ฉลากยาบอกอะไรแก่เรา ยา เป็นหนึ่งในปัจจัยสี่ที่สำคัญต่อการดำรงชีวิตของม การแปล - ฉลากยาบอกอะไรแก่เรา ยา เป็นหนึ่งในปัจจัยสี่ที่สำคัญต่อการดำรงชีวิตของม ไทย วิธีการพูด

ฉลากยาบอกอะไรแก่เรา ยา เป็นหนึ่งในป

ฉลากยาบอกอะไรแก่เรา
ยา เป็นหนึ่งในปัจจัยสี่ที่สำคัญต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ แม้ว่าในปัจจุบันวิทยาการจะเจริญก้าวหน้าไปมาก และมีจำนวนแพทย์เพิ่มมากขึ้นก็ตาม เมื่อถึงยามเจ็บไข้ได้ป่วยประชาชนส่วนใหญ่ก็ยังคงช่วยเหลือตนเอง โดยการซื้อยาจากร้านขายยามารับประทาน อย่างไรก็ตาม ในการใช้ยาทุกครั้ง สิ่งที่สำคัญคือต้องใช้ให้ถูกต้อง และสิ่งที่จะทำให้เราใช้ ยาได้อย่างถูกต้อง ก็คือการอ่านฉลากและเอกสารกำกับยา เพราะจะทำให้รู้ว่า เป็นยาอะไร ใช้อย่างไร มีสรรพคุณรักษาอะไร และมีคำเตือนอย่างไรบ้าง รวมถึงข้อมูลอี่นที่มีอยู่บนฉลากและเอกสารกำกับยาเพื่อความปลอดภัยในการใช้ยา ดังจะได้กล่าวต่อไป

การแสดงฉลากและเอกสารกำกับยา

ตามความในมาตรา 25 แห่งพระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510 กำหนดให้ผู้ได้รับอนุญาตผลิตยาแผนปัจจุบัน ต้องจัดให้มีฉลากตามที่ขึ้นทะเบียนตำรับยาไว้ ปิดไว้ที่ภาชนะและหีบห่อบรรจุยา หรือฉลากและเอกสารกำกับยา โดยแสดงรายละเอียดดังนี้
1. ชื่อยา เช่น นูตา ดาก้า บวดหาย เป็นต้น
2. เลขทะเบียนตำรับยา มักจะมีคำว่า Reg.No หรือเลขทะเบียนที่ หรือทะเบียนยา ถ้าเป็นยาที่มีตัวยาออกฤทธิ์เพียงตัวเดียวจะมีการแสดงดังนี้
- 1A....กรณีที่เป็นยาผลิตในประเทศ
- 1B....กรณีที่เป็นยานำหรือสั่งเข้าจากต่างประเทศแล้วนำมาทำการแบ่งบรรจุในประเทศ
- 1C....กรณีที่เป็นยานำหรือสั่งมาจากต่างประเทศ เช่น 1A 12/35, 1B 3/39, 1C 30/39 เป็นต้น
ส่วนเลขที่แสดงต่อท้ายอักษรภาษาอังกฤษ คือ เลขลำดับที่ที่ได้รับอนุญาตให้ขึ้นทะเบียนตำรับยา และทับเลขท้ายของปี พ.ศ. ที่ได้รับการขึ้นทะเบียน สำหรับตำรับยาที่มีตัวยาสำคัญตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไป เลขทะเบียนตำรับยาจะขึ้นต้นด้วย 2A......, 2B......., 2C............. แล้วตามด้วยลำดับที่และเลขท้ายของปี พ.ศ. ที่ได้รับการขึ้นทะเบียน
ยาที่ใช้สำหรับสัตว์อักษรย่อภาษาอังกฤษจะเป็น D.... คือยาที่ผลิตในประเทศ
E.... คือยาที่นำหรือสั่งเข้ามาจากต่างประเทศแล้วมาแบ่งบรรจุ
และ F.... คือยาที่นำสั่งเข้ามาจากต่างประเทศ
ยาที่เป็นยาแผนโบราณ อักษรภาษาอังกฤษ ก็จะเป็น G..... คือยาที่ผลิตในประเทศ
H..... คือยาที่แบ่งบรรจุ และ
K.... คือยาที่นำสั่งเข้ามาจากต่างประเทศ แล้วตามด้วยเลขลำดับที่ที่ได้รับอนุญาตและปี พ.ศ. ที่ได้รับการขึ้นทะเบียน
3. ปริมาณหรือขนาดบรรจุของยา เช่น ยาเม็ด จะต้องแจ้งขนาดบรรจุไว้ในฉลากด้วยว่า ยานั้นบรรจุกี่เม็ด
4. เลขที่ หรืออักษรแสดงครั้งที่ผลิตหรือวิเคราะห์ ซึ่งมักใช้คำย่อยเป็นภาษาอังกฤษ เช่น Lot No., Cont.No., Batch No. หรือ L , C , L/C , B/C แล้วตามด้วยเลขแสดงครั้งที่ผลิต
5. ชื่อและที่ตั้งของผู้ผลิต ยาที่ผลิตในประเทศต้องมีชื่อผู้ผลิตจังหวัดที่ตั้งสถานที่ผลิตยาด้วย ในกรณีเป็นยาที่ผลิตในต่างประเทศ หรือสั่งเข้ามาต้องมีชื่อเมือง และประเทศที่ตั้งสถานที่ผลิตยา พร้อมทั้งชื่อของผู้นำหรือสั่งเข้ามา และจังหวัดที่ตั้งสถานที่นำ/สั่งยานั้น ๆ
6. วันเดือนปีที่ผลิตยา มักมีคำย่อภาษาอังกฤษ Mfd. หรือ Mfg date. แล้วตามด้วยวันเดือนปีที่ผลิต หากยานั้นผลิตมานานเกิน 5 ปี ก็ไม่ควรนำมารับประทาน ส่วนยาบางชนิด เช่น ยาปฏิชีวนะ จะมีการระบุวันที่หมดอายุ โดยมีคำย่อ ว่า Exp.Date ซึ่งย่อมาจาก Expiration Date แล้วตามด้วยวันเดือนปีที่ยานั้นหมดอายุ
7. คำว่า "ยาอันตราย" "ยาควบคุมพิเศษ" "ยาใช้เฉพาะที่" หรือ "ยาใช้ภายนอก" แล้วแต่กรณีว่า ยานั้นเป็นยาอันตราย ยาควบคุมพิเศษ ยาใช้เฉพาะที่ หรือยาใช้ภายนอก ซึ่งจะเขียนด้วยอักษรสีแดงอ่านได้ชัดเจน
8. วิธีใช้และคำเตือน การจัดให้มีคำเตือนไว้บนฉลากและเอกสารกำกับยานั้น ใช้สำหรับยาที่รัฐมนตรีประกาศ หรือในกรณีที่กฎหมายบังคับ
การแสดงชื่อสามัญทางยาในฉลากและเอกสารกำกับยา
เพื่อให้ประชาชนผู้บริโภคได้รับรู้ข้อมูลที่ถูกต้องเกี่ยวกับชื่อตัวยาที่บริโภค อันจะนำไปสู่การบริโภคยาที่สมเหตุสมผลและปลอดภัย จึงได้ขอความร่วมมือผู้รับอนุญาตผลิตยาแผนปัจจุบัน ตามมาตรา 25 แห่งพระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510 ซึ่งต้องมีฉลากแสดงตามที่ขึ้นทะเบียนตำรับยาไว้ ให้มีการแสดงชื่อสามัญทางยา (Generic name) ในฉลากและเอกสารกำกับยาด้วยการแสดงชื่อสามัญทางยาในฉลาก และเอกสารกำกับยานั้นมีแนวทาง ดังนี้
• ให้มีชื่อสามัญทางยาเป็นภาษาเดียวกับชื่อทางการค้าในฉลากและเอกสารกำกับยา
• ให้แสดงชื่อสามัญทางยาทุกครั้งที่มีการแสดงชื่อทางการค้าในลักษณะโดด ๆ ยกเว้นกรณีที่แสดงชื่อการค้าเพื่อระบุสรรพคุณ คำเตือน ขนาด หรือแสดงชื่อการค้ารวมกับข้อความอื่น ๆ ที่เป็นการบรรยาย
• ให้แสดงชื่อสามัญทางยาไว้ด้านล่างถัดจากชื่อทางการค้า โดยให้ใกล้กับชื่อทางการค้า และไม่ให้มีข้อความหรือ เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ใด ๆ คั่นกลาง
• การแสดงชื่อสามัญทางยา ไม่ว่ากรณีใดจะต้องอ่านได้ชัดเจน ใช้สีที่เด่นชัด โดยไม่กลืนไปกับสีพื้น
อันตรายจากการใช้ยาโดยไม่อ่านฉลากและเอกสารกำกับยา
ยาทุกชนิดอาจทำให้เกิดอันตรายต่อผู้ใช้ได้ อันตรายที่เกิดขึ้นอาจจะน้อยหรือมากแล้วแต่ชนิดของยาและบุคคลที่ใช้ หากใช้โดยไม่ระมัดระวัง หรือไม่อ่านฉลากให้ละเอียดก่อนใช้ อาจเป็นอันตรายถึงชีวิตได้ อันตรายที่อาจเกิดขึ้น คือ
• การใช้ยาไม่ถูกต้อง คือ อาจใช้ไม่ถูกกับโรค ไม่ถูกกับคน หรือไม่ถูกขนาด ซึ่งการใช้ยาไม่ถูกต้องจะทำให้เกิดการดื้อยา เชื้อโรคดื้อยารักษาไม่ได้ผล ถ้าใช้ไม่ถูกคน เช่น เอายาสำหรับผู้ใหญ่มาให้เด็กรับประทาน เด็กอาจเป็นอันตรายจากการได้รับยาเกินขนาดได้
• แพ้ยา อาจมีอาการเล็กน้อย เช่น มีลมพิษคัน บวมเฉพาะที่อาจมีอาการปวดร้อน หรือปวดเหมือนเข็มแทง คลื่นไส้อาเจียน ปวดศีรษะ หรืออาจมีอาการรุนแรง เช่น แน่นหน้าอก หอบ หายใจมีเสียงดัง แน่นในคอ เสียงแหบ ความดันต่ำ คลำชีพจรไม่ได้ ซึ่งแล้วแต่บุคคลที่แพ้และชนิดของยา โดยการแพ้ยาจะเกิดเฉพาะบางคนและยาบางชนิด ไม่ได้ เกิดเหมือนกันทุกคน ดังนั้น ก่อนใช้ยาควรอ่านฉลากและเอกสารกำกับยาให้ละเอียด
• ฤทธิ์ข้างเคียงของยา ยาทุกชนิดมีพิษ แต่อาจมีความรุนแรงไม่เท่ากัน ฤทธิ์หรือพิษของยาจะเกิดขึ้นใน ลักษณะ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ฉลากยาบอกอะไรแก่เรา ยาเป็นหนึ่งในปัจจัยสี่ที่สำคัญต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์แม้ว่าในปัจจุบันวิทยาการจะเจริญก้าวหน้าไปมากและมีจำนวนแพทย์เพิ่มมากขึ้นก็ตามเมื่อถึงยามเจ็บไข้ได้ป่วยประชาชนส่วนใหญ่ก็ยังคงช่วยเหลือตนเองโดยการซื้อยาจากร้านขายยามารับประทานอย่างไรก็ตามในการใช้ยาทุกครั้งสิ่งที่สำคัญคือต้องใช้ให้ถูกต้องและสิ่งที่จะทำให้เราใช้ยาได้อย่างถูกต้องก็คือการอ่านฉลากและเอกสารกำกับยาเพราะจะทำให้รู้ว่าเป็นยาอะไรใช้อย่างไรมีสรรพคุณรักษาอะไรและมีคำเตือนอย่างไรบ้างรวมถึงข้อมูลอี่นที่มีอยู่บนฉลากและเอกสารกำกับยาเพื่อความปลอดภัยในการใช้ยาดังจะได้กล่าวต่อไป การแสดงฉลากและเอกสารกำกับยา ตามความในมาตรา 25 แห่งพระราชบัญญัติยาพ.ศ. 2510 กำหนดให้ผู้ได้รับอนุญาตผลิตยาแผนปัจจุบันต้องจัดให้มีฉลากตามที่ขึ้นทะเบียนตำรับยาไว้ปิดไว้ที่ภาชนะและหีบห่อบรรจุยาหรือฉลากและเอกสารกำกับยาโดยแสดงรายละเอียดดังนี้1. ชื่อยาเช่นนูตาดาก้าบวดหายเป็นต้น2. เลขทะเบียนตำรับยามักจะมีคำว่า Reg.No หรือเลขทะเบียนที่หรือทะเบียนยาถ้าเป็นยาที่มีตัวยาออกฤทธิ์เพียงตัวเดียวจะมีการแสดงดังนี้ -1A ... กรณีที่เป็นยาผลิตในประเทศ-1B ... กรณีที่เป็นยานำหรือสั่งเข้าจากต่างประเทศแล้วนำมาทำการแบ่งบรรจุในประเทศ-ซี 1 ... กรณีที่เป็นยานำหรือสั่งมาจากต่างประเทศเช่น 1A 12/35, 1B 3/39, 1C 30/39 เป็นต้นส่วนเลขที่แสดงต่อท้ายอักษรภาษาอังกฤษคือเลขลำดับที่ที่ได้รับอนุญาตให้ขึ้นทะเบียนตำรับยาและทับเลขท้ายของปีพ.ศ. ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนสำหรับตำรับยาที่มีตัวยาสำคัญตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไปเลขทะเบียนตำรับยาจะขึ้นต้นด้วย 2A..., 2B..., 2C ... แล้วตามด้วยลำดับที่และเลขท้ายของปีพ.ศ. ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนD. ยาที่ใช้สำหรับสัตว์อักษรย่อภาษาอังกฤษจะเป็น... คือยาที่ผลิตในประเทศ E.... คือยาที่นำหรือสั่งเข้ามาจากต่างประเทศแล้วมาแบ่งบรรจุ และ F. ... คือยาที่นำสั่งเข้ามาจากต่างประเทศยาที่เป็นยาแผนโบราณ อักษรภาษาอังกฤษ ก็จะเป็น G..... คือยาที่ผลิตในประเทศ H..... คือยาที่แบ่งบรรจุ และ K.... คือยาที่นำสั่งเข้ามาจากต่างประเทศ แล้วตามด้วยเลขลำดับที่ที่ได้รับอนุญาตและปี พ.ศ. ที่ได้รับการขึ้นทะเบียน3. ปริมาณหรือขนาดบรรจุของยา เช่น ยาเม็ด จะต้องแจ้งขนาดบรรจุไว้ในฉลากด้วยว่า ยานั้นบรรจุกี่เม็ด4. เลขที่ หรืออักษรแสดงครั้งที่ผลิตหรือวิเคราะห์ ซึ่งมักใช้คำย่อยเป็นภาษาอังกฤษ เช่น Lot No., Cont.No., Batch No. หรือ L , C , L/C , B/C แล้วตามด้วยเลขแสดงครั้งที่ผลิต5. ชื่อและที่ตั้งของผู้ผลิต ยาที่ผลิตในประเทศต้องมีชื่อผู้ผลิตจังหวัดที่ตั้งสถานที่ผลิตยาด้วย ในกรณีเป็นยาที่ผลิตในต่างประเทศ หรือสั่งเข้ามาต้องมีชื่อเมือง และประเทศที่ตั้งสถานที่ผลิตยา พร้อมทั้งชื่อของผู้นำหรือสั่งเข้ามา และจังหวัดที่ตั้งสถานที่นำ/สั่งยานั้น ๆ6. วันเดือนปีที่ผลิตยา มักมีคำย่อภาษาอังกฤษ Mfd. หรือ Mfg date. แล้วตามด้วยวันเดือนปีที่ผลิต หากยานั้นผลิตมานานเกิน 5 ปี ก็ไม่ควรนำมารับประทาน ส่วนยาบางชนิด เช่น ยาปฏิชีวนะ จะมีการระบุวันที่หมดอายุ โดยมีคำย่อ ว่า Exp.Date ซึ่งย่อมาจาก Expiration Date แล้วตามด้วยวันเดือนปีที่ยานั้นหมดอายุ7. คำว่า "ยาอันตราย" "ยาควบคุมพิเศษ" "ยาใช้เฉพาะที่" หรือ "ยาใช้ภายนอก" แล้วแต่กรณีว่า ยานั้นเป็นยาอันตราย ยาควบคุมพิเศษ ยาใช้เฉพาะที่ หรือยาใช้ภายนอก ซึ่งจะเขียนด้วยอักษรสีแดงอ่านได้ชัดเจน8. วิธีใช้และคำเตือน การจัดให้มีคำเตือนไว้บนฉลากและเอกสารกำกับยานั้น ใช้สำหรับยาที่รัฐมนตรีประกาศ หรือในกรณีที่กฎหมายบังคับ การแสดงชื่อสามัญทางยาในฉลากและเอกสารกำกับยา เพื่อให้ประชาชนผู้บริโภคได้รับรู้ข้อมูลที่ถูกต้องเกี่ยวกับชื่อตัวยาที่บริโภค อันจะนำไปสู่การบริโภคยาที่สมเหตุสมผลและปลอดภัย จึงได้ขอความร่วมมือผู้รับอนุญาตผลิตยาแผนปัจจุบัน ตามมาตรา 25 แห่งพระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510 ซึ่งต้องมีฉลากแสดงตามที่ขึ้นทะเบียนตำรับยาไว้ ให้มีการแสดงชื่อสามัญทางยา (Generic name) ในฉลากและเอกสารกำกับยาด้วยการแสดงชื่อสามัญทางยาในฉลาก และเอกสารกำกับยานั้นมีแนวทาง ดังนี้• ให้มีชื่อสามัญทางยาเป็นภาษาเดียวกับชื่อทางการค้าในฉลากและเอกสารกำกับยา• ให้แสดงชื่อสามัญทางยาทุกครั้งที่มีการแสดงชื่อทางการค้าในลักษณะโดด ๆ ยกเว้นกรณีที่แสดงชื่อการค้าเพื่อระบุสรรพคุณ คำเตือน ขนาด หรือแสดงชื่อการค้ารวมกับข้อความอื่น ๆ ที่เป็นการบรรยาย• ให้แสดงชื่อสามัญทางยาไว้ด้านล่างถัดจากชื่อทางการค้า โดยให้ใกล้กับชื่อทางการค้า และไม่ให้มีข้อความหรือ เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ใด ๆ คั่นกลาง
• การแสดงชื่อสามัญทางยา ไม่ว่ากรณีใดจะต้องอ่านได้ชัดเจน ใช้สีที่เด่นชัด โดยไม่กลืนไปกับสีพื้น
อันตรายจากการใช้ยาโดยไม่อ่านฉลากและเอกสารกำกับยา
ยาทุกชนิดอาจทำให้เกิดอันตรายต่อผู้ใช้ได้ อันตรายที่เกิดขึ้นอาจจะน้อยหรือมากแล้วแต่ชนิดของยาและบุคคลที่ใช้ หากใช้โดยไม่ระมัดระวัง หรือไม่อ่านฉลากให้ละเอียดก่อนใช้ อาจเป็นอันตรายถึงชีวิตได้ อันตรายที่อาจเกิดขึ้น คือ
• การใช้ยาไม่ถูกต้อง คือ อาจใช้ไม่ถูกกับโรค ไม่ถูกกับคน หรือไม่ถูกขนาด ซึ่งการใช้ยาไม่ถูกต้องจะทำให้เกิดการดื้อยา เชื้อโรคดื้อยารักษาไม่ได้ผล ถ้าใช้ไม่ถูกคน เช่น เอายาสำหรับผู้ใหญ่มาให้เด็กรับประทาน เด็กอาจเป็นอันตรายจากการได้รับยาเกินขนาดได้
• แพ้ยา อาจมีอาการเล็กน้อย เช่น มีลมพิษคัน บวมเฉพาะที่อาจมีอาการปวดร้อน หรือปวดเหมือนเข็มแทง คลื่นไส้อาเจียน ปวดศีรษะ หรืออาจมีอาการรุนแรง เช่น แน่นหน้าอก หอบ หายใจมีเสียงดัง แน่นในคอ เสียงแหบ ความดันต่ำ คลำชีพจรไม่ได้ ซึ่งแล้วแต่บุคคลที่แพ้และชนิดของยา โดยการแพ้ยาจะเกิดเฉพาะบางคนและยาบางชนิด ไม่ได้ เกิดเหมือนกันทุกคน ดังนั้น ก่อนใช้ยาควรอ่านฉลากและเอกสารกำกับยาให้ละเอียด
• ฤทธิ์ข้างเคียงของยา ยาทุกชนิดมีพิษ แต่อาจมีความรุนแรงไม่เท่ากัน ฤทธิ์หรือพิษของยาจะเกิดขึ้นใน ลักษณะ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ยานี่เพื่อดูรูปภาพฉลากอะไรแก่เรา
ยา และมีจำนวนแพทย์เพิ่มมากขึ้นก็ตาม อย่างไรก็ตามในการใช้ยาทุกครั้งสิ่ง ที่สำคัญคือต้องใช้ให้ถูกต้องและสิ่งที่จะทำให้เราใช้ยาได้อย่างถูกต้องก็คือการอ่านฉลากและเอกสารกำกับยาเพราะจะทำให้รู้ว่าเป็นยาอะไรใช้อย่างไรมีสรรพคุณรักษา อะไรและมีคำเตือนอย่างไรบ้าง 25 แห่งพระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510 ปิดไว้ที่ภาชนะและหีบห่อบรรจุยา หรือฉลากและเอกสารกำกับยาโดยแสดงรายละเอียดดังนี้ 1 ชื่อยาเช่นนูตาดาก้าบ วดหายเป็นต้น 2 เลขทะเบียนตำรับยามักจะมีคำ ว่า Reg.No หรือเลขทะเบียนที่หรือทะเบียนยา 1A .... กรณีที่เป็นยาผลิตในประเทศ- เช่น 1A 12/35, 1B 3/39, 1C 30/39 คือ และทับเลขท้ายของปี พ.ศ. ที่ได้รับการขึ้นทะเบียน 2 ตัวขึ้นไปเลขทะเบียนตำรับยาจะ ขึ้นต้นด้วย ...... 2A, 2B ....... , 2C ............. พ.ศ. D .... คือยาที่ผลิตในประเทศE .... F .... อักษรภาษาอังกฤษก็จะเป็น G ..... คือยาที่ผลิตในประเทศH ..... คือยาที่แบ่งบรรจุและK .... คือยาที่นำสั่งเข้ามาจาก ต่างประเทศ พ.ศ. ที่ได้รับการขึ้นทะเบียน3 ปริมาณหรือขนาดบรรจุของยาเช่นยา เม็ด ยานั้นบรรจุกี่เม็ด4 เลขที่ ซึ่งมักใช้คำย่อยเป็นภาษาอังกฤษ เช่น Lot เลข Cont.No. , Batch No. หรือ L, C, L / C, B / C แล้วตามด้วยเลขแสดงครั้งที่ผลิต5 ชื่อและที่ตั้งของผู้ผลิต ในกรณีเป็นยาที่ผลิตในต่าง ประเทศหรือสั่งเข้ามาต้องมีชื่อเมืองและประเทศที่ตั้งสถานที่ผลิตยา ๆ6 วันเดือนปีที่ผลิตยามักมี คำย่อภาษาอังกฤษ MFD วันหรือ Mfg แล้วตามด้วยวันเดือนปีที่ผลิต หากยานั้นผลิตมานานเกิน 5 ปีก็ไม่ควรนำมารับประทานส่วน ยาบางชนิดเช่นยาปฏิชีวนะจะมีการระบุวันที่หมดอายุโดยมีคำย่อว่า Exp.Date ซึ่งย่อมาจาก ที่หมดอายุ วันที่ คำว่า "ยาอันตราย" "ยาควบคุมพิเศษ" "ยาใช้เฉพาะที่" หรือ "ยาใช้ภายนอก" แล้วแต่กรณีว่ายานั้นเป็นยาอันตราย ยาควบคุมพิเศษยาใช้เฉพาะที่หรือยาใช้ภายนอก วิธีใช้และคำเตือน ใช้สำหรับยาที่รัฐมนตรีประกาศ ตามมาตรา 25 แห่งพระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510 ให้มีการแสดงชื่อสามัญทางยา (ชื่อทั่วไป) เอกสารกำกับและยานั้นมีแนวทางดังนี้• ๆ คำเตือนขนาด ที่เป็นการ ๆ บรรยาย• ให้ใกล้โดยกับชื่อทางการค้าและไม่ให้มีข้อความหรือเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ใด ๆ คั่นกลาง•หัวเรื่อง: การสำคัญแสดงชื่อสามัญทางยาไม่ว่าได้กรณีใดจะคุณต้องอ่านได้ชัดเจนใช้สีที่เด่นชัด โดยใช้หากไม่ระมัดระวังหรือไม่อ่านฉลากให้ละเอียดก่อนใช้อาจเป็นอันตรายถึงชีวิตได้อันตรายที่อาจเกิดขึ้นคือ•หัวเรื่อง: การใช้ยาไม่ถูกคุณต้องคืออาจใช้ไม่ถูกกับโรคไม่ถูกกับของคุณคนหรือไม่ถูกขนาด เชื้อโรคดื้อยารักษาไม่ได้ผลถ้าใช้ ไม่ถูกคนเช่น แพ้ยาอาจมีอาการเล็กน้อยเช่นมี ลมพิษคันบวมเฉพาะที่อาจมีอาการปวดร้อนหรือปวดเหมือนเข็มแทงคลื่นไส้อาเจียนปวดศีรษะหรืออาจมีอาการรุนแรงเช่นแน่นหน้าอกหอบหายใจมีเสียงดังแน่นในคอเสียงแหบความดันต่ำคลำชีพจรไม่ได้ ไม่ได้เกิดเหมือนกันทุกคนดังนั้น ฤทธิ์ข้างเคียงของยายาทุกชนิด มีพิษ แต่อาจมีความรุนแรงไม่เท่ากันฤทธิ์หรือพิษของยาจะเกิดขึ้นในลักษณะ
































การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ฉลากยาบอกอะไรแก่เรายาเป็นหนึ่งในปัจจัยสี่ที่สำคัญต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์แม้ว่าในปัจจุบันวิทยาการจะเจริญก้าวหน้าไปมากและมีจำนวนแพทย์เพิ่มมากขึ้นก็ตามเมื่อถึงยามเจ็บไข้ได้ป่วยประชาชนส่วนใหญ่ก็ยังคงช่วยเหลือตนเองโดยการซื้อยาจากร้านขายยามารับประทานอย่างไรก็ตามในการใช้ย าทุกครั้งสิ่งที่สำคัญคือต้องใช้ให้ถูกต้องและสิ่งที่จะทำให้เราใช้ยาได้อย่างถูกต้องก็คือการอ่านฉลากและเอกสารกำกับยาเพราะจะทำให้รู้ว่าเป็นยาอะไรใช้อย่างไรมีสรรพคุณรักษาอะไรและมีคำเตือนอย่างไรบ้างรวมถึงข้อมูลอี่นที่มีอยู่บนฉลากและเอกสารกำกับยาเพื่อคว ามปลอดภัยในการใช้ยาดังจะได้กล่าวต่อไปการแสดงฉลากและเอกสารกำกับยา25 ตามความในมาตราแห่งพระราชบัญญัติยาพ . ศ . 2510 กำหนดให้ผู้ได้รับอนุญาตผลิตยาแผนปัจจุบันต้องจัดให้มีฉลากตามที่ขึ้นทะเบียนตำรับยาไว้ปิดไว้ที่ภาชนะและหีบห่อบรรจุยาหรือฉลากและเอกสารกำกับยาโดยแสดงรายละเอียดดังนี้1 . ชื่อยาเช่นนูตาดาก้าบวดหายเป็นต้น2 . เลขทะเบียนตำรับยามักจะมีคำว่าเรจ ไม่หรือเลขทะเบียนที่หรือทะเบียนยาถ้าเป็นยาที่มีตัวยาออกฤทธิ์เพียงตัวเดียวจะมีการแสดงดังนี้- กรณีที่เป็นยาผลิตในประเทศ 1A . . . . . . .- . . . . . . . กรณีที่เป็นยานำหรือสั่งเข้าจากต่างประเทศแล้วนำมาทำการแบ่งบรรจุในประเทศ 1B- 1C . . . . . . . กรณีที่เป็นยานำหรือสั่งมาจากต่างประเทศ 12 / 35 เช่น 1A , 1B 3 / 39 , 1C 30 / 39 เป็นต้นส่วนเลขที่แสดงต่อท้ายอักษรภาษาอังกฤษความเลขลำดับที่ที่ได้รับอนุญาตให้ขึ้นทะเบียนตำรับยาและทับเลขท้ายของปีพ . ศ . ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนสำหรับตำรับยาที่มีตัวยาสำคัญตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไปเลขทะเบียนตำรับยาจะขึ้นต้นด้วย 2A 2B 2C ซื้ . . . . . . . . . . . . . , , แล้วตามด้วยลำดับที่และเลขท้ายของปีพ . ศ . ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนยาที่ใช้สำหรับสัตว์อักษรย่อภาษาอังกฤษจะเป็น D . . . . . . . . คือยาที่ผลิตในประเทศ. . . . . . . . คือยาที่นำหรือสั่งเข้ามาจากต่างประเทศแล้วมาแบ่งบรรจุและ F . . . . . . . . คือยาที่นำสั่งเข้ามาจากต่างประเทศยาที่เป็นยาแผนโบราณอักษรภาษาอังกฤษก็จะเป็นกรัม . . . . . คือยาที่ผลิตในประเทศH . . . . . คือยาที่แบ่งบรรจุและ. . . . . . . . . คือยาที่นำสั่งเข้ามาจากต่างประ
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: