ขั้นตอนการวางแผนการผลิต1.จัดทำแผนความต้องการของลูกค้า (Customer Requir การแปล - ขั้นตอนการวางแผนการผลิต1.จัดทำแผนความต้องการของลูกค้า (Customer Requir ไทย วิธีการพูด

ขั้นตอนการวางแผนการผลิต1.จัดทำแผนคว

ขั้นตอนการวางแผนการผลิต

1.จัดทำแผนความต้องการของลูกค้า (Customer Requirement Planning)

แผนความต้องการของลูกค้าเป็นขั้นตอนแรกของการวางแผนกการผลิต ข้อมูลความต้องการของลูกค้าอาจจะได้มาจากหลายทาง เช่น จากลูกค้าโดยตรง วิธีนี้หากสามารถหามาได้จะเป็นข้อมูลที่มีความแม่นยำสูงมาก สามารถวางแผนการผลิตได้ง่าย, ข้อมูลความต้องการของลูกค้าจากการพยากรณ์ ข้อมูลประเภทนี้ต้องมีข้อมูลสนับสนุนที่ดีพอสมควรจึงจะทำให้การวางแผนการผลิตมีความแม่นยำ ต้องมีการวิเคราะห์ในหลายๆ รูปแบบ ซึ่งข้อมูลแต่ละประเภทก็มีความแปรปรวนที่แตกต่างกัน



2.จัดทำแผนความต้องการวัสดุ (Material Requirement Planning)
แผนความต้องการวัสดุหมายถึงการจัดเตรียม จัดหา วัสดุ,ชิ้นส่วน,วัสดุกึ่งสำเร็จ รูปให้เพียงพอต่อความต้องการในการผลิต ซึ่งสามารถประมาณการได้จากประมาณการความต้องการของลูกค้า. รายการวัสดุที่จะต้องใช้จะถูกกำหนดไว้ในบัญชีรายการวัสดุ (Bill Of Material : BOM) ซึ่งจะระบุชนิดของวัสดุและชิ้นส่วน, ปริมาณการใช้ต่อหน่วย รวมถึงข้อมูลที่จำเป็นอื่นๆ เช่น ระยะเวลาในการจัดส่งจากซัพพลายเออร์ กรณีที่มีการสั่งซื้อจากภายนอก, กำลังการผลิตภายในสำหรับกรณีที่ชิ้นส่วนเอง ซึ่งข้อมูลทั้งหมดต้องมีความชัดเจนทั้งด้านปริมาณและระยะเวลาส่งมอบ.



3.วางแผนการผลิต (Production Planning)
หลังจากที่ได้แผนความต้องการของลูกค้าและมีการเตรียมการวัสดุให้เพียงพอแล้ว ก็จะทำการวางแผนการผลิต. ซึ่งมีขั้นตอนหลักๆ ดังต่อไปนี้



3.1วางแผนกระบวนการ (Process Planning)
การวางแผนกระบวนการเป็นกำหนดกระบวนการและลำดับในการผลิต. กระบวนการที่ดีต้องเป็นกระบวนการที่สั้นที่สุดซึ่งหมายถึงใช้เวลาในการผลิตจนกระทั่งออกมาเป็นสินค้าสำเร็จรูปน้อยที่สุด.


3.2วางแผนการเครื่องจักร (Machine Planning)

ในกระบวนการผลิตที่ต้องใช้เครื่องหลักเป็นหลักจำเป็นต้องมีการใช้เครื่องจักรให้เกิดประโยชน์สุงสุด ตามทฤษฎีแล้วเครื่องจักรต้องทำงาน 24 ชั่วโมงทุกวัน หรือไม่มีการหยุดทำงานเลย แต่ในการทำงานจริง เวลาสูญเสียของเครื่องจักรมีหลายอย่าง เช่น หยุดเพื่อปรับตั้งชิ้นงาน, หยุดเพื่อซ่อมแซม, หยุดเพราะไม่มีงานป้อน, หยุดเพื่อตรวจสอบชิ้นงาน เป็นต้น.



3.3วางแผนด้านแรงงาน (Man Planning)
การวางแผนการแรงงานจะคล้ายๆ กับการวางแผนการใช้เครื่องจักร คือ ต้องให้กระบวนการทำงานอย่างต่อเนื่องให้มากที่สุดแต่ทั้งนี้ต้องอย่าลืมกฎหมายด้านแรงงานที่กำหนดเวลาในการทำงาน การพักที่ชัดเจน ดังนั้น การวางแผนด้านแรงงานจึงยากกว่าการวางแผนเครื่องจักรหลายเท่าตัว.



3.4การวางแผนการจัดเก็บ (Store Planning)
การวางแผนการจัดเก็บ หมายถึงการวางแผนในการควบคุมวัสดุคงคลังให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมซึ่งหมายถึงมีเพียงพอต่อการใช้งานและไม่สูงเกินไปภายใต้ระดับที่กำหนด. การวางแผนการจัดเก็บนี้รวมถึง การวางแผนการจัดเก็บสินค้าในระหว่างผลิต, สินค้ากึ่งสำเร็จรูป, สินค้าสำเร็จรูป.



ความสัมพันธ์ระหว่างการวางแผนและการควบคุมการผลิตกับหน้าที่อื่นๆ ในบริษัท

หน้าที่การวางแผนการผลิตและการควบคุมการผลิตจะเป็นตัวเชื่อมประสานงานระหว่างหน่วยงานต่างๆ ในบริษัท เพื่อสำหรับวางแผนการดำเนินงานและการให้แผนการผลิตต่างๆ ประสบผลสำเร็จ โดยลำพังในหน่วยงานของตัวมันเองแล้วไม่อาจจะดำเนินการใดๆ ๆได้ นอกจากนี้จะได้รับการสนับสนุนจากหน้าที่อื่นๆ เช่น ฝ่ายขายหรือฝ่ายการตลาด, ฝ่ายวิศวกรรมการผลิต, วิศวกรรมอุตสาหการ, ฝ่ายผลิต ความสัมพันธิระหว่างการวางแผนการผลิตและควบคุมการผลิตกับหัวหน้าฝ่ายอื่นๆ นั้น พอจะสรุปได้ดังนี้

1.ความสัมพันธ์กับฝ่ายขายหรือการตลาด
การวางแผนและควบคุมการผลิต จำทำหน้าที่เชื่อมโยงระหว่างฝ่ายผลิตกับฝ่ายขาย ดังนั้น ผู้ที่มีหน้าที่รับผิดชอบจะต้องมีความความคุ้นเคยและเข้าใจในตัวสินค้าและลูกค้าเป้นอย่างดี เพื่อที่ได้ให้ความช่วยเหลือฝ่ายขายในเรื่องของการกำหนดระยะเวลาในการจัดส่งสินค้าให้กับลูกค้าหรือทำการวางแผนการผลิตเพื่อผลิตสินค้าคงคลังให้อยู่ในระดับที่เพียงพอกับความต้องการของลูกค้าอยู่ตลอดเวลา.

2.ความสัมพันธฺกับหน่วยงานวิศวกรรมการผลิต
ผู้ที่รับผิดชอบในแผนกวางแผนการผลิตและควบคุมการผลิต อาจะไม่จำเป็นต้องรู้รายละเอียดต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานวิศวกรรมหรือความรู้ทางด้านเทคนิคมากนัก เพราะหน่วยงานวิศวกรรมการผลิตจะเป้นฝ่ายกำหนดวิธีหรือกระบวนการผลิตสำหรับผลิตภัณฑ์แต่ละชนิดหรือตามใบสั่งทำจากลูกค้า ในทางตรงกันข้าม แผนกวางแผนการผลิตและควบคุมการผลิตอาจจะให้ข้อมูลต่างๆ ในเรื่องของเวลาทำงานจริงกับหน่วยงานวิศกรรมการผลิตเพื่อใช้ในการตัดสินใจในการการเลือกวิธีและกระบวนการที่ดีที่สุดสำหรับผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ หรืองานสั่งทำใหม่อันจะนำมาซึ่งการปรับปรุงวิธีการผลิตที่ใช้อยู่ในปัจจุบันให้ดีขึ้น.
ในโรงงานผลิตขนาเล็ก อาจจะไม่มีความจำเป็นต้องมีหน่วยงานวิศกรรมการผลิตก็ได้ ทั้งนี้เนื่อวจากว่าปริมาณการสั่งทำอาจมีจำนวนไม่มากนัก ดังนั้น ผู้จัดการฝ่ายผลิตจึงมีหน้าที่เป็นผู้กำหนดกระบวนการผลิตเอง กรณีที่เป็นการผลิตแบบต่อเนื่อง กระบวนการผลิตมักจะถูกกำหนดเป็นแบบสายงานผลิตภัณฑ์(Production Line) ไว้เรียบร้อยก่อนที่จะมีการจัดตั้งโรงงาน จึงไม่จำเป็นเป็นต้องมีหน่วยงานนี้คอยรับผิดชอบ แต่สำหรับการผลิตที่เป็นแบบตามสั่งซึ่งไม่อาจกำหนดกระบวนการไว้ก่อนล่วงหน้าได้ทั้งนี้เนื่องจากความแตกต่างในเรื่องของลักษณะงาน ขั้นตอนการดำเนินงาน ดังนั้น หน่วยงานวิศวกรรมการผลิตจึงมีความสำคัญและจำเป็นที่จะต้องมีไว้เพื่อทำหน้าที่เกี่ยวกับการจัดทำรายการวัสดุ (Bill Of Material : BOM) การจัดลำดับขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละงานสั่งทำ หลังจากนั้นจึงเป็นหน้าที่ของหน่วยงานวางแผนการผลิตและควบคุมการผลิตที่จะต้องรับผิดชอบในเรื่องของการจัดหาวัสดุเพื่อให้พอต่อความต้องการ การกำหนดเวลาในการสั่งซื้อและรับวัสดุ การกำหนดภาระบนเครื่องจักรในแต่ละช่วงเวลาและภาระงานเร่งด่วนที่แทรกเข้ามาและกำลังคนที่มีอยู่ในโรงงาน เมื่อได้มีการตกลงและยอมรับงานสั่งทำใดๆ แผนกการวางแผนการผลิตและควบคุมการผลิตก็จะใช้รายการวัสดุและลำดับขั้นตอนการทำงานมาจัดทำแผนการผลิตและตารางการผลิตต่อไป



3.ความสัมพันธ์กับหน่วยงานวิศวกรรมอุตสาหการ

ในธุรกิจอุตสาหกรรมที่มีขนาดใหญ่ จะมีกลุ่มวิศวกรรมอุตสาหการรับผิดชอบในด้านงานต่างๆ เช่น วิศวกรบางคนอาจจะรับผิด
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ขั้นตอนการวางแผนการผลิต1.จัดทำแผนความต้องการของลูกค้า (ลูกค้าวางแผนความต้องการ)แผนความต้องการของลูกค้าเป็นขั้นตอนแรกของการวางแผนกการผลิตข้อมูลความต้องการของลูกค้าอาจจะได้มาจากหลายทางเช่นจากลูกค้าโดยตรงวิธีนี้หากสามารถหามาได้จะเป็นข้อมูลที่มีความแม่นยำสูงมากสามารถวางแผนการผลิตได้ง่าย ข้อมูลความต้องการของลูกค้าจากการพยากรณ์ข้อมูลประเภทนี้ต้องมีข้อมูลสนับสนุนที่ดีพอสมควรจึงจะทำให้การวางแผนการผลิตมีความแม่นยำต้องมีการวิเคราะห์ในหลาย ๆ รูปแบบซึ่งข้อมูลแต่ละประเภทก็มีความแปรปรวนที่แตกต่างกัน2.จัดทำแผนความต้องการวัสดุ (ความต้องการวัสดุการวางแผน)แผนความต้องการวัสดุหมายถึงการจัดเตรียมจัดหาวัสดุ ชิ้นส่วน วัสดุกึ่งสำเร็จรูปให้เพียงพอต่อความต้องการในการผลิตซึ่งสามารถประมาณการได้จากประมาณการความต้องการของลูกค้า รายการวัสดุที่จะต้องใช้จะถูกกำหนดไว้ในบัญชีรายการวัสดุ (รายการวัสดุและส่วนประกอบ: BOM) ซึ่งจะระบุชนิดของวัสดุและชิ้นส่วน ปริมาณการใช้ต่อหน่วยรวมถึงข้อมูลที่จำเป็นอื่น ๆ เช่นระยะเวลาในการจัดส่งจากซัพพลายเออร์กรณีที่มีการสั่งซื้อจากภายนอก กำลังการผลิตภายในสำหรับกรณีที่ชิ้นส่วนเองซึ่งข้อมูลทั้งหมดต้องมีความชัดเจนทั้งด้านปริมาณและระยะเวลาส่งมอบ3.วางแผนการผลิต (ใบ)หลังจากที่ได้แผนความต้องการของลูกค้าและมีการเตรียมการวัสดุให้เพียงพอแล้วก็จะทำการวางแผนการผลิต ซึ่งมีขั้นตอนหลัก ๆ ดังต่อไปนี้3.1วางแผนกระบวนการ (กระบวนการวางแผน)การวางแผนกระบวนการเป็นกำหนดกระบวนการและลำดับในการผลิต กระบวนการที่ดีต้องเป็นกระบวนการที่สั้นที่สุดซึ่งหมายถึงใช้เวลาในการผลิตจนกระทั่งออกมาเป็นสินค้าสำเร็จรูปน้อยที่สุด3.2วางแผนการเครื่องจักร (เครื่องวางแผน)ในกระบวนการผลิตที่ต้องใช้เครื่องหลักเป็นหลักจำเป็นต้องมีการใช้เครื่องจักรให้เกิดประโยชน์สุงสุดตามทฤษฎีแล้วเครื่องจักรต้องทำงาน 24 ชั่วโมงทุกวันหรือไม่มีการหยุดทำงานเลยแต่ในการทำงานจริงเวลาสูญเสียของเครื่องจักรมีหลายอย่างเช่นหยุดเพื่อปรับตั้งชิ้นงาน หยุดเพื่อซ่อมแซม หยุดเพราะไม่มีงานป้อน หยุดเพื่อตรวจสอบชิ้นงานเป็นต้น3.3วางแผนด้านแรงงาน (คนวางแผน)การวางแผนการแรงงานจะคล้าย ๆ กับการวางแผนการใช้เครื่องจักรคือต้องให้กระบวนการทำงานอย่างต่อเนื่องให้มากที่สุดแต่ทั้งนี้ต้องอย่าลืมกฎหมายด้านแรงงานที่กำหนดเวลาในการทำงานการพักที่ชัดเจนดังนั้นการวางแผนด้านแรงงานจึงยากกว่าการวางแผนเครื่องจักรหลายเท่าตัว3.4การวางแผนการจัดเก็บ (ร้านค้าการวางแผน)การวางแผนการจัดเก็บหมายถึงการวางแผนในการควบคุมวัสดุคงคลังให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมซึ่งหมายถึงมีเพียงพอต่อการใช้งานและไม่สูงเกินไปภายใต้ระดับที่กำหนด การวางแผนการจัดเก็บนี้รวมถึงการวางแผนการจัดเก็บสินค้าในระหว่างผลิต สินค้ากึ่งสำเร็จรูป สินค้าสำเร็จรูป ความสัมพันธ์ระหว่างการวางแผนและการควบคุมการผลิตกับหน้าที่อื่น ๆ ในบริษัทหน้าที่การวางแผนการผลิตและการควบคุมการผลิตจะเป็นตัวเชื่อมประสานงานระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ในบริษัทเพื่อสำหรับวางแผนการดำเนินงานและการให้แผนการผลิตต่าง ๆ ประสบผลสำเร็จโดยลำพังในหน่วยงานของตัวมันเองแล้วไม่อาจจะดำเนินการใด ๆ ๆได้นอกจากนี้จะได้รับการสนับสนุนจากหน้าที่อื่น ๆ เช่นฝ่ายขายหรือฝ่ายการตลาด ฝ่ายวิศวกรรมการผลิต วิศวกรรมอุตสาหการ ฝ่ายผลิตความสัมพันธิระหว่างการวางแผนการผลิตและควบคุมการผลิตกับหัวหน้าฝ่ายอื่น ๆ นั้นพอจะสรุปได้ดังนี้1.ความสัมพันธ์กับฝ่ายขายหรือการตลาดการวางแผนและควบคุมการผลิตจำทำหน้าที่เชื่อมโยงระหว่างฝ่ายผลิตกับฝ่ายขายดังนั้นผู้ที่มีหน้าที่รับผิดชอบจะต้องมีความความคุ้นเคยและเข้าใจในตัวสินค้าและลูกค้าเป้นอย่างดีเพื่อที่ได้ให้ความช่วยเหลือฝ่ายขายในเรื่องของการกำหนดระยะเวลาในการจัดส่งสินค้าให้กับลูกค้าหรือทำการวางแผนการผลิตเพื่อผลิตสินค้าคงคลังให้อยู่ในระดับที่เพียงพอกับความต้องการของลูกค้าอยู่ตลอดเวลา2.ความสัมพันธฺกับหน่วยงานวิศวกรรมการผลิตผู้ที่รับผิดชอบในแผนกวางแผนการผลิตและควบคุมการผลิตอาจะไม่จำเป็นต้องรู้รายละเอียดต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานวิศวกรรมหรือความรู้ทางด้านเทคนิคมากนักเพราะหน่วยงานวิศวกรรมการผลิตจะเป้นฝ่ายกำหนดวิธีหรือกระบวนการผลิตสำหรับผลิตภัณฑ์แต่ละชนิดหรือตามใบสั่งทำจากลูกค้าในทางตรงกันข้ามแผนกวางแผนการผลิตและควบคุมการผลิตอาจจะให้ข้อมูลต่าง ๆ ในเรื่องของเวลาทำงานจริงกับหน่วยงานวิศกรรมการผลิตเพื่อใช้ในการตัดสินใจในการการเลือกวิธีและกระบวนการที่ดีที่สุดสำหรับผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ หรืองานสั่งทำใหม่อันจะนำมาซึ่งการปรับปรุงวิธีการผลิตที่ใช้อยู่ในปัจจุบันให้ดีขึ้นในโรงงานผลิตขนาเล็กอาจจะไม่มีความจำเป็นต้องมีหน่วยงานวิศกรรมการผลิตก็ได้ทั้งนี้เนื่อวจากว่าปริมาณการสั่งทำอาจมีจำนวนไม่มากนักดังนั้นผู้จัดการฝ่ายผลิตจึงมีหน้าที่เป็นผู้กำหนดกระบวนการผลิตเองกรณีที่เป็นการผลิตแบบต่อเนื่องกระบวนการผลิตมักจะถูกกำหนดเป็นแบบสายงานผลิตภัณฑ์ (สายการผลิต) ไว้เรียบร้อยก่อนที่จะมีการจัดตั้งโรงงานจึงไม่จำเป็นเป็นต้องมีหน่วยงานนี้คอยรับผิดชอบแต่สำหรับการผลิตที่เป็นแบบตามสั่งซึ่งไม่อาจกำหนดกระบวนการไว้ก่อนล่วงหน้าได้ทั้งนี้เนื่องจากความแตกต่างในเรื่องของลักษณะงานขั้นตอนการดำเนินงานดังนั้นหน่วยงานวิศวกรรมการผลิตจึงมีความสำคัญและจำเป็นที่จะต้องมีไว้เพื่อทำหน้าที่เกี่ยวกับการจัดทำรายการวัสดุ (รายการวัสดุและส่วนประกอบ: BOM) การจัดลำดับขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละงานสั่งทำหลังจากนั้นจึงเป็นหน้าที่ของหน่วยงานวางแผนการผลิตและควบคุมการผลิตที่จะต้องรับผิดชอบในเรื่องของการจัดหาวัสดุเพื่อให้พอต่อความต้องการการกำหนดเวลาในการสั่งซื้อและรับวัสดุการกำหนดภาระบนเครื่องจักรในแต่ละช่วงเวลาและภาระงานเร่งด่วนที่แทรกเข้ามาและกำลังคนที่มีอยู่ในโรงงานเมื่อได้มีการตกลงและยอมรับงานสั่งทำใด ๆ แผนกการวางแผนการผลิตและควบคุมการผลิตก็จะใช้รายการวัสดุและลำดับขั้นตอนการทำงานมาจัดทำแผนการผลิตและตารางการผลิตต่อไป3.ความสัมพันธ์กับหน่วยงานวิศวกรรมอุตสาหการในธุรกิจอุตสาหกรรมที่มีขนาดใหญ่จะมีกลุ่มวิศวกรรมอุตสาหการรับผิดชอบในด้านงานต่าง ๆ เช่นวิศวกรบางคนอาจจะรับผิด
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
(ความต้องการของลูกค้า เช่นจากลูกค้าโดยตรง สามารถวางแผนการผลิตได้ง่าย, ต้องมีการวิเคราะห์ในหลาย ๆ รูปแบบ (ความต้องการวัสดุ จัดหาวัสดุ, ชิ้นส่วน, วัสดุกึ่งสำเร็จ (บิลของวัสดุ: BOM) ซึ่งจะระบุชนิดของวัสดุและชิ้นส่วน, ปริมาณการใช้ต่อหน่วยรวมถึงข้อมูลที่จำเป็นอื่น ๆ เช่น กรณีที่มีการสั่งซื้อจากภายนอก, (การผลิต ก็จะทำการวางแผนการผลิต. ซึ่งมีขั้นตอนหลัก ๆ ดังต่อไปนี้3.1 วางแผนกระบวนการ (กระบวนการ (เครื่อง ตามทฤษฎีแล้วเครื่องจักรต้องทำงานตลอด 24 ชั่วโมงทุกวันหรือไม่มีการหยุดทำงานเลย แต่ในการทำงานจริง เช่นหยุดเพื่อปรับตั้งชิ้นงาน, หยุดเพื่อซ่อมแซม, หยุดเพราะไม่มีงานป้อน, หยุดเพื่อตรวจสอบชิ้นงานเป็นต้น. 3.3 วางแผนด้านแรงงาน (Man Planning) การวางแผนการแรงงานจะคล้าย ๆ กับการวางแผนการใช้เครื่องจักรคือ การพักที่ชัดเจนดังนั้น (ร้านค้า Planning) การวางแผนการจัดเก็บ การวางแผนการจัดเก็บนี้รวมถึง สินค้ากึ่งสำเร็จรูป, ใน บริษัท ประสบผลสำเร็จ ๆ ได้ เช่นฝ่ายขายหรือฝ่ายการตลาด, ฝ่ายวิศวกรรมการผลิต, วิศวกรรมอุตสาหการ, ฝ่ายผลิต นั้น ดังนั้น ในทางตรงกันข้าม ดังนั้น กรณีที่เป็นการผลิตแบบต่อเนื่อง สาย) ขั้นตอนการดำเนินงานดังนั้น (บิลของวัสดุ: BOM) เช่นวิศวกรบางคนอาจจะรับผิด




















































การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ขั้นตอนการวางแผนการผลิต

1 . จัดทำแผนความต้องการของลูกค้า ( การวางแผนความต้องการลูกค้า )

แผนความต้องการของลูกค้าเป็นขั้นตอนแรกของการวางแผนกการผลิตข้อมูลความต้องการของลูกค้าอาจจะได้มาจากหลายทางเช่นจากลูกค้าโดยตรงวิธีนี้หากสามารถหามาได้จะเป็นข้อมูลที่มีความแม่นยำสูงมากข้อมูลความต้องการของลูกค้าจากการพยากรณ์ข้อมูลประเภทนี้ต้องมีข้อมูลสนับสนุนที่ดีพอสมควรจึงจะทำให้การวางแผนการผลิตมีความแม่นยำต้องมีการวิเคราะห์ในหลายๆรูปแบบ


2 . จัดทำแผนความต้องการวัสดุ ( การวางแผนความต้องการวัสดุ )
แผนความต้องการวัสดุหมายถึงการจัดเตรียมจัดหาวัสดุชิ้นส่วน , ,วัสดุกึ่งสำเร็จรูปให้เพียงพอต่อความต้องการในการผลิตซึ่งสามารถประมาณการได้จากประมาณการความต้องการของลูกค้า . รายการวัสดุที่จะต้องใช้จะถูกกำหนดไว้ในบัญชีรายการวัสดุ ( บิลของวัสดุบอม ) ซึ่งจะระบุชนิดของวัสดุและชิ้นส่วนปริมาณการใช้ต่อหน่วยรวมถึงข้อมูลที่จำเป็นอื่นๆ , เช่นกรณีที่มีการสั่งซื้อจากภายนอกระยะเวลาในการจัดส่งจากซัพพลายเออร์ ,กำลังการผลิตภายในสำหรับกรณีที่ชิ้นส่วนเองซึ่งข้อมูลทั้งหมดต้องมีความชัดเจนทั้งด้านปริมาณและระยะเวลาส่งมอบ .



3
วางแผนการผลิต ( การวางแผนการผลิต )หลังจากที่ได้แผนความต้องการของลูกค้าและมีการเตรียมการวัสดุให้เพียงพอแล้วก็จะทำการวางแผนการผลิต . ซึ่งมีขั้นตอนหลักๆดังต่อไปนี้




วางแผนกระบวนการ 3.1 ( การวางแผน )การวางแผนกระบวนการเป็นกำหนดกระบวนการและลำดับในการผลิต . กระบวนการที่ดีต้องเป็นกระบวนการที่สั้นที่สุดซึ่งหมายถึงใช้เวลาในการผลิตจนกระทั่งออกมาเป็นสินค้าสำเร็จรูปน้อยที่สุด


3
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: