บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง ปัจจุบันประเทศไทยมีปัญหาสุขภาพของเกษตรกรและ การแปล - บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง ปัจจุบันประเทศไทยมีปัญหาสุขภาพของเกษตรกรและ ไทย วิธีการพูด

บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง ปัจจุบัน

บทที่ 2

เอกสารที่เกี่ยวข้อง

ปัจจุบันประเทศไทยมีปัญหาสุขภาพของเกษตรกรและผู้บริโภคที่เกิดจากการใช้สารเคมีกำจัดแมลงที่สำคัญของสังคมไทย จากข้อมูลของสำนักงานโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมใน ปี 2550 ระบุผลการสำรวจการสัมผัสสารกำจัดแมลงของเกษตรกรจำนวน 89,376 รายพบว่าเกษตรกร มีผลการตรวจเลือดอยู่ในระดับเสี่ยงและไม่ปลอดภัยต่อสุขภาพจำนวน 34,428 รายคิดเป็นร้อยละ 38.52ซึ่งใกล้เคียงกับผลการตรวจเลือดของเกษตรกรในปี 2554 จำนวน 533,524 ราย มีระดับเสี่ยง จำนวน 173,243 รายคิดเป็นร้อยละ 32 และผลการศึกษาผลกระทบทางเศรษฐศาสตร์ของสารเคมี กำจัดแมลงในปี 2555 พบว่ามูลค่าความสูญเสียอันเนื่องจากการใช้สารเคมีกำจัดแมลงที่มีต่อสุขภาพ ของเกษตรกรและผู้บริโภคมีมูลค่าหลายพันล้านบาทต่อปีและมีแนวโน้มว่าจะสูงขึ้นทุกปีแนวโน้ม ของปัญหาที่เพิ่มขึ้น เนื่องจากการที่เกษตรกรเลือกใช้สารเคมีกำจัดแมลงที่มีอันตรายสูงใช้อย่าง ไม่ระมัดระวังและ มีการเก็บผลผลิตก่อนระยะเวลาที่กำหนดหลังจากใช้สารเคมีทำให้สารพิษตกค้าง ในผลผลิตที่วางจำหน่ายทั่วไปซึ่งสารเคมีกำจัดแมลงที่ตรวจพบสามารถแบ่งได้เป็น 4 กลุ่มใหญ่

1. กลุ่มของสารเคมีกำจัดแมลง
1.1 กลุ่มออร์โนฟอสเฟต ได้แก่ คลอไพริฟอส (เช่น ลอร์สโฟร์40) อีพีเอ็น (เช่น เคูฟอส) ไดโครโอส(เช่น กระเจ๊า)โอมีโธเอท (เช่น โฟริเมท) โพรฟิโนฟอส (เช่น ซุปเปอร์ครอน) คาร์โบซัลแฟน (เช่น เวฟซัล) ฟิโนฟอส ( เช่น ไปรซิล)ไดเมโทเอต ( เช่น เดดเมท) อาซีเฟท ( เช่น ออธีร)ไดอซีนอน (เช่น พาโตฟูดอน) ไตรคลอร์ฟอน (เช่น ดิพเทอร์เรกซ์) โมโนโครโตฟอส (เช่น อโซดริน)อีไธออน (เช่นไซแอมไทออน) มาลาไทออน (เช่น มาลาเฟซ)
1.2 กลุม่คาร์บาเมต ได้แก่ เมโทมิล (เช่น แลนเนท) คาร์บาริก (เช่นเซพวิน)คาร์โบฟูแรน (เช่น ฟูราดาน) บีพีเอ็มซี เช่น (นาซิน) เมทธีโอคาร์บ (เช่น เมซูโรล) อ๊อกซามิล (เช่นไวย์เดทแอล) เอ็มไอพีซี หรือไอโซโปรคาร์บ (เช่น โมแซท) โปรโพเซอร์ (เช่น ไบกอน) ออลดิคาร์บ (เช่น เทมมิค) ไธโอดิคาร์บ (เช่นลาร์วิน) เฟียโนบูคาร์บ (เช่น ไซแอมซิน)
1.3 กลุ่มไพเรทรอยด์ ได้แก่ ไซเปอร์เมทริน (เช่น ริพคอร์ด,ซิมบุช) เดลตาเมทริน (เช่น เดก้า, เดซิส) เปอร์เมทริน (เช่น แอมบุช,พีราทรอยด์)
1.4 กลุ่มออร์กาโนคลอรีน เป็นวัตถุอันตรายที่กฎหมายกำหนดห้ามใช่แล้วได้แก่ ดีดีที (เช่น อกรีทาน) เอ็นโดซัลแฟน (เช่น เมโทรแดน,พาโตดาน,ธีโอแดน) เอนดริน (เช่น เอ็นเดรกซ์) ออลดริน (เช่น ออลเดร็กซ์) ดีลดริน (เช่น ดีลเดร็กซ์) คลอร์เดน (เช่น ดี.ที)


3
1.5 สารเคมีกำจัดศัตรูพืชกลุ่มเบ็ดเตล็ดที่มีกลไกออกกฤทธิ์ต่างจาก 4 กลุ่มแรก
1.5.1 ฟีนิลพาโซน (Phenyl pyrazone) ได้แก่ ฟีโปรนิล (เช่น อัลกอ)
1.5.2 นีโอนิโคตินอยด์ หรือ ลอโรนิโคตินอยส์ (Neo/chloro Nicotinoiids)ได้แก่ อาเซตามิพริด
(เช่น โมแลน) อิมิดาโคลพิด (เช่น โปรวาโด)
1.5.3 สไปโนซิน (spinosyns)ได้แก่ สไปโนแซด (เช่น ซัคเซส )
1.5.4 อะเวอร์เมคติน ( Avermectins ) ได้แก่ อบาเมคติน ( เช่น แอ็กโกรติน )
1.5.5 เบนโชอิลยูเรีย ( Benzoylureas ) ได้แก่ คลอฟลูอะซูรอน ( เช่นอาทาบรอน )
1.5.6 อ๊อกโทปรามีน ( Octopramine ) ได้แก่ อะมิทราซ ( เช่น อะมิทราซ )
1.5.7 นีรีสท๊อกซิน ( Nereistoxin ) ได้แก่ คาร์แทป ไฮโดรคลอร์ไรค์ ( Cartaphydrochloride )
เช่น พาแดน
1.5.8 คลอโรอะเซทานิลีด ( Chloroacetanilide ) ได้แก่ 2, 4-ดี ( เช่น อะลาคลอร์ )
1.5.9 สโตรบิลูริน ( Strodilurins ) ได้แก่ อะโซไซสะโตรบิน ( ออติวา )
1.5.10 แอนทรานิลีดไดอามีด ( Anthrnilic Diamide ) ได้แก่ คลอแรนทรานิลิโพล (เช่น พรีวาธอน)

2. ความรู้เกี่ยวกับผักที่นำมาตรวจ
การหาสารเคมีในผักสดที่มาจาก กลุ่มเกษตรกรที่สารเคมีกำจัดศตรูพืชโดยาการนำเอาชุดตรวจคัดกรองสารเคมีกำจัดแมลงในผักสด โดยการสุ่มตรวจจากสถานที่ต่าง ๆ เพื่อนำมาเปรียบเทียบว่าสถานที่ได้ที่ตรวจพบสารเคมีในผักสดผักที่นำมาตรวจได้แก่
2.1 ผักคะน้า



4

คะน้า (ชื่อวิทยาศาสตร์:Brassica alboglabra) เป็นพืชผักใบเขียวที่นิยมรับประทานทั่วไปโดยบริโภคส่วนของใบและลำ มีถิ่นกำเนิดอยู่ในทวีปเอเชียและปลูกกันมากในประเทศจีน ฮ่องกง ไต้หวัน มาเลเซียและประเทศไทย ซึ่งชาวจีนเรียกคะน้าว่า ไก่หลันไช่ ผักคะน้าเป็นผักอายุ 2 ปี แต่ปลูกเป็นผักฤดูเดียว อายุเก็บเกี่ยวประมาณ 45-55 วันผักคะน้าสามารถปลูกได้ตลอดปี แต่เวลาที่ปลูกได้ผลดีที่สุดในช่วงเดือนตุลาคม-เมษายน

สายพันธุ์[แก้] คะน้าที่นิยมปลูกในประเทศไทยมีอยู่ 3 พันธุ์ด้วยกัน คือ
• พันธุ์ใบกลม มีลักษณะใบกว้างใหญ่ ปล้องสั้น ปลายใบมนและผิวใบเป็นคลื่นเล็กน้อย ได้แก่ พันธุ์ฝางเบอร์ 1
• พันธุ์ใบแหลม เป็นพันธุ์ที่มีลักษณะใบแคบกว่าพันธุ์ใบกลม ปลายใบแหลม ข้อห่าง ผิวใบเรียบ ได้แก่ พันธุ์ P.L.20
• พันธุ์ยอดหรือก้าน มีลักษณะใบเหมือนกับคะน้าใบแหลม แต่จำนวนใบต่อต้นมีน้อยกว่า ปล้องยาวกว่า ได้แก่ พันธุ์แม่โจ้ 2

สารอาหาร คะน้ามีวิตามินหลายชนิด เช่น บีตา-แคโรทีน 186.92 ไมโครกรัม/100 กรัม ช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิด มะเร็งกระเพาะอาหาร มะเร็งลำไส้ มะเร็งปอด และมะเร็งกระเพาะปัสสาวะ และยังมีวิตามินซีช่วยเสริมสร้างเนื้อเยื่อให้ชุ่มชื้น และทำให้ระบบภูมิคุ้มกันโรคมีความแข็งแรงสมบูรณ์ นอกจากนี้ยังมีแคลเซี่ยมช่วยเสริมสร้างกระดูก นอกจากนั้นยังพบ กอยโตรเจน (goitrogen)ในคะน้า ซึ่งบริโภคมาก ๆ ทำให้ท้องอืด
2.2 ผักกะหล่ำปลี


5
กะหล่ำปลี หรือ กะหล่ำใบ (อังกฤษ: cabbage) เป็นชื่อไม้ล้มลุกชนิด Brassica oleracea L. var. capitata ในวงศ์ Cruciferae มีสัณฐานกลม ส่วนใหญ่สีเขียว แต่สีอื่นก็มี อาทิ ขาวและม่วง มีถิ่นกำเนิดอยู่แถวเมดิเตอเรเนียน ต่อมาแพร่กระจายทั่วไป แยกได้เป็น 3 ชนิด คือ




1. กะหล่ำปลีธรรมดา เช่น พันธุ์โคเปนเฮเกนมาร์เก็ต และพันธุ์ โกลเดน เอเคอร์
2. กะหล่ำปลีแดง (Red Cabbage) ใบเป็นสีแดงทับทิม ขึ้นดีในที่อากาศหนาวเย็น
3. กะหล่ำปลีใบย่น (Savoy Cabbage) ผิวใบหยิกย่น ต้องการอากาศหนาวเย็นพิเศษ
สารอาหาร ในกะหล่ำปลีมีสารเอสเมธิลเมโธโอนิน สามารถรักษาโรคกระเพาะอาหารและมี สารกอยโตรเจนที่ซึ่งเป็นสาเหตุของโรคคอพอก นอกจากนั้นยังพบว่ามีสารต้านมะเร็งโดยเฉพาะหยุดยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็งลำไส้ มีการวิจัยพบกะหล่ำปลีใช้ประคบเต้านมลดปวดแก้นมคัดแม่หลังคลอด
2.3 ผักกวางตุ้ง

ชื่อวิทยาศาสตร์ Brassica chinensis Jusl var parachinensis (Bailey) Tsen & Lee
วงศ์ Cruciferae
ชื่อสามัญ Chinese Cabbage-PAI TSAI

6
ลักษณะ : เป็นผักที่น
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง ปัจจุบันประเทศไทยมีปัญหาสุขภาพของเกษตรกรและผู้บริโภคที่เกิดจากการใช้สารเคมีกำจัดแมลงที่สำคัญของสังคมไทยจากข้อมูลของสำนักงานโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมในปี 2550 ระบุผลการสำรวจการสัมผัสสารกำจัดแมลงของเกษตรกรจำนวน 89,376 รายพบว่าเกษตรกรมีผลการตรวจเลือดอยู่ในระดับเสี่ยงและไม่ปลอดภัยต่อสุขภาพจำนวน 34,428 รายคิดเป็นร้อยละ 38.52ซึ่งใกล้เคียงกับผลการตรวจเลือดของเกษตรกรในปี ๒๕๕๔ จำนวน 533,524 รายมีระดับเสี่ยงจำนวน 173,243 รายคิดเป็นร้อยละ 32 และผลการศึกษาผลกระทบทางเศรษฐศาสตร์ของสารเคมี กลุ่มใหญ่กำจัดแมลงในปี 2555 พบว่ามูลค่าความสูญเสียอันเนื่องจากการใช้สารเคมีกำจัดแมลงที่มีต่อสุขภาพของเกษตรกรและผู้บริโภคมีมูลค่าหลายพันล้านบาทต่อปีและมีแนวโน้มว่าจะสูงขึ้นทุกปีแนวโน้มของปัญหาที่เพิ่มขึ้นเนื่องจากการที่เกษตรกรเลือกใช้สารเคมีกำจัดแมลงที่มีอันตรายสูงใช้อย่างไม่ระมัดระวังและมีการเก็บผลผลิตก่อนระยะเวลาที่กำหนดหลังจากใช้สารเคมีทำให้สารพิษตกค้างในผลผลิตที่วางจำหน่ายทั่วไปซึ่งสารเคมีกำจัดแมลงที่ตรวจพบสามารถแบ่งได้เป็น 41. กลุ่มของสารเคมีกำจัดแมลง 1.1 กลุ่มออร์โนฟอสเฟตได้แก่คลอไพริฟอส (เช่น ลอร์สโฟร์40) อีพีเอ็น (เช่นเคูฟอส) ไดโครโอส(เช่น กระเจ๊า)โอมีโธเอท (เช่นโฟริเมท) โพรฟิโนฟอส (เช่นซุปเปอร์ครอน) คาร์โบซัลแฟน (เช่นเวฟซัล) ฟิโนฟอส (เช่นไปรซิล) ไดเมโทเอต (เช่นเดดเมท) อาซีเฟท (เช่นออธีร) ไดอซีนอน (เช่นพาโตฟูดอน) ไตรคลอร์ฟอน (เช่นดิพเทอร์เรกซ์) โมโนโครโตฟอส (เช่นอโซดริน) อีไธออน (เช่นไซแอมไทออน) มาลาไทออน (เช่นมาลาเฟซ) 1.2 กลุม่คาร์บาเมตได้แก่เมโทมิล (เช่นแลนเนท) คาร์บาริก (เช่นเซพวิน) คาร์โบฟูแรน (เช่นฟูราดาน) บีพีเอ็มซี (นาซิน) เช่นเมทธีโอคาร์บ (เช่นเมซูโรล) อ๊อกซามิล (เช่นไวย์เดทแอล) เอ็มไอพีซีหรือไอโซโปรคาร์บ (เช่นโมแซท) โปรโพเซอร์ (เช่นไบกอน) ออลดิคาร์บ (เช่นเทมมิค) ไธโอดิคาร์บ (เช่นลาร์วิน) เฟียโนบูคาร์บ (เช่นไซแอมซิน) 1.3 กลุ่มไพเรทรอยด์ไซเปอร์เมทริน (เช่นริพคอร์ด ซิมบุช) ได้แก่เดลตาเมทริน (เช่นเดก้า เดซิส) เปอร์เมทริน (เช่นแอมบุช พีราทรอยด์) 1.4 กลุ่มออร์กาโนคลอรีนเป็นวัตถุอันตรายที่กฎหมายกำหนดห้ามใช่แล้วได้แก่ดีดีที (เช่นอกรีทาน) เอ็นโดซัลแฟน (เช่นเมโทรแดน พาโตดาน ธีโอแดน) เอนดริน (เช่นเอ็นเดรกซ์) ออลดริน (เช่นออลเดร็กซ์) ดีลดริน (เช่นดีลเดร็กซ์) คลอร์เดน (เช่นดี.ที)31.5 สารเคมีกำจัดศัตรูพืชกลุ่มเบ็ดเตล็ดที่มีกลไกออกกฤทธิ์ต่างจาก 4 กลุ่มแรก 1.5.1 ฟีนิลพาโซน (ฟีนิล pyrazone) ได้แก่ฟีโปรนิล (เช่นอัลกอ) 1.5.2 นีโอนิโคตินอยด์หรือลอโรนิโคตินอยส์ (นีโอ/chloro Nicotinoiids) ได้แก่อาเซตามิพริด (เช่นโมแลน) อิมิดาโคลพิด (เช่นโปรวาโด) 1.5.3 สไปโนซิน (spinosyns) ได้แก่สไปโนแซด (เช่นซัคเซส) 1.5.4 อะเวอร์เมคติน (Avermectins) ได้แก่อบาเมคติน (เช่นแอ็กโกรติน) 1.5.5 เบนโชอิลยูเรีย (Benzoylureas) ได้แก่คลอฟลูอะซูรอน (เช่นอาทาบรอน) 1.5.6 อ๊อกโทปรามีน (Octopramine) ได้แก่อะมิทราซ (เช่นอะมิทราซ) 1.5.7 นีรีสท๊อกซิน (Nereistoxin) ได้แก่คาร์แทปไฮโดรคลอร์ไรค์ (Cartaphydrochloride) เช่นพาแดน 1.5.8 คลอโรอะเซทานิลีด (Chloroacetanilide) ได้แก่ 2, 4-ดี (เช่นอะลาคลอร์) 1.5.9 สโตรบิลูริน (Strodilurins) ได้แก่อะโซไซสะโตรบิน (ออติวา) 1.5.10 แอนทรานิลีดไดอามีด (Anthrnilic Diamide) ได้แก่คลอแรนทรานิลิโพล (เช่นพรีวาธอน) 2. ความรู้เกี่ยวกับผักที่นำมาตรวจ การหาสารเคมีในผักสดที่มาจากกลุ่มเกษตรกรที่สารเคมีกำจัดศตรูพืชโดยาการนำเอาชุดตรวจคัดกรองสารเคมีกำจัดแมลงในผักสดโดยการสุ่มตรวจจากสถานที่ต่างๆ เพื่อนำมาเปรียบเทียบว่าสถานที่ได้ที่ตรวจพบสารเคมีในผักสดผักที่นำมาตรวจได้แก่2.1 ผักคะน้า4 คะน้า (ชื่อวิทยาศาสตร์:Brassica alboglabra) เป็นพืชผักใบเขียวที่นิยมรับประทานทั่วไปโดยบริโภคส่วนของใบและลำ มีถิ่นกำเนิดอยู่ในทวีปเอเชียและปลูกกันมากในประเทศจีน ฮ่องกง ไต้หวัน มาเลเซียและประเทศไทย ซึ่งชาวจีนเรียกคะน้าว่า ไก่หลันไช่ ผักคะน้าเป็นผักอายุ 2 ปี แต่ปลูกเป็นผักฤดูเดียว อายุเก็บเกี่ยวประมาณ 45-55 วันผักคะน้าสามารถปลูกได้ตลอดปี แต่เวลาที่ปลูกได้ผลดีที่สุดในช่วงเดือนตุลาคม-เมษายน สายพันธุ์[แก้] คะน้าที่นิยมปลูกในประเทศไทยมีอยู่ 3 พันธุ์ด้วยกัน คือ • พันธุ์ใบกลม มีลักษณะใบกว้างใหญ่ ปล้องสั้น ปลายใบมนและผิวใบเป็นคลื่นเล็กน้อย ได้แก่ พันธุ์ฝางเบอร์ 1• พันธุ์ใบแหลม เป็นพันธุ์ที่มีลักษณะใบแคบกว่าพันธุ์ใบกลม ปลายใบแหลม ข้อห่าง ผิวใบเรียบ ได้แก่ พันธุ์ P.L.20• พันธุ์ยอดหรือก้าน มีลักษณะใบเหมือนกับคะน้าใบแหลม แต่จำนวนใบต่อต้นมีน้อยกว่า ปล้องยาวกว่า ได้แก่ พันธุ์แม่โจ้ 2 สารอาหาร คะน้ามีวิตามินหลายชนิด เช่น บีตา-แคโรทีน 186.92 ไมโครกรัม/100 กรัม ช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิด มะเร็งกระเพาะอาหาร มะเร็งลำไส้ มะเร็งปอด และมะเร็งกระเพาะปัสสาวะ และยังมีวิตามินซีช่วยเสริมสร้างเนื้อเยื่อให้ชุ่มชื้น และทำให้ระบบภูมิคุ้มกันโรคมีความแข็งแรงสมบูรณ์ นอกจากนี้ยังมีแคลเซี่ยมช่วยเสริมสร้างกระดูก นอกจากนั้นยังพบ กอยโตรเจน (goitrogen)ในคะน้า ซึ่งบริโภคมาก ๆ ทำให้ท้องอืด2.2 ผักกะหล่ำปลี 5 กะหล่ำปลี หรือ กะหล่ำใบ (อังกฤษ: cabbage) เป็นชื่อไม้ล้มลุกชนิด Brassica oleracea L. var. capitata ในวงศ์ Cruciferae มีสัณฐานกลม ส่วนใหญ่สีเขียว แต่สีอื่นก็มี อาทิ ขาวและม่วง มีถิ่นกำเนิดอยู่แถวเมดิเตอเรเนียน ต่อมาแพร่กระจายทั่วไป แยกได้เป็น 3 ชนิด คือ• 1. กะหล่ำปลีธรรมดา เช่น พันธุ์โคเปนเฮเกนมาร์เก็ต และพันธุ์ โกลเดน เอเคอร์2. กะหล่ำปลีแดง (Red Cabbage) ใบเป็นสีแดงทับทิม ขึ้นดีในที่อากาศหนาวเย็น3. กะหล่ำปลีใบย่น (Savoy Cabbage) ผิวใบหยิกย่น ต้องการอากาศหนาวเย็นพิเศษสารอาหาร ในกะหล่ำปลีมีสารเอสเมธิลเมโธโอนิน สามารถรักษาโรคกระเพาะอาหารและมี สารกอยโตรเจนที่ซึ่งเป็นสาเหตุของโรคคอพอก นอกจากนั้นยังพบว่ามีสารต้านมะเร็งโดยเฉพาะหยุดยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็งลำไส้ มีการวิจัยพบกะหล่ำปลีใช้ประคบเต้านมลดปวดแก้นมคัดแม่หลังคลอด2.3 ผักกวางตุ้งชื่อวิทยาศาสตร์ Brassica chinensis Jusl var parachinensis (Bailey) Tsen & Leeวงศ์ Cruciferaeชื่อสามัญ Chinese Cabbage-PAI TSAI6ลักษณะ : เป็นผักที่น
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
บทที่ ปี 2550 89,376 รายพบว่าเกษตรกร 34,428 รายคิดเป็นร้อยละ 2554 จำนวน 533,524 รายมีระดับเสี่ยงจำนวน 173,243 รายคิดเป็นร้อยละ 32 กำจัดแมลงในปี 2555 ของปัญหาที่เพิ่มขึ้น ไม่ระมัดระวังและ 4 กลุ่มใหญ่1 กลุ่มของสารเคมีกำจัดแมลง1.1 กลุ่มออร์โนฟอสเฟต ได้แก่ คลอไพริฟอส (เช่นลอร์สโฟร์ 40) อีพีเอ็น (เช่นเคูฟอส) ไดโครโอส (เช่นกระเจ๊า) โอ มีโธเอท (เช่นโฟริเมท) โพรฟิโนฟอส (เช่นซุปเปอร์ครอน) คาร์โบซัลแฟน (เช่นเวฟซัล) ฟิโนฟอส (เช่นไปรซิล) ไดเมโทเอ ต (เช่นเดดเมท) อาซีเฟท (เช่นออธีร) ไดอซีนอน (เช่นพาโตฟูดอน) ไตรคลอร์ฟอน (เช่นดิพเทอร์เรกซ์) โมโนโครโตฟอส (เช่นอ โซดริน) อีไธออน (เช่นไซแอมไทออน) มาลาไทออน (เช่นมาลาเฟซ) 1.2 กลุม่คาร์บาเมต ได้แก่ เมโทมิล (เช่นแลนเนท) คาร์บาริก (เช่นเซพวิน) คาร์โบฟูแรน (เช่นฟูราดาน) บีพีเอ็มซีเช่น (นาซิน) เมทธีโอคาร์บ (เช่นเมซูโรล) อ๊อกซามิล (เช่นไวย์ เดทแอล) เอ็มไอพีซีหรือไอโซโปรคาร์บ (เช่นโมแซท) โปรโพเซอร์ (เช่นไบกอน) ออลดิคาร์บ (เช่นเทมมิค) ไธโอดิคาร์บ (เช่น ลาร์วิน) เฟียโนบูคาร์บ (เช่นไซแอมซิน) 1.3 กลุ่มไพเรทรอยด์ ได้แก่ ไซเปอร์เมทริน (เช่นริพคอร์ด, ซิมบุช) เดลตาเมทริน (เช่นเดก้า , เดซิส) เปอร์เมทริน (เช่นแอมบุช, พีราทรอยด์) 1.4 กลุ่มออร์กาโนคลอรีน ดีดีที (เช่นอกรีทาน) เอ็นโดซัลแฟน (เช่นเมโทรแดน, พาโตดาน, ธีโอแดน) เอนดริน (เช่นเอ็นเดรกซ์) ออลดริน (เช่นออลเดร็กซ์) ดีลดริน (เช่นดีลเดร็กซ์) คลอร์เดน (เช่นดี. ที) 3 1.5 4 กลุ่มแรก1.5.1 ฟีนิลพาโซน (Phenyl pyrazone) ได้แก่ ฟีโปรนิล (เช่นอัลกอ) 1.5.2 นีโอนิโคตินอยด์หรือลอโรนิโคตินอยส์ (Neo / คลอโร Nicotinoiids) ได้แก่ อาเซตามิ พริด(เช่นโมแลน) อิมิดาโคลพิด (เช่นโปรวาโด) 1.5.3 สไปโนซิน (spinosyns) ได้แก่ สไปโนแซด (เช่นซัคเซส) 1.5.4 อะเวอร์เมคติ น (Avermectins) ได้แก่ อบาเมคติน (เช่นแอ็กโกรติน) 1.5.5 เบนโชอิลยูเรีย (Benzoylureas) ได้แก่ คลอฟลูอะซูรอน (เช่นอาทาบรอน) 1.5.6 อ๊อกโท ปรามีน (Octopramine) ได้แก่ อะมิทราซ (เช่นอะมิทราซ) 1.5.7 นีรีสท๊อกซิน (Nereistoxin) ได้แก่ คาร์แทปไฮโดรคลอร์ไรค์ (Cartaphydrochloride) เช่นพา แดน1.5.8 คลอโรอะเซทานิลีด (Chloroacetanilide) ได้แก่ 2, 4 ดี (เช่นอะลาคลอร์) 1.5.9 สโตรบิลูริน (Strodilurins) ได้แก่ อะโซไซสะโตรบิน (ออ ติวา) 1.5.10 แอนทรานิลีดไดอามีด (Anthrnilic diamide) ได้แก่ คลอแรนทรานิลิโพล (เช่นพรีวา ธ อน) 2 โดยการสุ่มตรวจจากสถานที่ต่าง ๆ ผักคะน้า4 คะน้า (ชื่อวิทยาศาสตร์: Brassica alboglabra) ฮ่องกงไต้หวันมาเลเซียและประเทศไทยซึ่งชาวจีนเรียกคะน้าว่าไก่หลันไช่ผักคะน้าเป็นผักอายุ 2 ปี แต่ปลูกเป็นผักฤดูเดียวอายุเก็บเกี่ยวประมาณ 45-55 วันผักคะน้าสามารถปลูกได้ตลอดปี คะน้าที่นิยมปลูกในประเทศไทยมีอยู่ 3 ด้วยกันพันธุ์คือ•พันธุ์ใบกลมมีลักษณะใบกว้างใหญ่ปล้องสั้นปลายใบมนและผิวใบเป็นคลื่นเล็กน้อยได้แก่ พันธุ์ฝางเบอร์ 1 •พันธุ์ใบแหลม ปลายใบแหลมข้อห่างผิวใบเรียบ ได้แก่ พันธุ์ PL20 •พันธุ์ยอดหรือก้านมีลักษณะใบเหมือนกับคะน้าใบแหลม แต่จำนวนใบต่อต้นมีน้อยกว่าปล้องยาวกว่า ได้แก่ พันธุ์แม่โจ้ 2 สารอาหารคะน้ามีวิตามินหลายชนิดเช่นบีตา - แค โรทีน 186.92 ไมโครกรัม / 100 กรัมช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งกระเพาะอาหารมะเร็งลำไส้มะเร็งปอดและมะเร็งกระเพาะปัสสาวะ นอกจากนั้นยังพบกอยโตรเจน (กอยโตรเจน) ในคะน้าซึ่งบริโภคมาก ๆ ทำให้ท้องอืด2.2 ผักกะหล่ำปลี5 กะหล่ำปลีหรือกะหล่ำใบ (อังกฤษ: กะหล่ำปลี) เป็นชื่อไม้ล้มลุกชนิด Brassica oleracea L. var capitata ในวงศ์ Cruciferae มีสัณฐานกลมส่วนใหญ่สีเขียว แต่สีอื่นก็มีอาทิขาวและม่วงมีถิ่นกำเนิดอยู่แถวเมดิเตอเรเนียนต่อมาแพร่กระจายทั่วไปแยกได้เป็น 3 คือชนิด• 1 กะหล่ำปลีธรรมดาเช่นพันธุ์โคเปนเฮเกนมาร์เก็ตและพันธุ์โกลเดนเอเคอร์2 กะหล่ำปลีแดง (สีแดงกะหล่ำปลี) ใบเป็นสีแดงทับทิมขึ้นดีในที่อากาศหนาวเย็น3 กะหล่ำปลีใบย่น (Savoy กะหล่ำปลี) ใบหยิกผิวย่นต้องการอากาศหนาวเย็นพิเศษสารอาหารในกะหล่ำปลีมีสารเอสเมธิลเมโธโอนินสามารถรักษาโรคกระเพาะอาหารและมี กวางตุ้งผักชื่อวิทยาศาสตร์ Brassica chinensis Jusl var parachinensis (Bailey) Tsen & ลีวงศ์Cruciferae ชื่อสามัญจีนกะหล่ำปลี-PAI TSAI 6 ลักษณะ: เป็นผักที่น































































การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้องปัจจุบันประเทศไทยมีปัญหาสุขภาพของเกษตรกรและผู้บริโภคที่เกิดจากการใช้สารเคมีกำจัดแมลงที่สำคัญของสังคมไทยจากข้อมูลของสำนักงานโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมใน . 2550 ระบุผลการสำรวจการสัมผัสสารกำจัดแมลงของเกษตรกรจำนวน 89376 รายพบว่าเกษตรกรมีผลการตรวจเลือดอย ู่ในระดับเสี่ยงและไม่ปลอดภัยต่อสุขภาพจำนวน 34428 รายคิดเป็นร้อยละ 38.52 ซึ่งใกล้เคียงกับผลการตรวจเลือดของเกษตรกรในปี 2554 จำนวน 533524 รายมีระดับเสี่ยงจำนวน 173243 รายคิดเป็นร้อยละ 32 และผลการศึกษาผลกระทบทางเศรษฐศาสตร์ของสารเคมีกำจัดแมลงในปีพบว่ามูลค่าความสูญเสียอันเนื่อง 2555 จากการใช้สารเคมีกำจัดแมลงที่มีต่อสุขภาพของเกษตรกรและผู้บริโภคมีมูลค่าหลายพันล้านบาทต่อปีและมีแนวโน้มว่าจะสูงขึ้นทุกปีแนวโน้มของปัญหาที่เพิ่มขึ้นเนื่องจากการที่เกษตรกรเลือกใช้สารเคมีกำจัดแมลงที่มีอันตรายสูงใช้อย่างไม่ระมัดระวังและมีการเก็บผลผลิตก่อน ระยะเวลาที่กำหนดหลังจากใช้สารเคมีทำให้สารพิษตกค้างในผลผลิตที่วางจำหน่ายทั่วไปซึ่งสารเคมีกำจัดแมลงที่ตรวจพบสามารถแบ่งได้เป็น 4 กลุ่มใหญ่1 . กลุ่มของสารเคมีกำจัดแมลง1.1 กลุ่มออร์โนฟอสเฟตได้แก่คลอไพริฟอส ( เช่นลอร์สโฟร์ 40 ) อีพีเอ็น ( เช่นเคูฟอส ) ไดโครโอส ( เช่นกระเจ๊า ) โอมีโธเอท ( เช่นโฟริเมท ) โพรฟิโนฟอส ( เช่นซุปเปอร์ครอน ) คาร์โบซัลแฟน ( เช่นเวฟซัล ) ฟิโนฟอส ( เช่นไปรซิล ) ไดเมโทเอต ( เช่นเดดเมท ) อาซีเฟท ( เช่นออธีร ) ไดอซีนอน ( เช่นพาโตฟูดอน ) ไตรคลอ ร์ฟอน ( เช่นดิพเทอร์เรกซ์ ) โมโนโครโตฟอส ( เช่นอโซดริน ) อีไธออน ( เช่นไซแอมไทออน ) มาลาไทออน ( เช่นมาลาเฟซ )1.2 กลุม่คาร์บาเมตได้แก่เมโทมิล ( เช่นแลนเนท ) คาร์บาริก ( เช่นเซพวิน ) คาร์โบฟูแรน ( เช่นฟูราดาน ) บีพีเอ็มซีเช่น ( นาซิน ) เมทธีโอคาร์บ ( เช่นเมซูโรล ) อ๊อกซามิล ( เช่นไวย์เดทแอล ) เอ็มไอพีซีหรือไอโซโปรคาร์บ ( เช่นโมแซท ) โปรโพเซอร์ ( เช่นไบกอน ) ออลดิคาร์บ ( เช่นเทมมิค ) ไธโอดิคาร์บ ( เช่น ลาร์วิน ) เฟียโนบูคาร์บ ( เช่นไซแอมซิน )1.3 กลุ่มไพเรทรอยด์ได้แก่ไซเปอร์เมทริน ( เช่นริพคอร์ดซิมบุชเดลตาเมทริน ( เช่นเดก้า , ) , ( เดซิส ) เปอร์เมทรินเช่นแอมบุช , พ
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: