หนังสือมีข้อมูลเท่าที่หนังสือได้พิมพ์เอาไว้ ไม่มากไปกว่านั้น ถ้าอยากได การแปล - หนังสือมีข้อมูลเท่าที่หนังสือได้พิมพ์เอาไว้ ไม่มากไปกว่านั้น ถ้าอยากได ไทย วิธีการพูด

หนังสือมีข้อมูลเท่าที่หนังสือได้พิม

หนังสือมีข้อมูลเท่าที่หนังสือได้พิมพ์เอาไว้ ไม่มากไปกว่านั้น ถ้าอยากได้มากกว่านั้นต้องไปหาเพิ่ม ซึ่งต้องใช้ทรัพยากรมาก(ค่าเดินทาง ค่าซื้อหนังสือ/เช่า/ยืม เสียเวลา)

อินเตอร์เนต ข้อมูลมีจำนวนมหาศาล อ่านเพจนี้แล้วข้อมูลขาด ก็นั่งกดๆหาไปได้โดยไม่ต้องเดินทาง ไม่ต้องเสียค่าเช่ายืม ไม่ต้องเสียเวลา (คือเสียเหมือนกันแต่เสียน้อยกว่าหนังสือ)

หนังสือเมื่อไปห้องสมุดเมื่อเราค้นหาหนังสือก็ต้องเดินไปที่ชั้น หนังสือจะอยู่หรือเปล่าก็ไม่รู้ อินเตอร์เนตเมื่อค้นแล้วก็คลิกเข้าไปดูได้เลย ถ้าเพจเจ๊งก็ดูเพจอื่น

ข้อเสียของอินเตอร์เนตที่สู้หนังสือไม่ได้ก็แค่ข้อมูลในหนังสือจะแน่นกว่า มีความน่าเชื่อถือมากกว่า(หนังสือวิชาการ) เพราะอินเตอร์เนตใครๆก็เขียนก็แก้หรือปั้นแต่งข้อมูลขึ้นมาได้ การรับข้อมูลจากอินเตอร์เนตต้องมีการตรวจสอบก่อนนำไปใช้(จริงๆหนังสือก็ต้องตรวจสอบเหมือนกันเพราะอาจเป็นหนังสือเก่าที่ทฤษฎีโดนลบล้างไปแล้วได้ ถ้าโดนเล่นประเด็นนี้ก็เอาตรงนี้ไปค้าน)

อีกอย่างที่อินเตอร์เนตด้อยกว่าคือพวกหนังสือที่มีลิขสิทธิ์ คนไม่ก๊อปบทความไปลงเนต หาอ่านในเนตไม่ได้ ยังไงก็ต้องซื้อหนังสืออยู่ดี ซึ่งหนังสือโดยส่วนใหญ่ก็จะเป็นแบบนี้คือไม่มีใครบ้าจี้แสกนหรือนั่งพิมพ์ลงในเนตหรอก ถ้าโดนเล่นประเด็นนี้ก็บอกไปว่าในปัจจุบันอินเตอร์เนตก็มีนักเขียนมากมายที่มีเนื้อหาเฉพาะที่หาอ่านได้แต่ในเนตเท่านั้น เนื่องจากไม่ได้มุ่งเน้นการหารายได้ หรือเป็นเนื้อหาที่ไม่สามารถตีพิมพ์ได้เพราะปัจจัยด้านการตลาดหรือกฎหมาย อะไรก็ว่าไป
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
หนังสือมีข้อมูลเท่าที่หนังสือได้พิมพ์เอาไว้ไม่มากไปกว่านั้นถ้าอยากได้มากกว่านั้นต้องไปหาเพิ่มซึ่งต้องใช้ทรัพยากรมาก (ค่าเดินทางค่าซื้อหนังสือ/เช่า/ยืมเสียเวลา)

อินเตอร์เนตข้อมูลมีจำนวนมหาศาลอ่านเพจนี้แล้วข้อมูลขาดก็นั่งกดๆหาไปได้โดยไม่ต้องเดินทางไม่ต้องเสียค่าเช่ายืมไม่ต้องเสียเวลา (คือเสียเหมือนกันแต่เสียน้อยกว่าหนังสือ)

หนังสือเมื่อไปห้องสมุดเมื่อเราค้นหาหนังสือก็ต้องเดินไปที่ชั้นหนังสือจะอยู่หรือเปล่าก็ไม่รู้อินเตอร์เนตเมื่อค้นแล้วก็คลิกเข้าไปดูได้เลยถ้าเพจเจ๊งก็ดูเพจอื่น

ข้อเสียของอินเตอร์เนตที่สู้หนังสือไม่ได้ก็แค่ข้อมูลในหนังสือจะแน่นกว่ามีความน่าเชื่อถือมากกว่า(หนังสือวิชาการ)เพราะอินเตอร์เนตใครๆก็เขียนก็แก้หรือปั้นแต่งข้อมูลขึ้นมาได้ ถ้าโดนเล่นประเด็นนี้ก็เอาตรงนี้ไปค้าน)

อีกอย่างที่อินเตอร์เนตด้อยกว่าคือพวกหนังสือที่มีลิขสิทธิ์คนไม่ก๊อปบทความไปลงเนตหาอ่านในเนตไม่ได้ยังไงก็ต้องซื้อหนังสืออยู่ดี ถ้าโดนเล่นประเด็นนี้ก็บอกไปว่าในปัจจุบันอินเตอร์เนตก็มีนักเขียนมากมายที่มีเนื้อหาเฉพาะที่หาอ่านได้แต่ในเนตเท่านั้นเนื่องจากไม่ได้มุ่งเน้นการหารายได้ อะไรก็ว่าไป
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
หนังสือมีข้อมูลเท่าที่หนังสือได้พิมพ์เอาไว้ ไม่มากไปกว่านั้น ถ้าอยากได้มากกว่านั้นต้องไปหาเพิ่ม ซึ่งต้องใช้ทรัพยากรมาก(ค่าเดินทาง ค่าซื้อหนังสือ/เช่า/ยืม เสียเวลา)

อินเตอร์เนต ข้อมูลมีจำนวนมหาศาล อ่านเพจนี้แล้วข้อมูลขาด ก็นั่งกดๆหาไปได้โดยไม่ต้องเดินทาง ไม่ต้องเสียค่าเช่ายืม ไม่ต้องเสียเวลา (คือเสียเหมือนกันแต่เสียน้อยกว่าหนังสือ)

หนังสือเมื่อไปห้องสมุดเมื่อเราค้นหาหนังสือก็ต้องเดินไปที่ชั้น หนังสือจะอยู่หรือเปล่าก็ไม่รู้ อินเตอร์เนตเมื่อค้นแล้วก็คลิกเข้าไปดูได้เลย ถ้าเพจเจ๊งก็ดูเพจอื่น

ข้อเสียของอินเตอร์เนตที่สู้หนังสือไม่ได้ก็แค่ข้อมูลในหนังสือจะแน่นกว่า มีความน่าเชื่อถือมากกว่า(หนังสือวิชาการ) เพราะอินเตอร์เนตใครๆก็เขียนก็แก้หรือปั้นแต่งข้อมูลขึ้นมาได้ การรับข้อมูลจากอินเตอร์เนตต้องมีการตรวจสอบก่อนนำไปใช้(จริงๆหนังสือก็ต้องตรวจสอบเหมือนกันเพราะอาจเป็นหนังสือเก่าที่ทฤษฎีโดนลบล้างไปแล้วได้ ถ้าโดนเล่นประเด็นนี้ก็เอาตรงนี้ไปค้าน)

อีกอย่างที่อินเตอร์เนตด้อยกว่าคือพวกหนังสือที่มีลิขสิทธิ์ คนไม่ก๊อปบทความไปลงเนต หาอ่านในเนตไม่ได้ ยังไงก็ต้องซื้อหนังสืออยู่ดี ซึ่งหนังสือโดยส่วนใหญ่ก็จะเป็นแบบนี้คือไม่มีใครบ้าจี้แสกนหรือนั่งพิมพ์ลงในเนตหรอก ถ้าโดนเล่นประเด็นนี้ก็บอกไปว่าในปัจจุบันอินเตอร์เนตก็มีนักเขียนมากมายที่มีเนื้อหาเฉพาะที่หาอ่านได้แต่ในเนตเท่านั้น เนื่องจากไม่ได้มุ่งเน้นการหารายได้ หรือเป็นเนื้อหาที่ไม่สามารถตีพิมพ์ได้เพราะปัจจัยด้านการตลาดหรือกฎหมาย อะไรก็ว่าไป
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
หนังสือมีข้อมูลเท่าที่หนังสือได้พิมพ์เอาไว้ไม่มากไปกว่านั้นถ้าอยากได้มากกว่านั้นต้องไปหาเพิ่มซึ่งต้องใช้ทรัพยากรมาก ( ค่าเดินทางค่าซื้อหนังสือ / เช่า / ยืมเสียเวลา )

อินเตอร์เนตข้อมูลมีจำนวนมหาศาลอ่านเพจนี้แล้วข้อมูลขาดก็นั่งกดๆหาไปได้โดยไม่ต้องเดินทางไม่ต้องเสียค่าเช่ายืมไม่ต้องเสียเวลา ( คือเสียเหมือนกันแต่เสียน้อยกว่าหนังสือ )

หนังสือเมื่อไปห้องสมุดเมื่อเราค้นหาหนังสือก็ต้องเดินไปที่ชั้นหนังสือจะอยู่หรือเปล่าก็ไม่รู้อินเตอร์เนตเมื่อค้นแล้วก็คลิกเข้าไปดูได้เลยถ้าเพจเจ๊งก็ดูเพจอื่น

ข้อเสียของอินเตอร์เนตที่สู้หนังสือไม่ได้ก็แค่ข้อมูลในหนังสือจะแน่นกว่ามีความน่าเชื่อถือมากกว่า ( หนังสือวิชาการ ) เพราะอินเตอร์เนตใครๆก็เขียนก็แก้หรือปั้นแต่งข้อมูลขึ้นมาได้ถ้าโดนเล่นประเด็นนี้ก็เอาตรงนี้ไปค้าน )

อีกอย่างที่อินเตอร์เนตด้อยกว่าคือพวกหนังสือที่มีลิขสิทธิ์คนไม่ก๊อปบทความไปลงเนตหาอ่านในเนตไม่ได้ยังไงก็ต้องซื้อหนังสืออยู่ดีถ้าโดนเล่นประเด็นนี้ก็บอกไปว่าในปัจจุบันอินเตอร์เนตก็มีนักเขียนมากมายที่มีเนื้อหาเฉพาะที่หาอ่านได้แต่ในเนตเท่านั้นเนื่องจากไม่ได้มุ่งเน้นการหารายได้อะไรก็ว่าไป
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: