ไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิ ไตรภูมิพระร่วง คำว่าไตรภูมิ หมายถึง โลกทั การแปล - ไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิ ไตรภูมิพระร่วง คำว่าไตรภูมิ หมายถึง โลกทั ไทย วิธีการพูด

ไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิ ไตรภูม

ไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิ
ไตรภูมิพระร่วง คำว่าไตรภูมิ หมายถึง โลกทั้ง ๓ ได้แก่ กามภูมิ รูปภูมิ และอรูปภูมิ ไตรภูมิเดิมเรียกว่า ไตรภูมิกถา หรือ เตภูมิกถา มีความหมายว่า เรื่องราวของโลกทั้ง ๓ ส่วนพระร่วง หมายถึง พระมหากษัตริย์ในราชวงศ์สุโขทัย
ผู้แต่ง พระมหาธรรมราชาที่ ๑ หรือพระยาลิไทยในสมัยสุโขทัย ราชวงศ์พระร่วง เป็นพระโอรสในพระยาเลอไทย และเป็นพระราชนัดดาของพ่อขุนรามคำแหงมหาราช
Dlamini 1 (Paya Lithai) he celebrates after he entered it. And reigned for 6 years, 1896
พระมหาธรรมราชาที่ ๑ ทรงเป็นกษัตริย์ที่ปกครองประชาชนในฐานะธรรมราชา ทรงยึดมั่นในหลักธรรมของพุทธศาสนา
ลักษณะคำประพันธ์ เป็นร้อยแก้ว ประเภทความเรียง แต่ก็มีสัมผัส
คล้องจอง
เนื้อเรื่องย่อ ไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิ กล่าวถึงกล่าวถึงกำเนิดของมนุษย์ไว้อย่างละเอียดเป็นขั้นตอน ตั้งแต่เริ่มปฏิสนธิจนกระทั่งคลอดจากครรภ์มารดา โดยอธิบายว่าเมื่อแรกปฏิสนธินั้นมนุษย์ที่อยู่ในครรภ์มารดาจะมีขนาดเท่ากลละ หลังจากนั้น ทุก ๆ ๗ วัน ทารกจึงจะมีพัฒนาการ ใน ๗ วันแรก ทารกจะมีขนาดใหญ่ขึ้นเป็นก้อนดังไข่ไก่ จากนั้นจะเกิด “เบญจสาขาหูด” คือ มีมือ ๒ อัน เท้า ๒ อัน และหัวอีก ๑ หัว ต่อมาจึงมีขนและเล็บ ซึ่งเป็นจำนวนครบ ๓๒ ทารกจะนั่งยอง ๆ กำมือทั้งสอง คู้คอต่อหัวเข่าอยู่ในครรภ์มารดา ประมาณ ๗-๑๑ เดือน จึงจะคลอดออกมา
กุมารที่มีอายุ ๖ เดือน อาจไม่รอดได้ หากอายุครรภ์ ๗ เดือน กุมารมักจะมีสุขภาพอ่อนแอ กุมารผู้มาจากนรกเมื่อคลอดออกมาจะส่งเสียงร้องไห้ ส่วนผู้ที่มาจากสวรรค์ เมื่อคลอดออกมาจะหัวเราะ กุมารที่เพิ่งคลอดจะไม่สามารถจำสิ่งจดจำสิ่งต่าง ๆ ที่ผ่านมาได้ ยกเว้นผู้ที่เป็นปัจเจก โพธิเจ้าและผู้ที่เป็นอรหันตาขีณาสพ
กำเนิดของมนุษย์เป็นสิ่งที่ยากลำบาก ดังนั้นเมื่อมีโอกาสได้ถือกำเนิดอกมาและอยู่รอดปลอดภัยแล้วก็ควรกระทำความดี เพื่อให้กุศลผลแห่งการทำความดีนั้นติดตัว ส่งให้ได้ไปเกิดในชาติภพที่ดีหรือบรรลุนิพพาน
เนื้อเรื่องกล่าวถึงโลกทั้ง ๓ ดังนี้
๑. กามภูมิ
กามภูมิ คือภูมิระดับล่าง มีทั้งสิ้น 11 ภูมิ แบ่งออกเป็น อบายภูมิหรือทุคติภูมิ 4 และ สุคติภูมิ 7 อบายภูมิ คือภูมิชั้นต่ำ มี 4 ชั้น เป็นภูมิของความชั่วช้าต่าง ๆ นรกภูมิ คือภูมิชั้นต่ำที่สุดในอบายภูมิ ที่ยังมีลึกซ้อนกันลงไปอีกถึง 8 ชั้น มหาอเวจีนรก คือชั้นนรกที่ต่ำที่สุด ผู้ที่กระทำบาปอันเป็น อนันตริยกรรม 5 คือ ฆ่ามารดา ฆ่าบิดา ฆ่าพระอรหันต์ ทำร้ายพระพุทธเจ้าจนถึงพระโลหิตห้อขึ้นไป ทำลายหรือยุยงสงฆ์ให้แตกแยกกัน จะไปเกิดในขุมนรกชั้นนี้ ถัดขึ้นมาคือ เดรัจฉานภูมิ เปรตภูมิ และอสุรกายภูมิ ตามลำดับ สุคติภูมิ คือภูมิชั้นสูงขึ้นมา ได้แก่ภูมิของมนุษย์และภูมิของเทวดาอีก 6 ชั้น (ภูมิเทวดาทั้ง 6 รวมเรียกว่า ฉกามาพจร) ทั้งหมดนี้รวมอยู่ในกามภูมิ คือยังหลงมัวเมาอยู่ในกามกิเลส
กามภูมิ มี ๖ กัณฑ์ คือ
๑.นรกภูมิ เป็นแดนนรก
๒.ดิรัจฉานภูมิ เป็นแดนของสัตว์ที่เจริญตามขวาง
๓.เปตภูมิ เป็นแดนของเปรตที่เคยเป็นมนุษย์และทำความชั่วเกิดเป็นเปรต
๔.อสุรกายภูมิ เป็นแดนของยักษ์มารหรือผีที่คอยหลอกมนุษย์ให้ตกใจกลัว
๕.มนุสสภูมิ เป็นแดนของมนุษย์
๖.ฉกามาพจร เป็นแดนของเทวดาที่ยังเกี่ยวข้องในกาม

๒. รูปภูมิ - พรหมมีรูป ๑๖ ชั้น เรียกว่า “โสฬสพรหม” ชั้นที่ ๑๖ คือ อกนิฏฐาภูมิ
๓. อรูปภูมิ - พรหมไม่มีรูป ๔ ชั้น

ตัวอย่างในไตรภูมิพระร่วง
ผลแห่งการทำบาป
"คนผู้ใดกล่าวคำร้ายแก่สมณพราหมณ์และพ่อแม่และผู้เฒ่าผู้แก่ครูปาทยาย คนผู้นั้นตายไปเกิดในนรกอันได้ชื่อว่า สุนักขนรกนั้นแล ในสุนักขนรกนั้นมีหมา ๔ สิ่ง หมาจำพวกหนึ่งนั้นขาว หมาจำพวกหนึ่งนั้นแดง หมาจำพวกหนึ่งนั้นดำ หมาจำพวกหนึ่งนั้นเหลือง และตัวหมาผู้นั้นใหญ่เท่าช้างสารทุกตัว ฝูงแร้งแลกาในนรกนั้นใหญ่เท่าเกวียนทุกตัว ปากแร้งแลกาแลตีนนั่น เทียรย่อมเหล็กแดงลุกเป็นเปลวไฟอยู่มิได้เหือดสักคาบ แร้งแลกาหมาฝูงนั้นเทียรย่อมจิกแหกหัวอกขบตอดคนทั้งหลายในนรกด้วยบาปกรรมของเขานั้น แลมิให้เขาอยู่สบายแลให้เขาเจ็บปวดสาหัส ได้เวทนาพ้นประมาณ ทนอยู่ในนรกอันชื่อสุนักขนรกนั้นแล"
ผลแห่งการทำดี
"ผู้ใดแลจะปรารถนาไปเกิดในเมืองสวรรค์ไส้ อย่าได้ประมาณลืมตนควรเร่งขวนขวายกระทำกุศลบุญธรรม ให้ทาน รักษาศีล เมตตาภาว
คุณค่างานประพันธ์
๑. ด้านวรรณศิลป์ Ø เป็นร้อยแก้วที่มีสัมผัสคล้องจองกัน เห็นความงามของภาษา
Ø มีการใช้โวหารภาพพจน์เชิงอุปมา ทำให้เกิดจินตภาพที่ชัดเจน
๒.ด้านสังคม Ø ด้านศาสนา มีการใช้หลักปรัชญาทางพุทธศาสนา
ชี้ให้เห็นถึงวัฏสงสาร คือ การเกิด เพื่อชี้นำให้คนทำความดี
Ø ด้านวิทยาศาสตร์ มีการอธิบายการเกิดของมนุษย์ตามหลักการทางวิทยาศาสตร์ เช่น แรกปฏิสนธิอยู่ในครรภ์มารดา ทารกจะเป็นกลละ
ซึ่งหมายถึง เซลล์ เป็นต้น
๓. ด้านประเพณีและวัฒนธรรม ความคิดความเชื่อที่ปรากฏในไตรภูมิพระร่วง ได้ตกทอดอยู่ในประเพณีและวัฒนธรรมของคนไทยในสังคมปัจจุบัน เช่น การจัดดอกไม้ธูปเทียนใส่มือผู้ตายก่อนปิดฝาโลง เพื่อให้ผู้ตายไปบูชาพระจุฬามณีในสวรรค์ชั้นดาวดึงส์
ความคิดเรื่องแผนภูมิจักรวาล นรก สวรรค์ พรหม และนิพพาน ก่อให้เกิดผลงานด้านจิตรกรรม และสถาปัตยกรรมทั้งในอดีตและปัจจุบัน เช่น มิสกวัน ปารุสกวัน จิตรลดา เป็นชื่อสวนของพระอินทร์ ดุสิตเป็นชื่อสวรรค์ชั้นหนึ่งในสวรรค์หกชั้น สอดคล้องกับความเชื่อว่าพระมหากษัตริย์เป็นสมมติเทพ
วิเคราะห์จุดมุ่งหมาย
๑. จุดมุ่งหมายเรื่องไตรภูมิพระร่วง มีจุดมุ่งหมายที่จะชี้ให้เห็นคุณและโทษของโลกทั้งสามที่ไม่มีความแน่นอน เพื่อให้มนุษย์เร่งทำบุญหรือกรรมดี ละบาปหรือกรรมชั่ว เพื่อให้หลุดพ้นจากวัฏหรือบรรลุนิพพานที่ประเสริฐกว่าสมบัติหรือความสุขใด ๆ ที่มีในโลกทั้งสาม
๒. นิรันดร์สุขแห่งนิพพาน ความสุขที่ได้จากนิพพานเป็นความสุขนิรันดร์ ไม่มีที่สิ้นสุดและไม่มีทางแปรเปลี่ยนเป็นอื่นเลย วิธีปฏิบัติให้บรรลุโลกุตรภูมิหรือนิพพานเริ่มจากการบรรลุมรรคผลขั้นต่าง ๆ สูงขึ้นเรื่อย ๆ จากพระโสดาบัน เป็นพระสกทาคามี และเป็นพระอรหันต์ หลังจากนั้นจึงบรรลุนิพพาน
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ไตรภูมิพระร่วงตอนมนุสสภูมิ ไตรภูมิพระร่วงคำว่าไตรภูมิหมายถึงโลกทั้ง ๓ ได้แก่กามภูมิรูปภูมิและอรูปภูมิไตรภูมิเดิมเรียกว่าไตรภูมิกถาหรือเตภูมิกถามีความหมายว่าเรื่องราวของโลกทั้ง ๓ ส่วนพระร่วงหมายถึงพระมหากษัตริย์ในราชวงศ์สุโขทัย ผู้แต่งพระมหาธรรมราชาที่ ๑ หรือพระยาลิไทยในสมัยสุโขทัยราชวงศ์พระร่วงเป็นพระโอรสในพระยาเลอไทยและเป็นพระราชนัดดาของพ่อขุนรามคำแหงมหาราช Dlamini 1 (ปายา Lithai) เขาฉลองหลังจากที่เขาป้อน และ reigned 6 ปี 1896 พระมหาธรรมราชาที่ ๑ ทรงเป็นกษัตริย์ที่ปกครองประชาชนในฐานะธรรมราชาทรงยึดมั่นในหลักธรรมของพุทธศาสนา ลักษณะคำประพันธ์เป็นร้อยแก้วประเภทความเรียงแต่ก็มีสัมผัสคล้องจอง เนื้อเรื่องย่อไตรภูมิพระร่วงตอนมนุสสภูมิกล่าวถึงกล่าวถึงกำเนิดของมนุษย์ไว้อย่างละเอียดเป็นขั้นตอนตั้งแต่เริ่มปฏิสนธิจนกระทั่งคลอดจากครรภ์มารดาโดยอธิบายว่าเมื่อแรกปฏิสนธินั้นมนุษย์ที่อยู่ในครรภ์มารดาจะมีขนาดเท่ากลละหลังจากนั้นทุกๆ ๗ วันทารกจึงจะมีพัฒนาการใน ๗ วันแรกทารกจะมีขนาดใหญ่ขึ้นเป็นก้อนดังไข่ไก่จากนั้นจะเกิด "เบญจสาขาหูด" คือมีมือ ๒ อันเท้า ๒ อันและหัวอีก ๑ หัวต่อมาจึงมีขนและเล็บซึ่งเป็นจำนวนครบ ๓๒ ทารกจะนั่งยองๆ กำมือทั้งสองคู้คอต่อหัวเข่าอยู่ในครรภ์มารดาประมาณ ๗ - ๑๑ เดือนจึงจะคลอดออกมากุมารที่มีอายุ ๖ เดือนอาจไม่รอดได้หากอายุครรภ์ ๗ เดือนกุมารมักจะมีสุขภาพอ่อนแอกุมารผู้มาจากนรกเมื่อคลอดออกมาจะส่งเสียงร้องไห้ส่วนผู้ที่มาจากสวรรค์เมื่อคลอดออกมาจะหัวเราะกุมารที่เพิ่งคลอดจะไม่สามารถจำสิ่งจดจำสิ่งต่างๆ ที่ผ่านมาได้ยกเว้นผู้ที่เป็นปัจเจกโพธิเจ้าและผู้ที่เป็นอรหันตาขีณาสพ กำเนิดของมนุษย์เป็นสิ่งที่ยากลำบากดังนั้นเมื่อมีโอกาสได้ถือกำเนิดอกมาและอยู่รอดปลอดภัยแล้วก็ควรกระทำความดีเพื่อให้กุศลผลแห่งการทำความดีนั้นติดตัวส่งให้ได้ไปเกิดในชาติภพที่ดีหรือบรรลุนิพพานเนื้อเรื่องกล่าวถึงโลกทั้ง ๓ ดังนี้ ๑ . กามภูมิ กามภูมิ คือภูมิระดับล่าง มีทั้งสิ้น 11 ภูมิ แบ่งออกเป็น อบายภูมิหรือทุคติภูมิ 4 และ สุคติภูมิ 7 อบายภูมิ คือภูมิชั้นต่ำ มี 4 ชั้น เป็นภูมิของความชั่วช้าต่าง ๆ นรกภูมิ คือภูมิชั้นต่ำที่สุดในอบายภูมิ ที่ยังมีลึกซ้อนกันลงไปอีกถึง 8 ชั้น มหาอเวจีนรก คือชั้นนรกที่ต่ำที่สุด ผู้ที่กระทำบาปอันเป็น อนันตริยกรรม 5 คือ ฆ่ามารดา ฆ่าบิดา ฆ่าพระอรหันต์ ทำร้ายพระพุทธเจ้าจนถึงพระโลหิตห้อขึ้นไป ทำลายหรือยุยงสงฆ์ให้แตกแยกกัน จะไปเกิดในขุมนรกชั้นนี้ ถัดขึ้นมาคือ เดรัจฉานภูมิ เปรตภูมิ และอสุรกายภูมิ ตามลำดับ สุคติภูมิ คือภูมิชั้นสูงขึ้นมา ได้แก่ภูมิของมนุษย์และภูมิของเทวดาอีก 6 ชั้น (ภูมิเทวดาทั้ง 6 รวมเรียกว่า ฉกามาพจร) ทั้งหมดนี้รวมอยู่ในกามภูมิ คือยังหลงมัวเมาอยู่ในกามกิเลส กามภูมิมี ๖ กัณฑ์คือ๑.นรกภูมิเป็นแดนนรก๒.ดิรัจฉานภูมิเป็นแดนของสัตว์ที่เจริญตามขวาง๓.เปตภูมิเป็นแดนของเปรตที่เคยเป็นมนุษย์และทำความชั่วเกิดเป็นเปรต๔.อสุรกายภูมิเป็นแดนของยักษ์มารหรือผีที่คอยหลอกมนุษย์ให้ตกใจกลัว๕.มนุสสภูมิเป็นแดนของมนุษย์๖.ฉกามาพจรเป็นแดนของเทวดาที่ยังเกี่ยวข้องในกาม ๒ . รูปภูมิ - พรหมมีรูป ๑๖ ชั้นเรียกว่า "โสฬสพรหม" ชั้นที่ ๑๖ คืออกนิฏฐาภูมิ ๓ . อรูปภูมิ - พรหมไม่มีรูป ๔ ชั้น ตัวอย่างในไตรภูมิพระร่วงผลแห่งการทำบาป "คนผู้ใดกล่าวคำร้ายแก่สมณพราหมณ์และพ่อแม่และผู้เฒ่าผู้แก่ครูปาทยาย คนผู้นั้นตายไปเกิดในนรกอันได้ชื่อว่า สุนักขนรกนั้นแล ในสุนักขนรกนั้นมีหมา ๔ สิ่ง หมาจำพวกหนึ่งนั้นขาว หมาจำพวกหนึ่งนั้นแดง หมาจำพวกหนึ่งนั้นดำ หมาจำพวกหนึ่งนั้นเหลือง และตัวหมาผู้นั้นใหญ่เท่าช้างสารทุกตัว ฝูงแร้งแลกาในนรกนั้นใหญ่เท่าเกวียนทุกตัว ปากแร้งแลกาแลตีนนั่น เทียรย่อมเหล็กแดงลุกเป็นเปลวไฟอยู่มิได้เหือดสักคาบ แร้งแลกาหมาฝูงนั้นเทียรย่อมจิกแหกหัวอกขบตอดคนทั้งหลายในนรกด้วยบาปกรรมของเขานั้น แลมิให้เขาอยู่สบายแลให้เขาเจ็บปวดสาหัส ได้เวทนาพ้นประมาณ ทนอยู่ในนรกอันชื่อสุนักขนรกนั้นแล"ผลแห่งการทำดี"ผู้ใดแลจะปรารถนาไปเกิดในเมืองสวรรค์ไส้อย่าได้ประมาณลืมตนควรเร่งขวนขวายกระทำกุศลบุญธรรมให้ทานรักษาศีลเมตตาภาวคุณค่างานประพันธ์ ๑ . ด้านวรรณศิลป์Øเป็นร้อยแก้วที่มีสัมผัสคล้องจองกันเห็นความงามของภาษา Øมีการใช้โวหารภาพพจน์เชิงอุปมาทำให้เกิดจินตภาพที่ชัดเจน ๒.ด้านสังคมØด้านศาสนามีการใช้หลักปรัชญาทางพุทธศาสนาชี้ให้เห็นถึงวัฏสงสารคือการเกิดเพื่อชี้นำให้คนทำความดี Øด้านวิทยาศาสตร์มีการอธิบายการเกิดของมนุษย์ตามหลักการทางวิทยาศาสตร์เช่นแรกปฏิสนธิอยู่ในครรภ์มารดาทารกจะเป็นกลละซึ่งหมายถึงเซลล์เป็นต้น ๓ ด้านประเพณีและวัฒนธรรมความคิดความเชื่อที่ปรากฏในไตรภูมิพระร่วงได้ตกทอดอยู่ในประเพณีและวัฒนธรรมของคนไทยในสังคมปัจจุบันเช่นการจัดดอกไม้ธูปเทียนใส่มือผู้ตายก่อนปิดฝาโลงเพื่อให้ผู้ตายไปบูชาพระจุฬามณีในสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ความคิดเรื่องแผนภูมิจักรวาลนรกสวรรค์พรหมและนิพพานก่อให้เกิดผลงานด้านจิตรกรรมและสถาปัตยกรรมทั้งในอดีตและปัจจุบันเช่นมิสกวันปารุสกวันจิตรลดาเป็นชื่อสวนของพระอินทร์ดุสิตเป็นชื่อสวรรค์ชั้นหนึ่งในสวรรค์หกชั้นสอดคล้องกับความเชื่อว่าพระมหากษัตริย์เป็นสมมติเทพ วิเคราะห์จุดมุ่งหมาย ๑ . จุดมุ่งหมายเรื่องไตรภูมิพระร่วงมีจุดมุ่งหมายที่จะชี้ให้เห็นคุณและโทษของโลกทั้งสามที่ไม่มีความแน่นอนเพื่อให้มนุษย์เร่งทำบุญหรือกรรมดีละบาปหรือกรรมชั่วที่มีในโลกทั้งสามเพื่อให้หลุดพ้นจากวัฏหรือบรรลุนิพพานที่ประเสริฐกว่าสมบัติหรือความสุขใดๆ ๒ . นิรันดร์สุขแห่งนิพพานความสุขที่ได้จากนิพพานเป็นความสุขนิรันดร์ไม่มีที่สิ้นสุดและไม่มีทางแปรเปลี่ยนเป็นอื่นเลยวิธีปฏิบัติให้บรรลุโลกุตรภูมิหรือนิพพานเริ่มจากการบรรลุมรรคผลขั้นต่างๆ สูงขึ้นเรื่อยๆ จากพระโสดาบันเป็นพระสกทาคามีและเป็นพระอรหันต์หลังจากนั้นจึงบรรลุนิพพาน
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ไตรภูมิพระร่วงตอนมนุสสภูมิ
ไตรภูมิพระร่วงคำว่าได้ไตรภูมิหมายถึงโลกทั้ง 3 ได้แก่ กามภูมิรูปภูมิและอรูปภูมิไตรภูมิเดิมเรียกว่าไตรภูมิกถาหรือเตภูมิกถามีความหมายว่าเรื่องราวของโลกทั้ง 3 ส่วนพระร่วงหมายถึง
พระมหาธรรมราชาที่ 1 หรือพระยาลิไทยในสมัยสุโขทัยราชวงศ์พระร่วงเป็นพระโอรสในพระยาเลอไทย
1 (พญาลิไท) เขาฉลองหลังจากที่เขาป้อน และขึ้นครองราชย์แทน 6 ปี 1896
พระมหาธรรมราชาที่ 1
เป็นร้อยแก้วประเภทความเรียง ไตรภูมิพระร่วงตอนมนุสสภูมิ หลังจากนั้นทุก ๆ 7 วันทารกจึงจะมีพัฒนาการใน 7 วันแรก จากนั้นจะเกิด "เบญจสาขาหูด" คือมีมือ 2 อันเท้า 2 อันและหัวอีก 1 หัวต่อมาจึงมีขนและเล็บซึ่งเป็นจำนวนครบ 32 ทารกจะนั่งยอง ๆ กำมือทั้งสองคู้คอต่อหัวเข่าอยู่ในครรภ์ มารดาประมาณ 7-11 เดือนจึงจะคลอดออกมากุมารที่มีอายุ 6 เดือนอาจไม่รอดได้หากอายุครรภ์ 7 เดือนกุมารมักจะมีสุขภาพอ่อนแอ ส่วนผู้ที่มาจากสวรรค์เมื่อคลอดออกมาจะหัวเราะ ๆ ที่ผ่านมาได้ยกเว้นผู้ที่เป็นปัจเจก 3 ดังนี้1 กามภูมิกามภูมิคือภูมิระดับล่างมีทั้งสิ้น 11 ภูมิแบ่งออกเป็นอบายภูมิหรือทุคติภูมิ 4 และสุคติภูมิ 7 อบายภูมิคือภูมิชั้นต่ำมี 4 ชั้นเป็นภูมิของความชั่วช้าต่าง ๆ นรกภูมิคือภูมิชั้นต่ำที่สุดในอบายภูมิที่ยัง มีลึกซ้อนกันลงไปอีกถึง 8 ชั้นมหาอเวจีนรกคือชั้นนรกที่ต่ำที่สุดผู้ที่กระทำบาปอันเป็นอนันตริยกรรม 5 คือฆ่ามารดาฆ่าบิดาฆ่าพระอรหันต์ ทำลายหรือยุยงสงฆ์ให้แตกแยกกันจะไปเกิดในขุมนรกชั้นนี้ถัดขึ้นมาคือเดรัจฉานภูมิเปรตภูมิและอสุรกายภูมิตามลำดับสุคติภูมิคือภูมิชั้นสูงขึ้นมา 6 ชั้น (ภูมิเทวดาทั้ง 6 รวมเรียกว่าฉกามาพจร) ทั้งหมดนี้รวมอยู่ในกามภูมิ มี 6 กัณฑ์คือ1. นรกภูมิเป็นแดนนรก2. ดิรัจฉานภูมิ เป็นแดนของมนุษย์6. ฉกามาพจร รูปภูมิ - พรหมมีรูป 16 ชั้นเรียกว่า "โสฬสพรหม" ชั้นที่ 16 คืออกนิฏฐาภูมิ3 อรูปภูมิ - พรหมไม่มีรูป 4 สุนักขนรกนั้นแลในสุนักขนรกนั้นมีหมา 4 สิ่งหมาจำพวกหนึ่งนั้นขาวหมาจำพวกหนึ่งนั้นแดงหมาจำพวกหนึ่งนั้นดำหมาจำพวกหนึ่งนั้นเหลือง ปากแร้งแลกาแลตีนนั่น ได้เวทนาพ้นประมาณ ให้ทานรักษาศีลเมตตาภาวคุณค่างานประพันธ์1 ด้านวรรณศิลป์Ø เห็นความงามของภาษาØมีการใช้โวหารภาพพจน์เชิงอุปมา Øด้านศาสนา คือการเกิดเพื่อชี้นำให้คนทำความดีØด้านวิทยาศาสตร์ เช่นแรกปฏิสนธิอยู่ในครรภ์มารดาทารกจะเป็นกลละซึ่งหมายถึงเซลล์เป็นต้น3 ด้านประเพณีและวัฒนธรรม เช่น นรกสวรรค์พรหมและนิพพานก่อให้เกิดผลงานด้านจิตรกรรม เช่นมิสกวันปารุสกวันจิตรลดาเป็นชื่อสวนของพระอินทร์ จุดมุ่งหมายเรื่องไตรภูมิพระร่วง เพื่อให้มนุษย์เร่งทำบุญหรือกรรมดีละบาปหรือกรรมชั่ว ๆ ที่มีในโลกทั้งสาม2 นิรันดร์สุขแห่งนิพพาน ๆ สูงขึ้นเรื่อย ๆ จากพระโสดาบันเป็นพระสกทาคามีและเป็นพระอรหันต์หลังจากนั้นจึงบรรลุนิพพาน



































การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ไตรภูมิพระร่วงตอนมนุสสภูมิ
ไตรภูมิพระร่วงคำว่าไตรภูมิหมายถึงโลกทั้งกันได้แก่กามภูมิรูปภูมิและอรูปภูมิไตรภูมิเดิมเรียกว่าไตรภูมิกถาค็อคเตภูมิกถามีความหมายว่าเรื่องราวของโลกทั้งส่วนพระร่วงหมายถึงกัน
ผู้แต่งพระมหาธรรมราชาที่๑หรือพระยาลิไทยในสมัยสุโขทัยราชวงศ์พระร่วงเป็นพระโอรสในพระยาเลอไทยและเป็นพระราชนัดดาของพ่อขุนรามคำแหงมหาราช
ดลามินี 1 ( พญาทาง ) เขาฉลองหลังจากที่เขาเข้าไปแล้ว และพระองค์ทรงครอบครอง 6 ปี 1896
พระมหาธรรมราชาที่๑ทรงเป็นกษัตริย์ที่ปกครองประชาชนในฐานะธรรมราชาทรงยึดมั่นในหลักธรรมของพุทธศาสนา
ลักษณะคำประพันธ์เป็นร้อยแก้วประเภทความเรียงแต่ก็มีสัมผัส

คล้องจองเนื้อเรื่องย่อไตรภูมิพระร่วงตอนมนุสสภูมิกล่าวถึงกล่าวถึงกำเนิดของมนุษย์ไว้อย่างละเอียดเป็นขั้นตอนตั้งแต่เริ่มปฏิสนธิจนกระทั่งคลอดจากครรภ์มารดาหลังจากนั้นทุก๗จะได้รับเลือกตั้งผ่านกระบวนการประชาธิปไตยของพม่าทารกจึงจะมีพัฒนาการ the ๗วันแรกทารกจะมีขนาดใหญ่ขึ้นเป็นก้อนดังไข่ไก่จากนั้นจะเกิด " เบญจสาขาหูด " ความมีมือ๒อันเท้า๒อันและหัวอีก๑หัวต่อมาจึงมีขนและเล็บซึ่งเป็นจำนวนครบ๓๒จะกำมือทั้งสองคู้คอต่อหัวเข่าอยู่ในครรภ์มารดาประมาณ๗ - ๑๑เดือนจึงจะคลอดออกมา
กุมารที่มีอายุจากเดือนอาจไม่รอดได้หากอายุครรภ์๗เดือนกุมารมักจะมีสุขภาพอ่อนแอกุมารผู้มาจากนรกเมื่อคลอดออกมาจะส่งเสียงร้องไห้ส่วนผู้ที่มาจากสวรรค์เมื่อคลอดออกมาจะหัวเราะ
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: