บทความเกี่ยวกับศิลปะวัฒนธรรม ประวัติความเป็นมาของศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราช การแปล - บทความเกี่ยวกับศิลปะวัฒนธรรม ประวัติความเป็นมาของศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราช ไทย วิธีการพูด

บทความเกี่ยวกับศิลปะวัฒนธรรม ประวัต

บทความเกี่ยวกับศิลปะวัฒนธรรม
 ประวัติความเป็นมาของศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราชวัดท่าโสม




                   สืบเนื่องจาก พระครูวิมลโสมนันท์ เจ้าอาวาสวัดท่าโสม มีความมุ่งมั่นที่จะสร้างสังคมให้เข้มแข็งให้คนในหมู่บ้านและตำบลอยู่เย็นเป็นสุขอยู่ร่วมกันอย่างสมานฉันท์บนพื้นฐานคุณธรรม พัฒนาสังคมและชุมชน  ให้มีสันติสุขอย่างยั่งยืน รักษาสืบทอดศิลปวัฒนธรรมของท้องถิ่น คนในหมู่บ้านมีความสามัคคี เอื้ออาทรต่อกันแบบญาติพี่น้อง รวมถึงประชาชนในพื้นที่ได้เล็งเห็นความสำคัญของวัฒนธรรมไทย จึงได้จัดทำแนวคิดที่จะส่งเสริมการเรียนรู้คู่คุณธรรมส่งเสริมทำนุบำรุงรักษาและรักษาศิลปวัฒนธรรมไทยทุกด้าน รวมทั้งศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นและภูมิปัญญาไทยให้มีการค้นคว้า วิจัย ฟื้นฟูและพัฒนา พร้อมทั้งต่อยอดแหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรมพื้นถิ่น  เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรม โดยในปี พ.ศ.๒๕๔๘ ได้ดำเนินการ “ศูนย์บูรณาการวัฒนธรรมไทยสายใยชุมชน” ตามแนวทางของกระทรวงวัฒนธรรม และในปี พ.ศ. ๒๕๔๙ ได้เปลี่ยนชื่อเป็น “ศูนย์วัฒนธรรมไทยสายใยชุมชนตำบลท่าโสม” ที่เน้นการดำเนินงานโดยองค์กรต่างๆ และชุมชนภายในท้องถิ่น




                   ต่อมาในปีพ.ศ.๒๕๕๕ ได้จัดตั้งเป็น “ศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราชวัดท่าโสม”ตามแนวทาง ของกรมส่งเสริมวัฒนธรรม เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเนื่องในวโรกาสที่มีพระชนมายุ ๘๔ พรรษา และให้เป็นแหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรม ด้านมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของท้องถิ่น ที่เกิดจากการบูรณาการของหน่วยงานต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ ภาคเอกชน ชุมชน และองค์การบริหารการพัฒนา พื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ภายในพื้นที่ตำบลท่าโสม มีสถานที่สำคัญ ประกอบด้วย อาคารศาลา  




                   ทรงไทยอายุ ๑๕๐ ปี โบสถ์ที่ประดิษฐานพระพุทธรูปหยกขาวและพระพุทธรูปไม้ ซึ่งเป็นพระคู่บ้านคู่เมือง ของจังหวัดตราด รวมถึงการจัดรูปแบบพิพิธภัณฑ์ที่แสดงวัตถุสิ่งของตามวิถีชีวิตของชาวท่าโสม เช่น การจัดแสดงเครื่องมือการทำการเกษตรสมัยโบราณ เครื่องลายคราม เครื่องเบญจรงค์ เครื่องใช้ทองเหลือง เครื่องปั้นดินเผา เครื่องจักสาน เครื่องเงิน เศียรครูต่างๆ  และข้อมูลมรดกภูมิปัญญาด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตของชาวท่าโสม เช่น การแปรรูปอาหาร การแสดงพื้นบ้าน ดนตรีไทย ตำรายา พืชพื้นเมืองที่หายาก ว่าวพื้นบ้านที่เป็นเอกลักษณ์ของพื้นที่ ได้แก่ ว่าวดุ๊ยดุ่ย เป็นต้น




                   ในปีงบประมาณ ๒๕๕๖ ศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราชวัดท่าโสม ได้รับการคัดเลือก ให้เป็นศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราชที่มีศักยภาพในภูมิภาคภาคกลางและภาคตะวันออก ประจำปี ๒๕๕๖ ซึ่งมีประสิทธิภาพและพร้อมที่จะเปิดศูนย์เป็นแหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรม ให้แก่ผู้ที่สนใจและประชาชนทั่วไป  ให้เข้ามาศึกษาหาความรู้ที่เกี่ยวข้องกับมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมภายในพื้นที่และได้รับการอบรม
ณ จังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดลำปาง เมื่อวันที่ ๒๙ พฤษภาคม - ๒ มิถุนายน ๒๕๕๖ เพื่อพัฒนาศักยภาพการดำเนินงานศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราช ร่วมกับศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราชที่มีศักยภาพอีก ๓ แห่ง ได้แก่ ศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราชตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราชวัดพระธาตุดอยสะเก็ด อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่และศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราชพิพิธภัณฑ์เมืองโพนพิสัย อำเภอโพนพิสัย จังหวัดหนองคาย




                   นอกจากนี้ยังมีการเปิดพื้นที่อำเภอท่าโสม และพื้นที่เกาะช้าง ที่มีประวัติศาสตร์สืบเนื่องกัน มาตั้งแต่อดีต โดยการวางแนวทางการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่มีเอกลักษณ์ ที่ได้รับความร่วมมือจากประชาชน  ในชุมชน องค์กรภาครัฐ ภาคเอกชน สถาบันการศึกษา ผู้นําชุมชนในการสนับสนุน ผู้บริหารศูนย์และคณะกรรมการวางแนวทางในการพัฒนาตลอดเวลา ผ่านทุนทางวัฒนธรรม ด้านวิถีชีวิต ภูมิปัญญาต่างๆ ที่หลากหลาย ทุนทางสังคม ด้านคน สิ่งแวดล้อม ให้ก่อให้เกิดความยั่งยืนของประชาชนชาวท่าโสม โดยเปิดเป็นแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมของชาวจังหวัดตราดต่อไป
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
บทความเกี่ยวกับศิลปะวัฒนธรรม ประวัติความเป็นมาของศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราชวัดท่าโสม สืบเนื่องจากพระครูวิมลโสมนันท์เจ้าอาวาสวัดท่าโสมมีความมุ่งมั่นที่จะสร้างสังคมให้เข้มแข็งให้คนในหมู่บ้านและตำบลอยู่เย็นเป็นสุขอยู่ร่วมกันอย่างสมานฉันท์บนพื้นฐานคุณธรรมพัฒนาสังคมและชุมชนให้มีสันติสุขอย่างยั่งยืนรักษาสืบทอดศิลปวัฒนธรรมของท้องถิ่นคนในหมู่บ้านมีความสามัคคีเอื้ออาทรต่อกันแบบญาติพี่น้องรวมถึงประชาชนในพื้นที่ได้เล็งเห็นความสำคัญของวัฒนธรรมไทยจึงได้จัดทำแนวคิดที่จะส่งเสริมการเรียนรู้คู่คุณธรรมส่งเสริมทำนุบำรุงรักษาและรักษาศิลปวัฒนธรรมไทยทุกด้านรวมทั้งศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นและภูมิปัญญาไทยให้มีการค้นคว้าวิจัยฟื้นฟูและพัฒนาพร้อมทั้งต่อยอดแหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรมพื้นถิ่นเพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรมโดยในปีพ.ศ.๒๕๔๘ได้ดำเนินการ "ศูนย์บูรณาการวัฒนธรรมไทยสายใยชุมชน" ตามแนวทางของกระทรวงวัฒนธรรมและในปีพ.ศ. ๒๕๔๙ ได้เปลี่ยนชื่อเป็น "ศูนย์วัฒนธรรมไทยสายใยชุมชนตำบลท่าโสม" ที่เน้นการดำเนินงานโดยองค์กรต่าง ๆ และชุมชนภายในท้องถิ่น ต่อมาในปีพ.ศ.๒๕๕๕ได้จัดตั้งเป็น "ศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราชวัดท่าโสม" ตามแนวทางของกรมส่งเสริมวัฒนธรรมเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเนื่องในวโรกาสที่มีพระชนมายุ ๘๔ พรรษาและให้เป็นแหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรมด้านมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของท้องถิ่นที่เกิดจากการบูรณาการของหน่วยงานต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นภาครัฐภาคเอกชนชุมชนและองค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนภายในพื้นที่ตำบลท่าโสมมีสถานที่สำคัญประกอบด้วยอาคารศาลา ทรงไทยอายุ ๑๕๐ ปีโบสถ์ที่ประดิษฐานพระพุทธรูปหยกขาวและพระพุทธรูปไม้ซึ่งเป็นพระคู่บ้านคู่เมืองของจังหวัดตราดรวมถึงการจัดรูปแบบพิพิธภัณฑ์ที่แสดงวัตถุสิ่งของตามวิถีชีวิตของชาวท่าโสมเช่นการจัดแสดงเครื่องมือการทำการเกษตรสมัยโบราณเครื่องลายครามเครื่องเบญจรงค์เครื่องใช้ทองเหลืองเครื่องปั้นดินเผาเครื่องจักสานเครื่องเงินเศียรครูต่าง ๆ และข้อมูลมรดกภูมิปัญญาด้านต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตของชาวท่าโสมเช่นการแปรรูปอาหารการแสดงพื้นบ้านดนตรีไทยตำรายาพืชพื้นเมืองที่หายากว่าวพื้นบ้านที่เป็นเอกลักษณ์ของพื้นที่ได้แก่ว่าวดุ๊ยดุ่ยเป็นต้น ในปีงบประมาณ ๒๕๕๖ ศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราชวัดท่าโสมได้รับการคัดเลือกให้เป็นศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราชที่มีศักยภาพในภูมิภาคภาคกลางและภาคตะวันออกประจำปี ๒๕๕๖ ซึ่งมีประสิทธิภาพและพร้อมที่จะเปิดศูนย์เป็นแหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรมให้แก่ผู้ที่สนใจและประชาชนทั่วไปให้เข้ามาศึกษาหาความรู้ที่เกี่ยวข้องกับมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมภายในพื้นที่และได้รับการอบรมณจังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดลำปางเมื่อวันที่ ๒๙ พฤษภาคม - ๒ มิถุนายน ๒๕๕๖ เพื่อพัฒนาศักยภาพการดำเนินงานศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราชร่วมกับศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราชที่มีศักยภาพอีก ๓ แห่งได้แก่ศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราชตำบลคลองแหอำเภอหาดใหญ่จังหวัดสงขลาศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราชวัดพระธาตุดอยสะเก็ดอำเภอดอยสะเก็ดจังหวัดเชียงใหม่และศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราชพิพิธภัณฑ์เมืองโพนพิสัยอำเภอโพนพิสัยจังหวัดหนองคาย นอกจากนี้ยังมีการเปิดพื้นที่อำเภอท่าโสมและพื้นที่เกาะช้างที่มีประวัติศาสตร์สืบเนื่องกันมาตั้งแต่อดีตโดยการวางแนวทางการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่มีเอกลักษณ์ที่ได้รับความร่วมมือจากประชาชนในชุมชนองค์กรภาครัฐภาคเอกชนสถาบันการศึกษาผู้นําชุมชนในการสนับสนุนผู้บริหารศูนย์และคณะกรรมการวางแนวทางในการพัฒนาตลอดเวลาผ่านทุนทางวัฒนธรรมด้านวิถีชีวิตภูมิปัญญาต่าง ๆ ที่หลากหลายทุนทางสังคมด้านคนสิ่งแวดล้อมให้ก่อให้เกิดความยั่งยืนของประชาชนชาวท่าโสมโดยเปิดเป็นแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมของชาวจังหวัดตราดต่อไป
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
บทความเกี่ยวกับศิลปะวัฒนธรรม
 ประวัติความเป็นมาของศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราชวัดท่าโสม




                   สืบเนื่องจาก พระครูวิมลโสมนันท์ เจ้าอาวาสวัดท่าโสม มีความมุ่งมั่นที่จะสร้างสังคมให้เข้มแข็งให้คนในหมู่บ้านและตำบลอยู่เย็นเป็นสุขอยู่ร่วมกันอย่างสมานฉันท์บนพื้นฐานคุณธรรม พัฒนาสังคมและชุมชน  ให้มีสันติสุขอย่างยั่งยืน รักษาสืบทอดศิลปวัฒนธรรมของท้องถิ่น คนในหมู่บ้านมีความสามัคคี เอื้ออาทรต่อกันแบบญาติพี่น้อง รวมถึงประชาชนในพื้นที่ได้เล็งเห็นความสำคัญของวัฒนธรรมไทย จึงได้จัดทำแนวคิดที่จะส่งเสริมการเรียนรู้คู่คุณธรรมส่งเสริมทำนุบำรุงรักษาและรักษาศิลปวัฒนธรรมไทยทุกด้าน รวมทั้งศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นและภูมิปัญญาไทยให้มีการค้นคว้า วิจัย ฟื้นฟูและพัฒนา พร้อมทั้งต่อยอดแหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรมพื้นถิ่น  เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรม โดยในปี พ.ศ.๒๕๔๘ ได้ดำเนินการ “ศูนย์บูรณาการวัฒนธรรมไทยสายใยชุมชน” ตามแนวทางของกระทรวงวัฒนธรรม และในปี พ.ศ. ๒๕๔๙ ได้เปลี่ยนชื่อเป็น “ศูนย์วัฒนธรรมไทยสายใยชุมชนตำบลท่าโสม” ที่เน้นการดำเนินงานโดยองค์กรต่างๆ และชุมชนภายในท้องถิ่น




                   ต่อมาในปีพ.ศ.๒๕๕๕ ได้จัดตั้งเป็น “ศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราชวัดท่าโสม”ตามแนวทาง ของกรมส่งเสริมวัฒนธรรม เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเนื่องในวโรกาสที่มีพระชนมายุ ๘๔ พรรษา และให้เป็นแหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรม ด้านมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของท้องถิ่น ที่เกิดจากการบูรณาการของหน่วยงานต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ ภาคเอกชน ชุมชน และองค์การบริหารการพัฒนา พื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ภายในพื้นที่ตำบลท่าโสม มีสถานที่สำคัญ ประกอบด้วย อาคารศาลา  




                   ทรงไทยอายุ ๑๕๐ ปี โบสถ์ที่ประดิษฐานพระพุทธรูปหยกขาวและพระพุทธรูปไม้ ซึ่งเป็นพระคู่บ้านคู่เมือง ของจังหวัดตราด รวมถึงการจัดรูปแบบพิพิธภัณฑ์ที่แสดงวัตถุสิ่งของตามวิถีชีวิตของชาวท่าโสม เช่น การจัดแสดงเครื่องมือการทำการเกษตรสมัยโบราณ เครื่องลายคราม เครื่องเบญจรงค์ เครื่องใช้ทองเหลือง เครื่องปั้นดินเผา เครื่องจักสาน เครื่องเงิน เศียรครูต่างๆ  และข้อมูลมรดกภูมิปัญญาด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตของชาวท่าโสม เช่น การแปรรูปอาหาร การแสดงพื้นบ้าน ดนตรีไทย ตำรายา พืชพื้นเมืองที่หายาก ว่าวพื้นบ้านที่เป็นเอกลักษณ์ของพื้นที่ ได้แก่ ว่าวดุ๊ยดุ่ย เป็นต้น




                   ในปีงบประมาณ ๒๕๕๖ ศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราชวัดท่าโสม ได้รับการคัดเลือก ให้เป็นศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราชที่มีศักยภาพในภูมิภาคภาคกลางและภาคตะวันออก ประจำปี ๒๕๕๖ ซึ่งมีประสิทธิภาพและพร้อมที่จะเปิดศูนย์เป็นแหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรม ให้แก่ผู้ที่สนใจและประชาชนทั่วไป  ให้เข้ามาศึกษาหาความรู้ที่เกี่ยวข้องกับมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมภายในพื้นที่และได้รับการอบรม
ณ จังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดลำปาง เมื่อวันที่ ๒๙ พฤษภาคม - ๒ มิถุนายน ๒๕๕๖ เพื่อพัฒนาศักยภาพการดำเนินงานศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราช ร่วมกับศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราชที่มีศักยภาพอีก ๓ แห่ง ได้แก่ ศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราชตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราชวัดพระธาตุดอยสะเก็ด อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่และศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราชพิพิธภัณฑ์เมืองโพนพิสัย อำเภอโพนพิสัย จังหวัดหนองคาย




                   นอกจากนี้ยังมีการเปิดพื้นที่อำเภอท่าโสม และพื้นที่เกาะช้าง ที่มีประวัติศาสตร์สืบเนื่องกัน มาตั้งแต่อดีต โดยการวางแนวทางการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่มีเอกลักษณ์ ที่ได้รับความร่วมมือจากประชาชน  ในชุมชน องค์กรภาครัฐ ภาคเอกชน สถาบันการศึกษา ผู้นําชุมชนในการสนับสนุน ผู้บริหารศูนย์และคณะกรรมการวางแนวทางในการพัฒนาตลอดเวลา ผ่านทุนทางวัฒนธรรม ด้านวิถีชีวิต ภูมิปัญญาต่างๆ ที่หลากหลาย ทุนทางสังคม ด้านคน สิ่งแวดล้อม ให้ก่อให้เกิดความยั่งยืนของประชาชนชาวท่าโสม โดยเปิดเป็นแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมของชาวจังหวัดตราดต่อไป
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
บทความเกี่ยวกับศิลปะวัฒนธรรม
 ประวัติความเป็นมาของศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราชวัดท่าโสม




อะไรอะไรอะไรอะไรอะไรอะไรอะไรอะไรอะไร สืบเนื่องจากพระครูวิมลโสมนันท์เจ้าอาวาสวัดท่าโสมมีความมุ่งมั่นที่จะสร้างสังคมให้เข้มแข็งให้คนในหมู่บ้านและตำบลอยู่เย็นเป็นสุขอยู่ร่วมกันอย่างสมานฉันท์บนพื้นฐานคุณธรรมพัฒนาสังคมและชุมชนรักษาสืบทอดศิลปวัฒนธรรมของท้องถิ่นคนในหมู่บ้านมีความสามัคคีเอื้ออาทรต่อกันแบบญาติพี่น้องรวมถึงประชาชนในพื้นที่ได้เล็งเห็นความสำคัญของวัฒนธรรมไทยรวมทั้งศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นและภูมิปัญญาไทยให้มีการค้นคว้าวิจัยฟื้นฟูและพัฒนาพร้อมทั้งต่อยอดแหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรมพื้นถิ่น เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรมโดยในปีพ .ศ . ๒๕๔๘ได้ดำเนินการ " ศูนย์บูรณาการวัฒนธรรมไทยสายใยชุมชน " ตามแนวทางของกระทรวงวัฒนธรรมและในปีพ . ศ .๒๕๔๙ได้เปลี่ยนชื่อเป็น " ศูนย์วัฒนธรรมไทยสายใยชุมชนตำบลท่าโสม " ที่เน้นการดำเนินงานโดยองค์กรต่างๆและชุมชนภายในท้องถิ่น




ไหมไหมไหมไหมไหมไหมไหมไหมไหม ต่อมาในปีพ . ศ .๒๕๕๕ได้จัดตั้งเป็น " ศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราชวัดท่าโสม " ตามแนวทางของกรมส่งเสริมวัฒนธรรมเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเนื่องในวโรกาสที่มีพระชนมายุ๘๔พรรษาด้านมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของท้องถิ่นที่เกิดจากการบูรณาการของหน่วยงานต่างๆไม่ว่าจะเป็นภาครัฐภาคเอกชนชุมชนและองค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนภายในพื้นที่ตำบลท่าโสมประกอบด้วยอาคารศาลารึเปล่า




อะไรอะไรอะไรอะไรอะไรอะไรอะไรอะไรอะไร ทรงไทยอายุ๑๕๐โบสถ์ที่ประดิษฐานพระพุทธรูปหยกขาวและพระพุทธรูปไม้ซึ่งเป็นพระคู่บ้านคู่เมืองของจังหวัดตราดรวมถึงการจัดรูปแบบพิพิธภัณฑ์ที่แสดงวัตถุสิ่งของตามวิถีชีวิตของชาวท่าโสมเช่น .เครื่องลายครามเครื่องเบญจรงค์เครื่องใช้ทองเหลืองเครื่องปั้นดินเผาเครื่องจักสานเครื่องเงินเศียรครูต่างๆ และข้อมูลมรดกภูมิปัญญาด้านต่างๆที่เกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตของชาวท่าโสมเช่นการแปรรูปอาหารดนตรีไทยตำรายาพืชพื้นเมืองที่หายากว่าวพื้นบ้านที่เป็นเอกลักษณ์ของพื้นที่ได้แก่ว่าวดุ๊ยดุ่ยเป็นต้น




อะไรอะไรอะไรอะไรอะไรอะไรอะไรอะไรอะไร ในปีงบประมาณ๒๕๕๖ศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราชวัดท่าโสมได้รับการคัดเลือกให้เป็นศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราชที่มีศักยภาพในภูมิภาคภาคกลางและภาคตะวันออกประจำปี๒๕๕๖ให้แก่ผู้ที่สนใจและประชาชนทั่วไป ให้เข้ามาศึกษาหาความรู้ที่เกี่ยวข้องกับมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมภายในพื้นที่และได้รับการอบรม
ณจังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดลำปางเมื่อวันที่๒๙พฤษภาคม - ๒มิถุนายน๒๕๕๖เพื่อพัฒนาศักยภาพการดำเนินงานศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราชร่วมกับศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราชที่มีศักยภาพอีกแห่งได้แก่กันอำเภอหาดใหญ่จังหวัดสงขลาศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราชวัดพระธาตุดอยสะเก็ดอำเภอดอยสะเก็ดจังหวัดเชียงใหม่และศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราชพิพิธภัณฑ์เมืองโพนพิสัยอำเภอโพนพิสัยจังหวัดหนองคาย




อะไรอะไรอะไรอะไรอะไรอะไรอะไรอะไรอะไร นอกจากนี้ยังมีการเปิดพื้นที่อำเภอท่าโสมและพื้นที่เกาะช้างที่มีประวัติศาสตร์สืบเนื่องกันมาตั้งแต่อดีตโดยการวางแนวทางการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่มีเอกลักษณ์ที่ได้รับความร่วมมือจากประชาชนองค์กรภาครัฐภาคเอกชนสถาบันการศึกษาผู้นําชุมชนในการสนับสนุนผู้บริหารศูนย์และคณะกรรมการวางแนวทางในการพัฒนาตลอดเวลาผ่านทุนทางวัฒนธรรมด้านวิถีชีวิตภูมิปัญญาต่างๆที่หลากหลายทุนทางสังคมด้านคนให้ก่อให้เกิดความยั่งยืนของประชาชนชาวท่าโสมโดยเปิดเป็นแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมของชาวจังหวัดตราดต่อไป
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: