ประเทศไทยมีระบบเศรษฐกิจแบบผสม ซึ่งเป็นระบบที่ประเทศต่างๆ ทั่วโลกนิยมใช การแปล - ประเทศไทยมีระบบเศรษฐกิจแบบผสม ซึ่งเป็นระบบที่ประเทศต่างๆ ทั่วโลกนิยมใช ไทย วิธีการพูด

ประเทศไทยมีระบบเศรษฐกิจแบบผสม ซึ่งเ

ประเทศไทยมีระบบเศรษฐกิจแบบผสม ซึ่งเป็นระบบที่ประเทศต่างๆ ทั่วโลกนิยมใช้กันเป็นส่วนใหญ่ในปัจจุบัน คือ รัฐสามารถเข้าไปมีส่วนในการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศได้ในหลายๆ ส่วน แต่กิจกรรมทางเศรษฐกิจส่วนใหญ่เป็นของเอกชน มีการแข่งขันกันในด้านการผลิตและการขายตามระบบการค้าเสรี
เกษตรกรรม อุตสาหกรรม การท่องเที่ยว การบริการ และทรัพยากรธรรมชาติ เป็นแหล่งรายได้ที่สำคัญของประเทศ โดยการส่งออกสินค้าทางการเกษตรยังคงทำรายได้สูงสุดให้กับประเทศตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน แม้รายได้จากภาคอุตสาหกรรมและการท่องเที่ยวจะมีความสำคัญมากขึ้นในระยะหลังก็ตาม รัฐบาลก็ยังมุ่งเน้นและให้ความสำคัญต่อการพัฒนาการเกษตรเป็นหลัก โดยมีข้าวเป็นผลผลิตและสินค้าที่สำคัญที่สุด ปัจจุบัน The Guinness Book of World Records ได้บันทึก ประเทศไทยเป็นผู้ส่งออกข้าวเป็นอันดับ 1 ของโลก
ส่วนอุตสาหกรรมที่สำคัญก็ได้แก่ อุตสาหกรรมแปรรูปทางการเกษตร สิ่งทอ อิเล็กทรอนิกส์ อุปกรณ์และชิ้นส่วนรถยนต์ และทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญ คือ ดีบุก ก๊าซธรรมชาติ และน้ำมันดิบ
สำหรับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการบริการนั้น สถิติในปี พ.ศ. 2547 ระบุว่ามีนักท่องเที่ยวต่างชาติเข้ามาท่องเที่ยวในประเทศไทยในเวลา 1 ปี เป็นจำนวนถึง 11.65 ล้านคน โดยร้อยละ 56.52 เป็นนักท่องเที่ยวจากประเทศในเขตเอเชียตะวันออกและอาเซียน (เป็นชาวมาเลเซียมากที่สุดถึงร้อยละ 11.97) จากประเทศในทวีปยุโรปร้อยละ 24.29 และจากทวีปอเมริกาเหนือและใต้รวมกันร้อยละ 7.02

ปัจจุบันรัฐบาลมีนโยบายสนับสนุนและส่งเสริมการลงทุนภายในประเทศอย่างจริงจัง ทั้งในด้านการพัฒนาการผลิตเพื่อทดแทนการนำเข้า และการพัฒนาการผลิตเพื่อส่งออก จึงมุ่งเน้นการกระตุ้นให้เกิดการลงทุนในภาคเอกชนเพิ่มขึ้น ซึ่งอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวก็เป็นอีกช่องทางหนึ่งที่สามารถช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจของประเทศได้ ด้วยการชักชวนชาวต่างชาติให้เข้ามาลงทุนทำธุรกิจด้านการท่องเที่ยวในประเทศไทยมากขึ้น
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ประเทศไทยมีระบบเศรษฐกิจแบบผสมซึ่งเป็นระบบที่ประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกนิยมใช้กันเป็นส่วนใหญ่ในปัจจุบันคือรัฐสามารถเข้าไปมีส่วนในการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศได้ในหลาย ๆ ส่วนแต่กิจกรรมทางเศรษฐกิจส่วนใหญ่เป็นของเอกชนมีการแข่งขันกันในด้านการผลิตและการขายตามระบบการค้าเสรีเกษตรกรรมอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวการบริการและทรัพยากรธรรมชาติเป็นแหล่งรายได้ที่สำคัญของประเทศโดยการส่งออกสินค้าทางการเกษตรยังคงทำรายได้สูงสุดให้กับประเทศตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันแม้รายได้จากภาคอุตสาหกรรมและการท่องเที่ยวจะมีความสำคัญมากขึ้นในระยะหลังก็ตามรัฐบาลก็ยังมุ่งเน้นและให้ความสำคัญต่อการพัฒนาการเกษตรเป็นหลักโดยมีข้าวเป็นผลผลิตและสินค้าที่สำคัญที่สุดปัจจุบันหนังสือ Guinness โลกบันทึกได้บันทึกประเทศไทยเป็นผู้ส่งออกข้าวเป็นอันดับ 1 ของโลกส่วนอุตสาหกรรมที่สำคัญก็ได้แก่อุตสาหกรรมแปรรูปทางการเกษตรสิ่งทออิเล็กทรอนิกส์อุปกรณ์และชิ้นส่วนรถยนต์และทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญคือดีบุกก๊าซธรรมชาติและน้ำมันดิบสำหรับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการบริการนั้นสถิติในปีพ.ศ. 2547 ระบุว่ามีนักท่องเที่ยวต่างชาติเข้ามาท่องเที่ยวในประเทศไทยในเวลา 1 ปีเป็นจำนวนถึง 11.65 ล้านคนโดยร้อยละ 56.52 เป็นนักท่องเที่ยวจากประเทศในเขตเอเชียตะวันออกและอาเซียน (เป็นชาวมาเลเซียมากที่สุดถึงร้อยละ 11.97) จากประเทศในทวีปยุโรปร้อยละ 24.29 และจากทวีปอเมริกาเหนือและใต้รวมกันร้อยละ 7.02 ปัจจุบันรัฐบาลมีนโยบายสนับสนุนและส่งเสริมการลงทุนภายในประเทศอย่างจริงจังทั้งในด้านการพัฒนาการผลิตเพื่อทดแทนการนำเข้าและการพัฒนาการผลิตเพื่อส่งออกจึงมุ่งเน้นการกระตุ้นให้เกิดการลงทุนในภาคเอกชนเพิ่มขึ้นซึ่งอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวก็เป็นอีกช่องทางหนึ่งที่สามารถช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจของประเทศได้ด้วยการชักชวนชาวต่างชาติให้เข้ามาลงทุนทำธุรกิจด้านการท่องเที่ยวในประเทศไทยมากขึ้น
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ประเทศไทยมีระบบเศรษฐกิจแบบผสมซึ่งเป็นระบบที่ประเทศต่างๆ คือ ส่วน
อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวการบริการและทรัพยากรธรรมชาติเป็นแหล่งรายได้ที่สำคัญของประเทศ ปัจจุบันหนังสือกินเนสส์เวิลด์เร็กคอร์ดได้บันทึก 1
อุตสาหกรรมแปรรูปทางการเกษตรสิ่งทออิเล็กทรอนิกส์อุปกรณ์และชิ้นส่วนรถยนต์และทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญคือดีบุกก๊าซธรรมชาติ
สถิติในปี พ.ศ. 2547 1 ปีเป็นจำนวนถึง 11.65 ล้านคนโดยร้อยละ 56.52 (เป็นชาวมาเลเซียมากที่สุดถึงร้อยละ 11.97) จากประเทศในทวีปยุโรปร้อยละ 24.29 และการพัฒนาการผลิตเพื่อส่งออก


การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ประเทศไทยมีระบบเศรษฐกิจแบบผสมซึ่งเป็นระบบที่ประเทศต่างๆทั่วโลกนิยมใช้กันเป็นส่วนใหญ่ในปัจจุบันความรัฐสามารถเข้าไปมีส่วนในการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศได้ในหลายๆส่วนมีการแข่งขันกันในด้านการผลิตและการขายตามระบบการค้าเสรี
เกษตรกรรมอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวการบริการและทรัพยากรธรรมชาติเป็นแหล่งรายได้ที่สำคัญของประเทศโดยการส่งออกสินค้าทางการเกษตรยังคงทำรายได้สูงสุดให้กับประเทศตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันรัฐบาลก็ยังมุ่งเน้นและให้ความสำคัญต่อการพัฒนาการเกษตรเป็นหลักโดยมีข้าวเป็นผลผลิตและสินค้าที่สำคัญที่สุดปัจจุบัน Guinness Book ของได้บันทึกประเทศไทยเป็นผู้ส่งออกข้าวเป็นอันดับ 1 ของโลก
บันทึกโลกส่วนอุตสาหกรรมที่สำคัญก็ได้แก่อุตสาหกรรมแปรรูปทางการเกษตรสิ่งทออิเล็กทรอนิกส์อุปกรณ์และชิ้นส่วนรถยนต์และทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญความดีบุกก๊าซธรรมชาติและน้ำมันดิบ
สำหรับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการบริการนั้นสถิติในปีพ . ศ . 2547 ระบุว่ามีนักท่องเที่ยวต่างชาติเข้ามาท่องเที่ยวในประเทศไทยในเวลา 1 . เป็นจำนวนถึง 11.65 ล้านคนโดยร้อยละ 56
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: