ความเชื่อเกี่ยวกับ วันไหว้พระจันทร์  วันไหว้พระจันทร์ เป็นวันที่พระจัน การแปล - ความเชื่อเกี่ยวกับ วันไหว้พระจันทร์  วันไหว้พระจันทร์ เป็นวันที่พระจัน ไทย วิธีการพูด

ความเชื่อเกี่ยวกับ วันไหว้พระจันทร์

ความเชื่อเกี่ยวกับ วันไหว้พระจันทร์

วันไหว้พระจันทร์ เป็นวันที่พระจันทร์ส่องแสงงดงามที่สุด และเต็มดวงที่สุด ชาวจีนจึงให้พระจันทร์เป็นสัญลักษณ์ของความสวยงาม เป็นสื่อกลางของการคิดถึงซึ่งกันและกัน เมื่อคนในครอบครัวจากบ้านเกิดไปไกลคิดถึงครอบครัว ก็ให้แหงนมองดวงจันทร์ส่งความรู้สึกที่ดี ส่งความคิดถึงไปสู่ครอบครัวและคนที่รักผ่านดวงจันทร์

นอกจากนี้ ชาวจีนยังถือว่า วันไหว้พระจันทร์ เป็นวันที่คนในครอบครัวจะได้แสดงความสามัคคีกัน และได้ชมดวงจันทร์พร้อมหน้ากัน ซึ่งชาวจีนได้นิยาม วันไหว้พระจันทร์ ว่า "วันแห่งการอยู่พร้อมหน้าของครอบครัว"

ประวัติวันไหว้พระจันทร์

อย่างไรก็ตาม ข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์เกี่ยวกับต้นกำเนิดของเทศกาลนี้ ยังคงไม่เป็นที่ปรากฏแน่ชัด บ้างก็ว่าจักรพรรดิ์วู แห่งราชวงศ์ฮั่น เป็นผู้ริเริ่มการฉลองเพื่อกราบไว้พระจันทร์เป็นเวลา 3 วันในฤดูใบไม้ร่วงนี้

ขณะที่บางประวัติศาสตร์กล่าวว่า เทศกาลไหว้พระจันทร์ เกิดขึ้นในราวปี พ.ศ. 1911 ในช่วงมองโกลยึดครองจีน ขนมเค้กที่ทำขึ้นก็เพื่อซุกซ่อนข้อความลับของพวกกบฎ ที่มีถึงประชาชนทั่วทั้งประเทศให้มาชุมนุมกันครั้งใหญ่นเดือน 8 นี้ ทหารมองโกลไม่ได้ระแวงถึงจุดประสงค์ของพวกกบฎ เพราะคิดว่าขนมเค้กเหล่านั้นเป็นการทำตามประเพณีดั่งเดิมของชาวจีน ด้วยเหตุนี้ในคืนนั้นเองทหารมองโกลจึงถูกปราบเสียราบคาบ หลังจากที่ราชวงศ์ใหม่คือราชวงศ์หมิงได้ถูกจัดตั้งขึ้นแล้ว วันไหว้พระจันทร์ จึงถือปฏิบัติกันมาจนถึงทุกวันนี้

การไหว้พระจันทร์

ก่อนหน้านี้ วันไหว้พระจันทร์ ชาวจีนที่เป็นผู้ชายจะไม่นิยมไหว้พระจันทร์ เนื่องจากชาวจีนเชื่อว่า พระจันทร์ถือเป็นหยินซึ่งเป็นธาตุของผู้หญิง ผู้ชายถือเป็นหยาง ดังนั้น จึงให้แต่ผู้หญิงเป็นคนไหว้เท่านั้น แต่ปัจจุบันชาวจีนทั้งผู้หญิงและผู้ชาย ก็สามารถไหว้พระจันทร์ได้เช่นกัน

การไหว้พระจันทร์ จะเริ่มต้นตอนหัวค่ำซึ่งดวงจันทร์เริ่มปรากฏบนท้องฟ้า และถึงแม้ปีไหนหรือสถานที่แห่งใดมองไม่เห็นพระจันทร์ แต่การไหว้พระจันทร์ของชาวจีน ก็จะยังต้องมีการไหว้พระจันทร์ในค่ำคืนนั้นเหมือนเดิม พิธีดำเนินไปจนถึงประมาณ 4-5 ทุ่ม หลังเสร็จพิธีทุกคนในครอบครัวจะตั้งวงแบ่งกันกินขนมไหว้พระจันทร์ โดยขนมต้องนำมาหั่นแบ่งให้เท่ากับจำนวนคนในครอบครัว ห้ามเกินหรือขาด และแต่ละชิ้นต้องมีขนาดที่เท่ากัน ขนมไหว้พระจันทร์จึงเป็นสัญลักษณ์ของความสามัคคี ความกลมเกลียวคนในครอบครัว ดังนั้น รูปลักษณะของขนมไหว้พระจันทร์ จะต้องทำเป็นก้อนวงกลมเท่านั้น




0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ความเชื่อเกี่ยวกับวันไหว้พระจันทร์ วันไหว้พระจันทร์เป็นวันที่พระจันทร์ส่องแสงงดงามที่สุดและเต็มดวงที่สุดชาวจีนจึงให้พระจันทร์เป็นสัญลักษณ์ของความสวยงามเป็นสื่อกลางของการคิดถึงซึ่งกันและกันเมื่อคนในครอบครัวจากบ้านเกิดไปไกลคิดถึงครอบครัวก็ให้แหงนมองดวงจันทร์ส่งความรู้สึกที่ดีส่งความคิดถึงไปสู่ครอบครัวและคนที่รักผ่านดวงจันทร์ นอกจากนี้ชาวจีนยังถือว่าวันไหว้พระจันทร์เป็นวันที่คนในครอบครัวจะได้แสดงความสามัคคีกันและได้ชมดวงจันทร์พร้อมหน้ากันซึ่งชาวจีนได้นิยามวันไหว้พระจันทร์ว่า "วันแห่งการอยู่พร้อมหน้าของครอบครัว" ประวัติวันไหว้พระจันทร์ อย่างไรก็ตามข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์เกี่ยวกับต้นกำเนิดของเทศกาลนี้ยังคงไม่เป็นที่ปรากฏแน่ชัดบ้างก็ว่าจักรพรรดิ์วูแห่งราชวงศ์ฮั่นเป็นผู้ริเริ่มการฉลองเพื่อกราบไว้พระจันทร์เป็นเวลา 3 วันในฤดูใบไม้ร่วงนี้ ขณะที่บางประวัติศาสตร์กล่าวว่าเทศกาลไหว้พระจันทร์เกิดขึ้นในราวปีพ.ศ. 1911 ในช่วงมองโกลยึดครองจีนขนมเค้กที่ทำขึ้นก็เพื่อซุกซ่อนข้อความลับของพวกกบฎที่มีถึงประชาชนทั่วทั้งประเทศให้มาชุมนุมกันครั้งใหญ่นเดือน 8 นี้ทหารมองโกลไม่ได้ระแวงถึงจุดประสงค์ของพวกกบฎเพราะคิดว่าขนมเค้กเหล่านั้นเป็นการทำตามประเพณีดั่งเดิมของชาวจีนด้วยเหตุนี้ในคืนนั้นเองทหารมองโกลจึงถูกปราบเสียราบคาบหลังจากที่ราชวงศ์ใหม่คือราชวงศ์หมิงได้ถูกจัดตั้งขึ้นแล้ววันไหว้พระจันทร์จึงถือปฏิบัติกันมาจนถึงทุกวันนี้ การไหว้พระจันทร์ ก่อนหน้านี้วันไหว้พระจันทร์ชาวจีนที่เป็นผู้ชายจะไม่นิยมไหว้พระจันทร์เนื่องจากชาวจีนเชื่อว่าพระจันทร์ถือเป็นหยินซึ่งเป็นธาตุของผู้หญิงผู้ชายถือเป็นหยางดังนั้นจึงให้แต่ผู้หญิงเป็นคนไหว้เท่านั้นแต่ปัจจุบันชาวจีนทั้งผู้หญิงและผู้ชายก็สามารถไหว้พระจันทร์ได้เช่นกัน การไหว้พระจันทร์จะเริ่มต้นตอนหัวค่ำซึ่งดวงจันทร์เริ่มปรากฏบนท้องฟ้าและถึงแม้ปีไหนหรือสถานที่แห่งใดมองไม่เห็นพระจันทร์แต่การไหว้พระจันทร์ของชาวจีนก็จะยังต้องมีการไหว้พระจันทร์ในค่ำคืนนั้นเหมือนเดิมพิธีดำเนินไปจนถึงประมาณ 4-5 ทุ่มหลังเสร็จพิธีทุกคนในครอบครัวจะตั้งวงแบ่งกันกินขนมไหว้พระจันทร์โดยขนมต้องนำมาหั่นแบ่งให้เท่ากับจำนวนคนในครอบครัวห้ามเกินหรือขาดและแต่ละชิ้นต้องมีขนาดที่เท่ากันขนมไหว้พระจันทร์จึงเป็นสัญลักษณ์ของความสามัคคีความกลมเกลียวคนในครอบครัวดังนั้นรูปลักษณะของขนมไหว้พระจันทร์จะต้องทำเป็นก้อนวงกลมเท่านั้น
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ความเชื่อเกี่ยวกับ วันไหว้พระจันทร์

วันไหว้พระจันทร์ เป็นวันที่พระจันทร์ส่องแสงงดงามที่สุด และเต็มดวงที่สุด ชาวจีนจึงให้พระจันทร์เป็นสัญลักษณ์ของความสวยงาม เป็นสื่อกลางของการคิดถึงซึ่งกันและกัน เมื่อคนในครอบครัวจากบ้านเกิดไปไกลคิดถึงครอบครัว ก็ให้แหงนมองดวงจันทร์ส่งความรู้สึกที่ดี ส่งความคิดถึงไปสู่ครอบครัวและคนที่รักผ่านดวงจันทร์

นอกจากนี้ ชาวจีนยังถือว่า วันไหว้พระจันทร์ เป็นวันที่คนในครอบครัวจะได้แสดงความสามัคคีกัน และได้ชมดวงจันทร์พร้อมหน้ากัน ซึ่งชาวจีนได้นิยาม วันไหว้พระจันทร์ ว่า "วันแห่งการอยู่พร้อมหน้าของครอบครัว"

ประวัติวันไหว้พระจันทร์

อย่างไรก็ตาม ข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์เกี่ยวกับต้นกำเนิดของเทศกาลนี้ ยังคงไม่เป็นที่ปรากฏแน่ชัด บ้างก็ว่าจักรพรรดิ์วู แห่งราชวงศ์ฮั่น เป็นผู้ริเริ่มการฉลองเพื่อกราบไว้พระจันทร์เป็นเวลา 3 วันในฤดูใบไม้ร่วงนี้

ขณะที่บางประวัติศาสตร์กล่าวว่า เทศกาลไหว้พระจันทร์ เกิดขึ้นในราวปี พ.ศ. 1911 ในช่วงมองโกลยึดครองจีน ขนมเค้กที่ทำขึ้นก็เพื่อซุกซ่อนข้อความลับของพวกกบฎ ที่มีถึงประชาชนทั่วทั้งประเทศให้มาชุมนุมกันครั้งใหญ่นเดือน 8 นี้ ทหารมองโกลไม่ได้ระแวงถึงจุดประสงค์ของพวกกบฎ เพราะคิดว่าขนมเค้กเหล่านั้นเป็นการทำตามประเพณีดั่งเดิมของชาวจีน ด้วยเหตุนี้ในคืนนั้นเองทหารมองโกลจึงถูกปราบเสียราบคาบ หลังจากที่ราชวงศ์ใหม่คือราชวงศ์หมิงได้ถูกจัดตั้งขึ้นแล้ว วันไหว้พระจันทร์ จึงถือปฏิบัติกันมาจนถึงทุกวันนี้

การไหว้พระจันทร์

ก่อนหน้านี้ วันไหว้พระจันทร์ ชาวจีนที่เป็นผู้ชายจะไม่นิยมไหว้พระจันทร์ เนื่องจากชาวจีนเชื่อว่า พระจันทร์ถือเป็นหยินซึ่งเป็นธาตุของผู้หญิง ผู้ชายถือเป็นหยาง ดังนั้น จึงให้แต่ผู้หญิงเป็นคนไหว้เท่านั้น แต่ปัจจุบันชาวจีนทั้งผู้หญิงและผู้ชาย ก็สามารถไหว้พระจันทร์ได้เช่นกัน

การไหว้พระจันทร์ จะเริ่มต้นตอนหัวค่ำซึ่งดวงจันทร์เริ่มปรากฏบนท้องฟ้า และถึงแม้ปีไหนหรือสถานที่แห่งใดมองไม่เห็นพระจันทร์ แต่การไหว้พระจันทร์ของชาวจีน ก็จะยังต้องมีการไหว้พระจันทร์ในค่ำคืนนั้นเหมือนเดิม พิธีดำเนินไปจนถึงประมาณ 4-5 ทุ่ม หลังเสร็จพิธีทุกคนในครอบครัวจะตั้งวงแบ่งกันกินขนมไหว้พระจันทร์ โดยขนมต้องนำมาหั่นแบ่งให้เท่ากับจำนวนคนในครอบครัว ห้ามเกินหรือขาด และแต่ละชิ้นต้องมีขนาดที่เท่ากัน ขนมไหว้พระจันทร์จึงเป็นสัญลักษณ์ของความสามัคคี ความกลมเกลียวคนในครอบครัว ดังนั้น รูปลักษณะของขนมไหว้พระจันทร์ จะต้องทำเป็นก้อนวงกลมเท่านั้น




การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ความเชื่อเกี่ยวกับวันไหว้พระจันทร์

วันไหว้พระจันทร์เป็นวันที่พระจันทร์ส่องแสงงดงามที่สุดและเต็มดวงที่สุดชาวจีนจึงให้พระจันทร์เป็นสัญลักษณ์ของความสวยงามเป็นสื่อกลางของการคิดถึงซึ่งกันและกันก็ให้แหงนมองดวงจันทร์ส่งความรู้สึกที่ดีส่งความคิดถึงไปสู่ครอบครัวและคนที่รักผ่านดวงจันทร์

นอกจากนี้ชาวจีนยังถือว่าวันไหว้พระจันทร์เป็นวันที่คนในครอบครัวจะได้แสดงความสามัคคีกันและได้ชมดวงจันทร์พร้อมหน้ากันซึ่งชาวจีนได้นิยามวันไหว้พระจันทร์ว่า " วันแห่งการอยู่พร้อมหน้าของครอบครัว "

ประวัติวันไหว้พระจันทร์

อย่างไรก็ตามข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์เกี่ยวกับต้นกำเนิดของเทศกาลนี้ยังคงไม่เป็นที่ปรากฏแน่ชัดบ้างก็ว่าจักรพรรดิ์วูแห่งราชวงศ์ฮั่นเป็นผู้ริเริ่มการฉลองเพื่อกราบไว้พระจันทร์เป็นเวลา 3

ขณะที่บางประวัติศาสตร์กล่าวว่าเทศกาลไหว้พระจันทร์เกิดขึ้นในราวปีพ . ศ .1911 ในช่วงมองโกลยึดครองจีนขนมเค้กที่ทำขึ้นก็เพื่อซุกซ่อนข้อความลับของพวกกบฎที่มีถึงประชาชนทั่วทั้งประเทศให้มาชุมนุมกันครั้งใหญ่นเดือน 8 นี้ทหารมองโกลไม่ได้ระแวงถึงจุดประสงค์ของพวกกบฎ
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: