4.การแสดงพื้นเมือง เป็นศิลปะแห่งการร่ายรำที่มีทั้งรำ ระบำ หรือการละเล่ การแปล - 4.การแสดงพื้นเมือง เป็นศิลปะแห่งการร่ายรำที่มีทั้งรำ ระบำ หรือการละเล่ ไทย วิธีการพูด

4.การแสดงพื้นเมือง เป็นศิลปะแห่งการ

4.การแสดงพื้นเมือง เป็นศิลปะแห่งการร่ายรำที่มีทั้งรำ ระบำ หรือการละเล่นที่เป็นเอกลักษณ์ของกลุ่มชนตามวัฒนธรรมในแต่ละภูมิภาค ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็นภูมิภาคได้ 4 ภาค ดังนี้
การแสดงพื้นเมืองภาคเหนือ เป็นศิลปะการรำ และการละเล่น หรือที่นิยมเรียกกันทั่วไปว่า“ ฟ้อน ” การฟ้อนเป็นวัฒนธรรมของชาวล้านนา และกลุ่มชนเผ่าต่าง ๆ เช่น ชาวไต ชาวลื้อ ชาวยอง ชาวเขิน เป็นต้น ลักษณะของการฟ้อน แบ่งเป็น 2 แบบ คือ แบบดั้งเดิม และแบบที่ปรับปรุงขึ้นใหม่ แต่ยังคงมีการรักษาเอกลักษณ์ทางการแสดงไว้คือ มีลีลาท่ารำที่แช่มช้า อ่อนช้อยมีการแต่งกายตามวัฒนธรรมท้องถิ่นที่สวยงามประกอบกับการบรรเลงและขับร้องด้วยวงดนตรีพื้นบ้าน เช่น วงสะล้อ ซอ ซึง วงปู่เจ่ วงกลองแอว เป็นต้น โอกาสที่แสดงมักเล่นกันในงานประเพณี หรือต้อนรับแขกบ้านแขกเมือง ได้แก่ ฟ้อนเล็บ ฟ้อนเทียน ฟ้อนครัวทาน ฟ้อนสาวไหม และฟ้อนเจิง
การแสดงพื้นเมืองภาคกลาง เป็นศิลปะการรำและการละเล่นของชนชาวพื้นเมืองภาคกลาง ซึ่งส่วนใหญ่มีอาชีพเกี่ยวกับเกตรกรรม ศิลปะการแสดงจึงมีความสอดคล้องกับวิถีและเพื่อความบันเทิงสนุกสนาน เป็นการพักผ่อนหย่อนใจจากการทำงาน หรือเมื่อเสร็จจากเทศกาลฤดูเก็บเกี่ยว เช่น การเล่นเพลงเกี่ยวข้าว เต้นกำรำเคียว รำโทนหรือรำวง รำเถิดเทิง รำกลองยาว เป็นต้น มีการแต่งกายตามวัฒนธรรมของท้องถิ่น และใช้เครื่องดนตรีพื้นบ้าน เช่น กลองยาว กลองโทน ฉิ่ง ฉาบ กรับ และโหม่ง
การแสดงพื้นเมืองภาคอีสาน เป็นศิลปะการรำและการละเล่นของชาวพื้นบ้านภาคอีสาน หรือภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย แบ่งได้เป็น 2 กลุ่มวัฒนธรรมใหญ่ๆ คือ กลุ่มอีสานเหนือ มีวัฒนธรรมไทยลาวซึ่งมักเรียกการละเล่นว่า “ เซิ้ง ฟ้อน และหมอรำ “ เช่น เซิ้งบั้งไฟ เซิ้งสวิง ฟ้อนภูไท ลำกลอนเกี้ยว ลำเต้ย ซึ่งใช้เครื่องดนตรีพื้นบ้สนประกอบ ได้แก่ แคน พิณ ซอ กลองยาวอีสาน ฉิ่ง ฉาบ ฆ้องและกรับ ภายหลังเพิ่มเติมโปงลางและโหวดเข้ามาด้วย ส่วนกลุ่มอีสานใต้ได้รับอิทธิพลไทยเขมร มีการละเล่นที่เรียกว่า เรือม หรือ เร็อม เช่น เรือมลูดอันเร หรือรำกระทบสาก รำกระโน็บติงต๊อง หรือระบำตั๊กแตนตำข้าว รำอาไย หรือรำตัด หรือเพลงอีแซวแบบภาคกลาง วงดนตรีที่ใช้บรรเลงคือ วงมโหรีอีสานใต้ มีเครื่องดนตรีคือ ซอด้วง ซอตรัวเอก กลองกันตรึม พิณ ระนาดเอกไม้ ปี่สไล กลองรำมะนาและเครื่องประกอบจังหวะ การแต่งกายประกอบการแสดงเป็นไปตามวัฒรธรรมพื้นบ้าน ลักษณะที่รำและท่วงทำนองดนตรีในการแสดงค่อนข้างกระชับ รวดเร็วและสนุกสนาน
การแสดงพื้นเมืองภาคใต้ เป็นศิลปะการรำและการละเล่นของชาวพื้นเมืองภาคใต้อาจแบ้งตามกลุ่มวัฒนธรรมได้ 2 กลุ่มคือ วัฒนธรรมไทยพุทธ ได้แก่ การแสดงโนรา หนังตะลุง เพลงบอก เพลงนา และวัฒนธรรมไทยมุสลิม ได้แก่ รองเง็ง ซำเปง มะโย่ง ( การแสดงละคร ) ลิเกฮูลู ( คล้ายลิเกภาคกลาง ) และซิละ มีเครื่องดนตรีประกอบที่สำคัญ เช่น กลองโนรา กลองโพน กลองปืด กลองโทน ทับ กรับพวง โหม่ง ปี่กาหลอ ปี่ไหน รำมะนา ไวโอลิน อัคคอร์เดียน ภายหลังได้มีระบำที่ปรับปรุงจากกิจกรรมในวิถีชีวิต ศิลปาชีพต่างๆ เช่น ระบำร่อนแร่ กรีดยาง ปาเต๊ะ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
4.การแสดงพื้นเมือง เป็นศิลปะแห่งการร่ายรำที่มีทั้งรำระบำหรือการละเล่นที่เป็นเอกลักษณ์ของกลุ่มชนตามวัฒนธรรมในแต่ละภูมิภาคซึ่งสามารถแบ่งออกเป็นภูมิภาคได้ 4 ภาคดังนี้การแสดงพื้นเมืองภาคเหนือเป็นศิลปะการรำและการละเล่นหรือที่นิยมเรียกกันทั่วไปว่า"ฟ้อน"การฟ้อนเป็นวัฒนธรรมของชาวล้านนาและกลุ่มชนเผ่าต่างๆ เช่นชาวไตชาวลื้อชาวยองชาวเขินเป็นต้นลักษณะของการฟ้อนแบ่งเป็น 2 คำประกอบคือแบบดั้งเดิมและแบบที่ปรับปรุงขึ้นใหม่แต่ยังคงมีการรักษาเอกลักษณ์ทางการแสดงไว้คือมีลีลาท่ารำที่แช่มช้าอ่อนช้อยมีการแต่งกายตามวัฒนธรรมท้องถิ่นที่สวยงามประกอบกับการบรรเลงและขับร้องด้วยวงดนตรีพื้นบ้านเช่นวงสะล้อซอซึงวงปู่เจ่วงกลองแอวเป็นต้นโอกาสที่แสดงมักเล่นกันในงานประเพณีหรือต้อนรับแขกบ้านแขกเมืองได้แก่ฟ้อนเล็บฟ้อนเทียนฟ้อนครัวทานฟ้อนสาวไหมและฟ้อนเจิงการแสดงพื้นเมืองภาคกลางเป็นศิลปะการรำและการละเล่นของชนชาวพื้นเมืองภาคกลางซึ่งส่วนใหญ่มีอาชีพเกี่ยวกับเกตรกรรมศิลปะการแสดงจึงมีความสอดคล้องกับวิถีและเพื่อความบันเทิงสนุกสนานเป็นการพักผ่อนหย่อนใจจากการทำงานหรือเมื่อเสร็จจากเทศกาลฤดูเก็บเกี่ยวเช่นการเล่นเพลงเกี่ยวข้าวเต้นกำรำเคียวรำโทนหรือรำวงรำเถิดเทิงรำกลองยาวเป็นต้นมีการแต่งกายตามวัฒนธรรมของท้องถิ่นและใช้เครื่องดนตรีพื้นบ้านเช่นกลองยาวกลองโทนฉิ่งฉาบกรับและโหม่งการแสดงพื้นเมืองภาคอีสานเป็นศิลปะการรำและการละเล่นของชาวพื้นบ้านภาคอีสานหรือภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทยแบ่งได้เป็น 2 กลุ่มวัฒนธรรมใหญ่ ๆ คือกลุ่มอีสานเหนือมีวัฒนธรรมไทยลาวซึ่งมักเรียกการละเล่นว่า "เซิ้งฟ้อนและหมอรำ" เช่นเซิ้งบั้งไฟเซิ้งสวิงฟ้อนภูไทลำกลอนเกี้ยวลำเต้ยซึ่งใช้เครื่องดนตรีพื้นบ้สนประกอบได้แก่แคนพิณซอกลองยาวอีสานฉิ่งฉาบฆ้องและกรับภายหลังเพิ่มเติมโปงลางและโหวดเข้ามาด้วยส่วนกลุ่มอีสานใต้ได้รับอิทธิพลไทยเขมรมีการละเล่นที่เรียกว่าเรือมหรือเร็อมเช่นเรือมลูดอันเรหรือรำกระทบสากรำกระโน็บติงต๊องหรือระบำตั๊กแตนตำข้าวรำอาไยหรือรำตัดหรือเพลงอีแซวแบบภาคกลางวงดนตรีที่ใช้บรรเลงคือวงมโหรีอีสานใต้มีเครื่องดนตรีคือซอด้วงซอตรัวเอกกลองกันตรึมพิณระนาดเอกไม้ปี่สไลกลองรำมะนาและเครื่องประกอบจังหวะการแต่งกายประกอบการแสดงเป็นไปตามวัฒรธรรมพื้นบ้านลักษณะที่รำและท่วงทำนองดนตรีในการแสดงค่อนข้างกระชับรวดเร็วและสนุกสนานการแสดงพื้นเมืองภาคใต้เป็นศิลปะการรำและการละเล่นของชาวพื้นเมืองภาคใต้อาจแบ้งตามกลุ่มวัฒนธรรมได้ 2 กลุ่มคือวัฒนธรรมไทยพุทธได้แก่การแสดงโนราหนังตะลุงเพลงบอกเพลงนาและวัฒนธรรมไทยมุสลิมได้แก่รองเง็งซำเปงมะโย่ง (การแสดงละคร) ลิเกฮูลู (คล้ายลิเกภาคกลาง) และซิละมีเครื่องดนตรีประกอบที่สำคัญเช่นกลองโนรากลองโพนกลองปืดกลองโทนทับกรับพวงโหม่งปี่กาหลอปี่ไหนรำมะนาไวโอลินอัคคอร์เดียนภายหลังได้มีระบำที่ปรับปรุงจากกิจกรรมในวิถีชีวิตศิลปาชีพต่าง ๆ เช่นระบำร่อนแร่กรีดยางปาเต๊ะ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
4. การแสดงพื้นเมืองเป็นศิลปะแห่งการร่าย รำที่มีทั้งรำระบำ ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็นภูมิภาคได้ 4 ภาคดังนี้
หัวเรื่อง: การสำคัญแสดงพื้นเมืองภาคเหนือเป็นศิลปะหัวเรื่อง: การรำและการละเล่นหรือที่นิยมเรียกกันทั่วไปการว่าได้ "ฟ้อน" การฟ้อนเป็นวัฒนธรรมของชาวล้านนา และกลุ่มชนเผ่าต่าง ๆ เช่นชาวไตชาวลื้อ ชาวยองชาวเขินเป็นต้นลักษณะของการ ฟ้อนแบ่งเป็น 2 แบบคือแบบดั้งเดิมและแบบที่ปรับปรุง ขึ้นใหม่ มีลีลาท่ารำที่แช่มช้า เช่นวงสะล้อซอซึงวงปู่เจ่ วงกลองแอวเป็นต้น หรือต้อนรับแขกบ้านแขกเมือง ได้แก่ ฟ้อนเล็บ ฟ้อนเทียนฟ้อนครัวทานฟ้อนสาวไหม
เป็นการพักผ่อนหย่อนใจจากการทำงาน เช่นการเล่นเพลงเกี่ยวข้าวเต้นกำรำ เคียวรำโทนหรือรำวงรำเถิดเทิงรำกลองยาวเป็นต้น ใช้เครื่องดนตรีและพื้นบ้านเช่นกลองยาวกลองโทนฉิ่งฉาบกรับโหม่งและ
หัวเรื่อง: การสำคัญแสดงพื้นเมืองภาคอีสาน หรือภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทยแบ่ง ได้เป็น 2 กลุ่มวัฒนธรรมใหญ่ ๆ คือกลุ่มอีสานเหนือ "เซิ้งฟ้อนและหมอรำ" เช่นเซิ้งบั้งไฟเซิ้งสวิงฟ้อนภูไท ลำกลอนเกี้ยวลำเต้ยซึ่งใช้เครื่องดนตรีพื้นบ้สนประกอบ ได้แก่ แคนพิณซอกลองยาวอีสานฉิ่งฉาบฆ้องและกรับ มีการละเล่นที่เรียกว่าเรือมหรือ เร็อมเช่นเรือมลูดอันเรหรือรำกระทบสากรำกระโน็บติงต๊องหรือระบำตั๊กแตนตำข้าวรำอาไยหรือรำตัดหรือเพลงอีแซวแบบภาคกลางวงดนตรีที่ใช้ บรรเลงคือวงมโหรีอีสานใต้มีเครื่องดนตรี คือซอด้วงซอตรัวเอกกลองกันตรึมพิณระนาดเอกไม้ปี่สไลกลองรำมะนาและเครื่องประกอบจังหวะ
2 กลุ่มคือวัฒนธรรมไทยพุทธ ได้แก่ การแสดง โนราหนังตะลุงเพลงบอกเพลงนาและวัฒนธรรมไทยมุสลิม ได้แก่ รองเง็งซำเปงมะโย่ง (การแสดงละคร) ลิเกฮูลู (คล้ายลิเกภาคกลาง) และซิละมีเครื่องดนตรีประกอบที่สำคัญ เช่นกลอง โนรากลองโพนกลองปืดกลองโทน ทับกรับพวงโหม่งปี่กาหลอปี่ไหนรำมะนาไวโอลินอัคคอร์เดียน ศิลปาชีพต่างๆเช่นระบำร่อน แร่กรีดยางปาเต๊ะ
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: