษสงรอบตัว
นายขนมต้มได้รับการยกย่องให้เป็น "บิดาแห่งมวยไทย" ตราบจนกระทั่งทุกวันนี้
17
ตำบลบ้านกุ่มอำเภอบางบาลจังหวัดพระนครศรีอยุธยา บริเวณทางเข้าวัดจุฬามณี 100 เมตร
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ประวัตินายขนมต้ม
นายขนมต้มเป็นชาวพระนครศรีอยุธยา ( เมืองหลวงของประเทศไทยในอดีต ) ถูกกวาดต้อนไปเป็นเฉลยศึกในระหว่างกรุงศรีอยุธยาแตกครั้งที่๒ the พ . ศ . ๒๓๑๐
ในพงศาวดารได้กล่าวไว้ว่าฝีมือการต่อยมวยของนายขนมต้มนั้นเป็นที่สนใจของเจ้ามังระกษัตริย์พม่าเป็นอย่างมากสืบเนื่องมาจากพระเจ้ามังระทรงจัดพิธีเฉลิมฉลองพระเจดีย์ชเวดากองเป็นเวลา๗๗คืนได้รับเลือกตั้งผ่านกระบวนการประชาธิปไตยของพม่า๑๗มีนาคมพ .ศ .๒๓๑๓โดยเวทีมวยนั้นอยู่บริเวณเบื้องหน้าพระที่นั่งของพระเจ้ามังระนายขนมต้มสามารถเอาชนะคู่ต่อสู้ได้ถึง๑๐คนซึ่งทำให้พระเจ้ามังระทรงประทับใจนอกจากนี้พระเจ้ามังระยังทรงตรัสชื่นชมอีกด้วยว่า " คนไทยนี้มีพิษสงรอบตัวแม้มือเปล่ายังเอาชนะคนได้ถึงเก้าคนสิบคน " หลังจากนั้นนายขนมต้มก็ได้รับอิสรภาพจากพระเจ้ามังระและได้เดินทางกลับพระนครศรีอยุธยาจากพงศาวดารที่กล่าวมานี้นายขนมต้มได้รับการยกย่องให้เป็น " บิดาแห่งมวยไทย " ตราบจนกระทั่งทุกวันนี้มวยไทยเป็นศิลปะการป้องกันตัวที่มีชื่อเสียงและเลื่องลือเป็นอย่างมากเพื่อเป็นการระลึกถึงและยกย่องชัยชนะครั้งยิ่งใหญ่ที่นายขนมต้มได้สร้างชื่อเสียงให้ชาวไทยให้เป็นที่ประจักษ์ในศิลปะการต่อสู้นั้นจึงถือเอาวันที่๑๗มีนาคมของทุกปีเป็นวันมวยไทยแห่งชาติ
ยังมีหลักฐานอีกด้วยว่านายขนมต้มอาศัยอยู่บริเวณวัดจุฬามณีตำบลบ้านกุ่มอำเภอบางบาลจังหวัดพระนครศรีอยุธยาซึ่งในปัจจุบันคือบริเวณอาคารใกล้สี่แยกชลประทานบริเวณทางเข้าวัดจุฬามณี๑๐๐เมตร
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: