แตงโม เป็นพืชในวงศ์  Cucurbitaceae เช่นเดียวกับบวบ ฟัก ชื่อวิทยาศาสตร์ การแปล - แตงโม เป็นพืชในวงศ์  Cucurbitaceae เช่นเดียวกับบวบ ฟัก ชื่อวิทยาศาสตร์ ไทย วิธีการพูด

แตงโม เป็นพืชในวงศ์  Cucurbitaceae

แตงโม เป็นพืชในวงศ์  Cucurbitaceae เช่นเดียวกับบวบ ฟัก 
ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Citrullus lanatus Mats. Et Nakai ภาษาอังกฤษเรียก Water melon ภาคเหนือเรียก มะเต้า ภาคใต้เรียก แตงจีน 
แตงโมเป็นพืชล้มลุกประเภท เถาเลื้อย โตเร็ว ลักษณะทั่วไปคล้ายแตงชนิดอื่น ๆ แต่ใบมีลักษณะพิเศษกว่าแตงอื่นๆ ที่มักเป็นแผ่นเดียวกันตลอด ใบแตงโมเป็นแฉกๆ แคบๆ ไม่ค่อยเป็นระเบียบ ดอกมี 2 เพศ แยกจากกันบนต้นเดียวกัน กลีบดอกสีเหลืองอ่อน ผลอ่อนสีเขียว ผลแก่อาจมีสีผิวเขียวอ่อน เขียวแก่ น้ำเงินแก่ เขียวลายขาว ฯลฯ ลักษณะผลมีทั้งกลม รูปไข่ หรือทรงกระบอกยาวหัวท้ายมน ฯลฯ มีขนาดตั้งแต่ค่อนข้างเล็กไปจนโตหลายกิโลกรัม สีของเนื้อเมื่ออ่อนสีขาว เมื่อแก่จัดมีทั้งสีขาว เหลือง ชมพูและแดง เมล็ดแบน เปลือกหนากว่าแตงกวา สีเปลือกเมล็ดมีทั้งสีน้ำตาลอ่อนไปถึงเข้าและสีดำ เนื้อในเมล็ดสีขาว เนื้อในผลแตงโมมีลักษณะฉ่ำน้ำ รสหวานมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับพันธุ์และการดูแลรักษา 
ถิ่นกำเนิด ดั้งเดิมของแตงโมอยู่ในเขตร้อนที่ภาคใต้ของทวีปอัฟริกา แตงโมจึงคล้ายกับน้ำเต้าในด้านถิ่นกำเนิดและการแพร่กระจายไปทั่วโลก ตั้งแต่ยุคโบราณก่อนประวัติศาสตร์ในอียิปต์ พบข้อความบันทึกเกี่ยวกับแตงโมมีอายุกว่า 4,ooo ปีมาแล้ว สำหรับประเทศไทยคงปลูกแตงโมมานับร้อยนับพันปีเช่นกัน เพราะคนไทยติดต่อค้าขายกับคนต่างชาติและแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมกันมากว่าพันปีแล้ว มีผู้สันนิษฐานว่าไทยรับแตงโมมาจากจีนชาวใต้จึงเรียกแตงจีน ในพงศาวดารสมัยกรุงศรีอยุธยามีเรื่องราวเกี่ยวกับแตงโมปรากฏอยู่ในสมัยแผ่นดินสมเด็จพระเพทราชาเรียกว่า ผลอุลิต ซึ่งเป็นราชาศัพท์มาจากภาษาเขมร ส่วนในหนังสืออักราภิธานศรับท์ พ.ศ.2416 เรียกทั้งแตงโมและปูลิต(คงกลายมาจากอุลิต) แม้แต่ในตำรา แม่ครัวหัวป่าก์ ของ ท่านผู้หญิงเปลี่ยน ภาสกรวงษ์ ก็เรียกชื่อตำรับอาหารว่า “ผัดปลาแห้งแตงอุลิต” เช่นเดียวกัน 
มีเรื่องราวของบุคคลสำคัญในประวัติศาสตร์ไทยท่านหนึ่งเกี่ยวข้องกับความเชื่อนี้ ผู้อ่านที่มีอายุ 40 ปีขึ้นไปคงเคยเรียนเกี่ยวกับเรื่องของ สมเด็จเจ้าแตงโม ในแบบเรียนชั้นมัธยม สมเด็จเจ้าแตงโมหรือพระสุวัณมุนี เป็นพระภิกษุในสมัยกรุงศรีอยุธยารัชกาลพระเจ้าเสือ มีชื่อเสียงว่าเป็นผู้มีสติปัญญาสูงยิ่ง ประวัติในวัยเด็กที่เกี่ยวข้องกับแตงโมคือ ช่วงเป็นเด็กอยู่ที่จังหวัดเพชรบุรีนั้นท่านยากจน วันหนึ่งเมื่อเล่นน้ำกับเพื่อนๆในแม่น้ำ เห็นเปลือกแตงโมลอยน้ำมาจึงคว้าเอาลงไปแอบกินใต้น้ำ เพื่อนๆจึงเรียกชื่อว่า “เจ้าแตงโม” มาตั้งแต่นั้น แสดงว่าท่านชอบกินแตงโมมาตั้งแต่เด็ก 
แตงโมเป็นผลไม่ยอดนิยมของคนไทย(และของชาวโลก)มานับพันปีจนถึงปัจจุบัน คนไทยมีพันธุ์แตงโมที่นิยมกันมากเปลี่ยนไปตามยุคสมัย เช่น แตงโมบางละมุง เมื่อราว 1oo ปีก่อน มาเป็นแตงโมบางเบิด หม่อมเจ้าสิทธิพร กฤดากร นำพันธุ์แตงโมมาจากประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อราว 70 ปีที่แล้วมา จากนั้นก็มาถึงยุคแตงหมอน (ชาล์ลตัน เกรย์) ผลยาว หัวท้ายมนคล้ายหมอนข้าง และแตงดำ (ชูก้าร์ เบบี้) ผลกลม เปลือกสีเขียวเข้มเกือบดำ มีเมื่อราว 40  ปีก่อน จนกระทั่งถึงยุค แตงโมจินตหรา ซึ่งเอาชื่อมาจากดาราสาวสวยในปัจจุบัน แตงโมก็ยังไม่เสื่อมคลายความนิยมแม้บางครั้งจะถูกข่าวลือที่รุนแรงบ่อนทำลายขนาดเชื่อว่า หากกินแตงโมแล้วจะทำให้เป็นโรคจู๋ (อวัยวะเพศของผู้ชายจะหดหายไป) เมื่อราวปี พ.ศ.2519  มีผลให้คนไทยไม่ค่อยกล้ากินแตงโมไปพักหนึ่ง แต่ต่อมาไม่นานคนไทยก็กลับมานิยมกินแตงโมกันมากเหมือนเดิมหรือมากขึ้นกว่าเดิม 
คำว่าแตงโมในภาษาไทยภาคกลางนั้น ผู้รู้ทางภาษาท่านหนึ่ง (โสมทัต เทเวศน์) อธิบายว่า หมายถึงแตงขนาดใหญ่ เนื่องจากเป็นแตงที่มีผลขนาดใหญ่กว่าแตงชนิดอื่นๆ นับว่าเป็นชื่อที่เหมาะสมมาก คนไทยคงนิยมกินเนื้อแตงโมเป็นผลไม้และเมล็ดแตงโมเป็นของขบเคี้ยวกันต่อไปอีกนานเท่านาน 
หากเราเชื่อว่าการกินเนื้อแตงโมทำให้เกิดสติปัญญาแล้ว ผู้มีปัญญาย่อมมองเห็นคุณประโยชน์ของแตงโมและไม่เลิกกินเนื้อและเมล็ดแตงโมอย่างแน่นอน แต่นอกจากการกินในฐานะผลไม้และของขบเคี้ยวแล้ว คนไทยน่าจะฟื้นความนิยมแตงโมขึ้นมาในฐานะผักอีกด้านหนึ่งด้วย เพื่อให้ได้ประโยชน์จากแตงโมครบถ้วน สมกับเป็นผู้ที่มีปัญญาอย่างแท้จริง
 
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ฟักแตงโมเป็นพืชในวงศ์วงศ์แตงเช่นเดียวกับบวบ
ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Citrullus lanatus เสื่อ ฮิโระ Et ภาษาอังกฤษเรียกน้ำแตงภาคเหนือเรียกมะเต้าภาคใต้เรียกแตงจีน
แตงโมเป็นพืชล้มลุกประเภทเถาเลื้อยโตเร็วลักษณะทั่วไปคล้ายแตงชนิดอื่นๆ แต่ใบมีลักษณะพิเศษกว่าแตงอื่น ๆ ที่มักเป็นแผ่นเดียวกันตลอดใบแตงโมเป็นแฉก ๆ แคบ ๆ ไม่ค่อยเป็นระเบียบดอกมี 2 เพศแยกจากกันบนต้นเดียวกัน ผลอ่อนสีเขียวผลแก่อาจมีสีผิวเขียวอ่อนเขียวแก่น้ำเงินแก่เขียวลายขาวฯลฯ ลักษณะผลมีทั้งกลมรูปไข่หรือทรงกระบอกยาวหัวท้ายมนฯลฯ มีขนาดตั้งแต่ค่อนข้างเล็กไปจนโตหลายกิโลกรัมสีของเนื้อเมื่ออ่อนสีขาว เหลืองชมพูและแดงเมล็ดแบนเปลือกหนากว่าแตงกวาสีเปลือกเมล็ดมีทั้งสีน้ำตาลอ่อนไปถึงเข้าและสีดำเนื้อในเมล็ดสีขาวเนื้อในผลแตงโมมีลักษณะฉ่ำน้ำรสหวานมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับพันธุ์และการดูแลรักษา
ถิ่นกำเนิดดั้งเดิมของแตงโมอยู่ในเขตร้อนที่ภาคใต้ของทวีปอัฟริกาแตงโมจึงคล้ายกับน้ำเต้าในด้านถิ่นกำเนิดและการแพร่กระจายไปทั่วโลกตั้งแต่ยุคโบราณก่อนประวัติศาสตร์ในอียิปต์ 4โอสปีมาแล้วสำหรับประเทศไทยคงปลูกแตงโมมานับร้อยนับพันปีเช่นกันเพราะคนไทยติดต่อค้าขายกับคนต่างชาติและแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมกันมากว่าพันปีแล้วมีผู้สันนิษฐานว่าไทยรับแตงโมมาจากจีนชาวใต้จึงเรียกแตงจีน ผลอุลิตซึ่งเป็นราชาศัพท์มาจากภาษาเขมรส่วนในหนังสืออักราภิธานศรับท์พศ.2416 เรียกทั้งแตงโมและปูลิต(คงกลายมาจากอุลิต)แม้แต่ในตำราแม่ครัวหัวป่าก์นั้น ๆ ท่านผู้หญิงเปลี่ยนภาสกรวงษ์ก็เรียกชื่อตำรับอาหารว่า "ผัดปลาแห้งแตงอุลิต" เช่นเดียวกัน
มีเรื่องราวของบุคคลสำคัญในประวัติศาสตร์ไทยท่านหนึ่งเกี่ยวข้องกับความเชื่อนี้ผู้อ่านที่มีอายุ 40 ปีขึ้นไปคงเคยเรียนเกี่ยวกับเรื่องของสมเด็จเจ้าแตงโมในแบบเรียนชั้นมัธยมสมเด็จเจ้าแตงโมหรือพระสุวัณมุนี มีชื่อเสียงว่าเป็นผู้มีสติปัญญาสูงยิ่งประวัติในวัยเด็กที่เกี่ยวข้องกับแตงโมคือช่วงเป็นเด็กอยู่ที่จังหวัดเพชรบุรีนั้นท่านยากจนวันหนึ่งเมื่อเล่นน้ำกับเพื่อนๆในแม่น้ำ เพื่อนๆจึงเรียกชื่อว่า "เจ้าแตงโม" มาตั้งแต่นั้นแสดงว่าท่านชอบกินแตงโมมาตั้งแต่เด็ก
แตงโมเป็นผลไม่ยอดนิยมของคนไทย (และของชาวโลก) มานับพันปีจนถึงปัจจุบันคนไทยมีพันธุ์แตงโมที่นิยมกันมากเปลี่ยนไปตามยุคสมัยเช่นแตงโมบางละมุงเมื่อราว 1oo ปีก่อนมาเป็นแตงโมบางเบิดหม่อมเจ้าสิทธิพรกฤดากร เมื่อราว 70 ปีที่แล้วมาจากนั้นก็มาถึงยุคแตงหมอน (ชาล์ลตันเกรย์) ผลยาวหัวท้ายมนคล้ายหมอนข้างและแตงดำ (ชูก้าร์เบบี้) ผลกลมเปลือกสีเขียวเข้มเกือบดำมีเมื่อราว 40 ปีก่อนจนกระทั่งถึงยุคแตงโมจินตหรา แตงโมก็ยังไม่เสื่อมคลายความนิยมแม้บางครั้งจะถูกข่าวลือที่รุนแรงบ่อนทำลายขนาดเชื่อว่าหากกินแตงโมแล้วจะทำให้เป็นโรคจู๋ (อวัยวะเพศของผู้ชายจะหดหายไป) เมื่อราวปีพศ.2519 มีผลให้คนไทยไม่ค่อยกล้ากินแตงโมไปพักหนึ่งแต่ต่อมาไม่นานคนไทยก็กลับมานิยมกินแตงโมกันมากเหมือนเดิมหรือมากขึ้นกว่าเดิม
คำว่าแตงโมในภาษาไทยภาคกลางนั้นผู้รู้ทางภาษาท่านหนึ่ง (โสมทัตเทเวศน์) อธิบายว่าหมายถึงแตงขนาดใหญ่เนื่องจากเป็นแตงที่มีผลขนาดใหญ่กว่าแตงชนิดอื่น ๆ นับว่าเป็นชื่อที่เหมาะสมมาก หากเราเชื่อว่าการกินเนื้อแตงโมทำให้เกิดสติปัญญาแล้วผู้มีปัญญาย่อมมองเห็นคุณประโยชน์ของแตงโมและไม่เลิกกินเนื้อและเมล็ดแตงโมอย่างแน่นอนแต่นอกจากการกินในฐานะผลไม้และของขบเคี้ยวแล้ว เพื่อให้ได้ประโยชน์จากแตงโมครบถ้วนสมกับเป็นผู้ที่มีปัญญาอย่างแท้จริง
 
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
แตงโม เป็นพืชในวงศ์  Cucurbitaceae เช่นเดียวกับบวบ ฟัก 
ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Citrullus lanatus Mats. Et Nakai ภาษาอังกฤษเรียก Water melon ภาคเหนือเรียก มะเต้า ภาคใต้เรียก แตงจีน 
แตงโมเป็นพืชล้มลุกประเภท เถาเลื้อย โตเร็ว ลักษณะทั่วไปคล้ายแตงชนิดอื่น ๆ แต่ใบมีลักษณะพิเศษกว่าแตงอื่นๆ ที่มักเป็นแผ่นเดียวกันตลอด ใบแตงโมเป็นแฉกๆ แคบๆ ไม่ค่อยเป็นระเบียบ ดอกมี 2 เพศ แยกจากกันบนต้นเดียวกัน กลีบดอกสีเหลืองอ่อน ผลอ่อนสีเขียว ผลแก่อาจมีสีผิวเขียวอ่อน เขียวแก่ น้ำเงินแก่ เขียวลายขาว ฯลฯ ลักษณะผลมีทั้งกลม รูปไข่ หรือทรงกระบอกยาวหัวท้ายมน ฯลฯ มีขนาดตั้งแต่ค่อนข้างเล็กไปจนโตหลายกิโลกรัม สีของเนื้อเมื่ออ่อนสีขาว เมื่อแก่จัดมีทั้งสีขาว เหลือง ชมพูและแดง เมล็ดแบน เปลือกหนากว่าแตงกวา สีเปลือกเมล็ดมีทั้งสีน้ำตาลอ่อนไปถึงเข้าและสีดำ เนื้อในเมล็ดสีขาว เนื้อในผลแตงโมมีลักษณะฉ่ำน้ำ รสหวานมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับพันธุ์และการดูแลรักษา 
ถิ่นกำเนิด ดั้งเดิมของแตงโมอยู่ในเขตร้อนที่ภาคใต้ของทวีปอัฟริกา แตงโมจึงคล้ายกับน้ำเต้าในด้านถิ่นกำเนิดและการแพร่กระจายไปทั่วโลก ตั้งแต่ยุคโบราณก่อนประวัติศาสตร์ในอียิปต์ พบข้อความบันทึกเกี่ยวกับแตงโมมีอายุกว่า 4,ooo ปีมาแล้ว สำหรับประเทศไทยคงปลูกแตงโมมานับร้อยนับพันปีเช่นกัน เพราะคนไทยติดต่อค้าขายกับคนต่างชาติและแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมกันมากว่าพันปีแล้ว มีผู้สันนิษฐานว่าไทยรับแตงโมมาจากจีนชาวใต้จึงเรียกแตงจีน ในพงศาวดารสมัยกรุงศรีอยุธยามีเรื่องราวเกี่ยวกับแตงโมปรากฏอยู่ในสมัยแผ่นดินสมเด็จพระเพทราชาเรียกว่า ผลอุลิต ซึ่งเป็นราชาศัพท์มาจากภาษาเขมร ส่วนในหนังสืออักราภิธานศรับท์ พ.ศ.2416 เรียกทั้งแตงโมและปูลิต(คงกลายมาจากอุลิต) แม้แต่ในตำรา แม่ครัวหัวป่าก์ ของ ท่านผู้หญิงเปลี่ยน ภาสกรวงษ์ ก็เรียกชื่อตำรับอาหารว่า “ผัดปลาแห้งแตงอุลิต” เช่นเดียวกัน 
มีเรื่องราวของบุคคลสำคัญในประวัติศาสตร์ไทยท่านหนึ่งเกี่ยวข้องกับความเชื่อนี้ ผู้อ่านที่มีอายุ 40 ปีขึ้นไปคงเคยเรียนเกี่ยวกับเรื่องของ สมเด็จเจ้าแตงโม ในแบบเรียนชั้นมัธยม สมเด็จเจ้าแตงโมหรือพระสุวัณมุนี เป็นพระภิกษุในสมัยกรุงศรีอยุธยารัชกาลพระเจ้าเสือ มีชื่อเสียงว่าเป็นผู้มีสติปัญญาสูงยิ่ง ประวัติในวัยเด็กที่เกี่ยวข้องกับแตงโมคือ ช่วงเป็นเด็กอยู่ที่จังหวัดเพชรบุรีนั้นท่านยากจน วันหนึ่งเมื่อเล่นน้ำกับเพื่อนๆในแม่น้ำ เห็นเปลือกแตงโมลอยน้ำมาจึงคว้าเอาลงไปแอบกินใต้น้ำ เพื่อนๆจึงเรียกชื่อว่า “เจ้าแตงโม” มาตั้งแต่นั้น แสดงว่าท่านชอบกินแตงโมมาตั้งแต่เด็ก 
แตงโมเป็นผลไม่ยอดนิยมของคนไทย(และของชาวโลก)มานับพันปีจนถึงปัจจุบัน คนไทยมีพันธุ์แตงโมที่นิยมกันมากเปลี่ยนไปตามยุคสมัย เช่น แตงโมบางละมุง เมื่อราว 1oo ปีก่อน มาเป็นแตงโมบางเบิด หม่อมเจ้าสิทธิพร กฤดากร นำพันธุ์แตงโมมาจากประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อราว 70 ปีที่แล้วมา จากนั้นก็มาถึงยุคแตงหมอน (ชาล์ลตัน เกรย์) ผลยาว หัวท้ายมนคล้ายหมอนข้าง และแตงดำ (ชูก้าร์ เบบี้) ผลกลม เปลือกสีเขียวเข้มเกือบดำ มีเมื่อราว 40  ปีก่อน จนกระทั่งถึงยุค แตงโมจินตหรา ซึ่งเอาชื่อมาจากดาราสาวสวยในปัจจุบัน แตงโมก็ยังไม่เสื่อมคลายความนิยมแม้บางครั้งจะถูกข่าวลือที่รุนแรงบ่อนทำลายขนาดเชื่อว่า หากกินแตงโมแล้วจะทำให้เป็นโรคจู๋ (อวัยวะเพศของผู้ชายจะหดหายไป) เมื่อราวปี พ.ศ.2519  มีผลให้คนไทยไม่ค่อยกล้ากินแตงโมไปพักหนึ่ง แต่ต่อมาไม่นานคนไทยก็กลับมานิยมกินแตงโมกันมากเหมือนเดิมหรือมากขึ้นกว่าเดิม 
คำว่าแตงโมในภาษาไทยภาคกลางนั้น ผู้รู้ทางภาษาท่านหนึ่ง (โสมทัต เทเวศน์) อธิบายว่า หมายถึงแตงขนาดใหญ่ เนื่องจากเป็นแตงที่มีผลขนาดใหญ่กว่าแตงชนิดอื่นๆ นับว่าเป็นชื่อที่เหมาะสมมาก คนไทยคงนิยมกินเนื้อแตงโมเป็นผลไม้และเมล็ดแตงโมเป็นของขบเคี้ยวกันต่อไปอีกนานเท่านาน 
หากเราเชื่อว่าการกินเนื้อแตงโมทำให้เกิดสติปัญญาแล้ว ผู้มีปัญญาย่อมมองเห็นคุณประโยชน์ของแตงโมและไม่เลิกกินเนื้อและเมล็ดแตงโมอย่างแน่นอน แต่นอกจากการกินในฐานะผลไม้และของขบเคี้ยวแล้ว คนไทยน่าจะฟื้นความนิยมแตงโมขึ้นมาในฐานะผักอีกด้านหนึ่งด้วย เพื่อให้ได้ประโยชน์จากแตงโมครบถ้วน สมกับเป็นผู้ที่มีปัญญาอย่างแท้จริง
 
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
แตงโม เป็นพืชในวงศ์  Cucurbitaceae เช่นเดียวกับบวบฟัก 
ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า  citrullus lanatus เสื่อ และ นากาภาษาอังกฤษเรียกแตงโมภาคเหนือเรียกมะเต้าภาคใต้เรียกแตงจีน 
แตงโมเป็นพืชล้มลุกประเภท เถาเลื้อยโตเร็วลักษณะทั่วไปคล้ายแตงชนิดอื่นจะแต่ใบมีลักษณะพิเศษกว่าแตงอื่นๆที่มักเป็นแผ่นเดียวกันตลอดใบแตงโมเป็นแฉกๆแคบๆไม่ค่อยเป็นระเบียบดอกมี 2 เพศแยกจากกันบนต้นเดียวกันผลอ่อนสีเขียวผลแก่อาจมีสีผิวเขียวอ่อนเขียวแก่น้ำเงินแก่เขียวลายขาวฯลฯลักษณะผลมีทั้งกลมรูปไข่หรือทรงกระบอกยาวหัวท้ายมนฯลฯมีขนาดตั้งแต่ค่อนข้างเล็กไปจนโตหลายกิโลกรัมสีของเนื้อเมื่ออ่อนสีขาวเหลืองชมพูและแดงเมล็ดแบนเปลือกหนากว่าแตงกวาสีเปลือกเมล็ดมีทั้งสีน้ำตาลอ่อนไปถึงเข้าและสีดำเนื้อในเมล็ดสีขาวเนื้อในผลแตงโมมีลักษณะฉ่ำน้ำรสหวานมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับพันธุ์และการดูแลรักษา 
ถิ่นกำเนิด ดั้งเดิมของแตงโมอยู่ในเขตร้อนที่ภาคใต้ของทวีปอัฟริกาแตงโมจึงคล้ายกับน้ำเต้าในด้านถิ่นกำเนิดและการแพร่กระจายไปทั่วโลกตั้งแต่ยุคโบราณก่อนประวัติศาสตร์ในอียิปต์4อูปีมาแล้วสำหรับประเทศไทยคงปลูกแตงโมมานับร้อยนับพันปีเช่นกันเพราะคนไทยติดต่อค้าขายกับคนต่างชาติและแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมกันมากว่าพันปีแล้วมีผู้สันนิษฐานว่าไทยรับแตงโมมาจากจีนชาวใต้จึงเรียกแตงจีนผลอุลิตซึ่งเป็นราชาศัพท์มาจากภาษาเขมรส่วนในหนังสืออักราภิธานศรับท์พ .ศ . 2416 เรียกทั้งแตงโมและปูลิต ( คงกลายมาจากอุลิต ) แม้แต่ในตำราแม่ครัวหัวป่าก์ของท่านผู้หญิงเปลี่ยนภาสกรวงษ์ก็เรียกชื่อตำรับอาหารว่า " ผัดปลาแห้งแตงอุลิต " เช่นเดียวกัน 
มีเรื่องราวของบุคคลสำคัญในประวัติศาสตร์ไทยท่านหนึ่งเกี่ยวข้องกับความเชื่อนี้ผู้อ่านที่มีอายุ 40 ปีขึ้นไปคงเคยเรียนเกี่ยวกับเรื่องของสมเด็จเจ้าแตงโมในแบบเรียนชั้นมัธยมสมเด็จเจ้าแตงโมหรือพระสุวัณมุนีมีชื่อเสียงว่าเป็นผู้มีสติปัญญาสูงยิ่งประวัติในวัยเด็กที่เกี่ยวข้องกับแตงโมคือช่วงเป็นเด็กอยู่ที่จังหวัดเพชรบุรีนั้นท่านยากจนวันหนึ่งเมื่อเล่นน้ำกับเพื่อนๆในแม่น้ำเพื่อนๆจึงเรียกชื่อว่า " เจ้าแตงโม " มาตั้งแต่นั้นแสดงว่าท่านชอบกินแตงโมมาตั้งแต่เด็ก 
แตงโมเป็นผลไม่ยอดนิยมของคนไทย ( และของชาวโลก ) มานับพันปีจนถึงปัจจุบันคนไทยมีพันธุ์แตงโมที่นิยมกันมากเปลี่ยนไปตามยุคสมัยเช่นแตงโมบางละมุงเมื่อราว 1oo ปีก่อนมาเป็นแตงโมบางเบิดหม่อมเจ้าสิทธิพรกฤดากรเมื่อราว 70 ปีที่แล้วมาจากนั้นก็มาถึงยุคแตงหมอน ( ชาล์ลตันเกรย์ ) ผลยาวหัวท้ายมนคล้ายหมอนข้างและแตงดำ ( ชูก้าร์เบบี้ ) ผลกลมเปลือกสีเขียวเข้มเกือบดำมีเมื่อราว 40 ไหมปีก่อนจนกระทั่งถึงยุคแตงโมจินตหราแตงโมก็ยังไม่เสื่อมคลายความนิยมแม้บางครั้งจะถูกข่าวลือที่รุนแรงบ่อนทำลายขนาดเชื่อว่าหากกินแตงโมแล้วจะทำให้เป็นโรคจู๋ ( อวัยวะเพศของผู้ชายจะหดหายไป ) เมื่อราวปีพ .ศดวงรึเปล่ามีผลให้คนไทยไม่ค่อยกล้ากินแตงโมไปพักหนึ่งแต่ต่อมาไม่นานคนไทยก็กลับมานิยมกินแตงโมกันมากเหมือนเดิมหรือมากขึ้นกว่าเดิม 
.คำว่าแตงโมในภาษาไทยภาคกลางนั้นผู้รู้ทางภาษาท่านหนึ่ง ( โสมทัตเทเวศน์ ) อธิบายว่าหมายถึงแตงขนาดใหญ่เนื่องจากเป็นแตงที่มีผลขนาดใหญ่กว่าแตงชนิดอื่นๆนับว่าเป็นชื่อที่เหมาะสมมากหากเราเชื่อว่าการกินเนื้อแตงโมทำให้เกิดสติปัญญาแล้วผู้มีปัญญาย่อมมองเห็นคุณประโยชน์ของแตงโมและไม่เลิกกินเนื้อและเมล็ดแตงโมอย่างแน่นอนแต่นอกจากการกินในฐานะผลไม้และของขบเคี้ยวแล้วเพื่อให้ได้ประโยชน์จากแตงโมครบถ้วนสมกับเป็นผู้ที่มีปัญญาอย่างแท้จริง
 
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: