วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ปัจจุบันเป็นที่ตระหนัก แล การแปล - วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ปัจจุบันเป็นที่ตระหนัก แล ไทย วิธีการพูด

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาคุ

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต
ปัจจุบันเป็นที่ตระหนัก และยอมรับกันทั่วไปว่า ในประเทศที่พัฒนาแล้วนั้น ปัจจัยหนึ่ง ซึ่งเป็นสิ่งที่จำ เป็นอย่างยิ่งต่อการพัฒนาประเทศ และพัฒนาคุณภาพชีวิต ไปสู่การกินดี อยู่ดี ของประชากรโดยส่วนรวมนั้น คือ การมีฐานทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีที่เข้มแข็ง มีการพัฒนา และนำเทคโนโลยี ไปใช้ในการดำเนินชีวิตอย่างจริงจัง เพื่อเป้าหมายสูงสุด คือประโยชน์ทางเศรษฐกิจ และสังคม ดังคำกล่าวที่ว่า “ผู้ใดครองเทคโนโลยี ผู้นั้นครองเศรษฐกิจ ผู้ใดครองเทคโนโลยี ผู้นั้นครองอำนาจ” ดังนั้น เป้าหมายสูงสุด ของการใช้เทคโนโลยีเพื่อ คุณภาพชีวิต ก็คือ เพื่อความยั่งยืนทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นหลักวิชา ในทุกสาขาวิทยาการ เป็นรากฐานเศรษฐกิจพอเพียง และแข่งขันเป็นแหล่งปัญญา แก่สังคมเพื่อคุณภาพชีวิต เป็นพลังจรรโลง รักษาสิ่งแวดล้อม

รูปแบบการใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ
3.1.1 เทคโนโลยีท้องถิ่น
เทคโนโลยีท้องถิ่น หมายถึง เทคโนโลยีดั้งเดิม ที่เกิดขึ้นจากประสบการณ์ ในการดำเนิน ชีวิต การทำมาหากิน การต่อสู้กับ ปรากฏการณ์ธรรมชาติ และการปรับตัวให้เข้ากับ สภาพแวดล้อม ของคนในท้องถิ่นนั้น เทคโนโลยีท้องถิ่น จะมีลักษณะแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อม ของท้องถิ่น และมีความสามารถ ในการเปลี่ยนแปลงพัฒนาไปได้ ไม่หยุดอยู่กับที่ ทั้งนี้ เนื่องจาก การที่มนุษย์ต้องปรับตัว ให้เข้ากับสภาพธรรมชาติ ที่เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ เทคโนโลยีที่เหมาะสม กับท้องถิ่น ควรมีพื้นฐานมาจาก การพัฒนาเทคโนโลยีพื้นบ้าน โดยการดัดแปลงแก้ไข ความรู้พื้นฐาน หรือภูมิปัญญาท้องถิ่น ให้เป็นประโยชน์ มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
1) ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ภูมิปัญญาท้องถิ่น (Local wisdom) หรือ ภูมิปัญญาไทย เป็นการสะสม องค์ความรู้ขึ้นมาจาก ประสบการณ์ของชีวิต สังคม และในสภาพแวดล้อม ที่แตกต่างกัน และมีการถ่ายทอดสืบ ต่อกันมา เป็นวัฒนธรรม ภูมิปัญญาเหล่านี้ เป็นที่มาของวิถีชีวิต ขนบธรรมเนียม ความเชื่อทางศาสนา วิธีการทำมาหากิน ตลอดจน ศิลปะวิทยาการต่าง ๆ ภูมิปัญญาท้องถิ่น อาจเรียกได้อีกอย่างหนึ่งว่า ภูมิปัญญาชาวบ้าน คือ ความรู้ของชาวบ้าน ซึ่งได้มาจาก ประสบการณ์ และความเฉลียวฉลาด ของชาวบ้าน รวมทั้งความรู้ ที่สั่งสมมาแต่บรรพบุรุษ สืบทอดจากคนรุ่นหนึ่ง ไปสู่คนอีกรุ่นหนึ่ง ระหว่างการสืบทอด มีการปรับปรุง ประยุกต์ และเปลี่ยนแปลง จนเกิดเป็นความรู้ใหม่ ตามสภาพ การณ์ทางสังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม ภูมิปัญญาท้องถิ่นได้ก่อเกิด และสืบทอดกันมา ในชุมชน เมื่อชุมชน เปลี่ยนแปลงไป พร้อมกับสังคมสมัยใหม่ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ก็มีการปรับตัว เช่นเดียวกัน ความรู้ต่าง ๆ ที่ไม่มีการปฏิบัติสืบทอด เริ่มสูญหายไป เช่น งานหัตถกรรมทอผ้า เครื่องเงิน เครื่องเขียน และถึงแม้จะยังเหลืออยู่ ก็ได้ถูกพัฒนาไปเป็นการค้า ไม่สามารถรักษา คุณภาพ และฝีมือแบบดั้งเดิมไว้ได้ ในการทำมาหากิน มีการใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย ใช้รถไถ แทนควาย รถอีแต๋นแทนเกวียน เปลี่ยนจากการทำ เพื่อ ยังชีพไปเป็นการผลิต เพื่อการขาย ผู้คนต้องการ เงิน เพื่อซื้อเครื่องบริโภคต่าง ๆ ทำให้สิ่งแวดล้อมเปลี่ยนไป สถานการณ์เช่นนี้ ทำให้ผู้นำ การพัฒนาชุมชนหลายคน เริ่มเห็นความสำคัญ ของภูมิปัญญาท้องถิ่น หน่วยงานภาครัฐ และเอกชนให้การสนับสนุน และส่งเสริมให้มีการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และค้นคิดสิ่งใหม่ ความรู้ใหม่ เพื่อประโยชน์สุขของสังคม
2) ระดับของเทคโนโลยีท้องถิ่น
เทคโนโลยีที่เกิดขึ้นในท้องถิ่นสามารถแบ่งได้เป็น 3 ระดับ คือ
2.1) เทคโนโลยีระดับต่ำ (Low technology) ส่วนมากเป็น เทคโนโลยีที่มีอยู่แต่เดิม ตั้งแต่ยุคโบราณ ตลอดจนใช้แรงงาน ในท้องถิ่น มีการสืบทอดเทคโนโลยีต่อ ๆ กันมาพร้อมกับขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรมของท้องถิ่นนั้น ดังนั้น จึงอาจเรียก เทคโนโลยีอย่างง่าย ๆ ซึ่งผู้ที่มีความ สามารถในระดับต่ำ จำเป็นต้องมีความรู้ทั่วไป เกี่ยวกับเทคโนโลยีนั้น ๆ อย่างถูกต้อง เนื่องจาก มีความจำเป็นต้องใช้ เพื่อการดำรงชีวิต เราจึงจำเป็น ต้องรู้หลัก และวิธีการใช้เทคโนโลยีเหล่านั้น ตัวอย่างเช่น ยาสมุนไพรพื้นบ้าน ครกตำข้าว ลอบดักปลา และกระต่ายขูดมะพร้าว เป็นต้น
2.2) เทคโนโลยีระดับกลาง (Intermediate technology) เกิดจากการปรับปรุงพัฒนา เทคโนโลยี ระดับต่ำ หรือเทคโนโลยีพื้นบ้านขึ้นมา เพื่อให้ได้รับประโยชน์จากเทคโนโลยีนั้นมากขึ้น มีบทบาทในการเสริมความรู้ และประสบการณ์ ให้กับผู้คนในท้องถิ่น ตัวอย่างเช่น การผลิตอาหาร โดยใช้ ผลิตผลเหลือใช้ จากการเกษตร การปลูกพืชหมุนเวียน เพื่อแก้ปัญหา ดินเสื่อม การถนอมอาหาร การสร้างอ่างเก็บน้ำ และเครื่องขูดมะพร้าว เป็นต้น
2.3) เทคโนโลยีระดับสูง (High technology) เป็นเทคโนโลยีที่ได้จาก ประสบการณ์อันยาวนาน มีความสลับซับซ้อน ผู้ใช้ต้องรู้จักดัดแปลงเทคโนโลยีเดิม ให้มีคุณภาพดีขึ้น จนก่อให้เกิด ประโยชน์สูงสุด เทคโนโลยีระดับสูงนั้น อาจจำเป็นต้องอาศัย การศึกษา เรียนรู้ ในสถาบัน การศึกษาชั้นสูง มีการวิจัยทดลอง อย่างสม่ำเสมอ และมีการประดิษฐ์คิดค้น เครื่องมือ เครื่องจักรกลต่าง ๆ ที่มีประสิทธิภาพสูง ตัวอย่างเช่น การผลิตอาหารกระป๋อง การคัดเลือก พันธุ์สัตว์ โดยใช้เทคโนโลยีชีวภาพ กะทิสำเร็จรูป ยู เอช ที และกะทิผง เป็นต้น

3.1.2 เทคโนโลยีที่นำเข้า
แม้ว่าเทคโนโลยีทางการเกษตร และอุตสาหกรรมการเกษตรของไทย จะมีอยู่ในระดับสูง แต่เทคโนโลยีอุตสาหกรรม รวมทั้งเทคโนโลยีด้านอื่น ๆ ที่จำเป็นในการพัฒนาประเทศ ยังกล่าว ได้ว่าอยู่ในระดับต่ำ เช่น เทคโนโลยีทางการแพทย์ การสื่อสาร โทรคมนาคม การขนส่ง คอมพิวเตอร์ เป็นต้น เทคโนโลยีเหล่านี้ จำเป็นต้องรับเอามาจากต่างประเทศ และนำมาพัฒนา ปรับปรุง ให้เหมาะสม กับสภาพสิ่งแวดล้อม การดำเนินชีวิต และวัฒนธรรม ของสังคมไทย ดังนี้
1) เทคโนโลยีการเกษตร ที่จำเป็นต้องนำเข้าจาก ต่างประเทศ ได้แก่ สารเคมีป้องกันกำจัด ศัตรูพืช การปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน ซึ่งเป็นการปลูกพืชในน้ำยา ที่มีธาตุอาหารครบ ทำให้สามารถ ควบคุมผลผลิต และคุณภาพของพืชได้ นอกจากนี้อาจจะต้อง นำเข้า เทคโนโลยี ในการเก็บรักษา คุณภาพ ผลิตผลทางการเกษตร เพื่อการส่งออก เครื่องจักรกล ที่ทันสมัย มาช่วยทุ่นแรงในการ ทำไร่นา
2) เทคโนโลยีชีวภาพ มีการนำเข้าเทคโนโลยีชีวภาพ จากต่
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ปัจจุบันเป็นที่ตระหนักและยอมรับกันทั่วไปว่าในประเทศที่พัฒนาแล้วนั้นปัจจัยหนึ่งซึ่งเป็นสิ่งที่จำเป็นอย่างยิ่งต่อการพัฒนาประเทศและพัฒนาคุณภาพชีวิตไปสู่การกินดีอยู่ดีของประชากรโดยส่วนรวมนั้นคือการมีฐานทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เข้มแข็งมีการพัฒนาและนำเทคโนโลยีไปใช้ในการดำเนินชีวิตอย่างจริงจังเพื่อเป้าหมายสูงสุดคือประโยชน์ทางเศรษฐกิจและสังคมดังคำกล่าวที่ว่า "ผู้ใดครองเทคโนโลยีผู้นั้นครองเศรษฐกิจผู้ใดครองเทคโนโลยีผู้นั้นครองอำนาจ" ดังนั้นเป้าหมายสูงสุดของการใช้เทคโนโลยีเพื่อคุณภาพชีวิตก็คือเพื่อความยั่งยืนทางเศรษฐกิจสังคมและสิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นหลักวิชาในทุกสาขาวิทยาการเป็นรากฐานเศรษฐกิจพอเพียงและแข่งขันเป็นแหล่งปัญญาแก่สังคมเพื่อคุณภาพชีวิตเป็นพลังจรรโลงรักษาสิ่งแวดล้อม รูปแบบการใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ3.1.1 เทคโนโลยีท้องถิ่น เทคโนโลยีท้องถิ่นหมายถึงเทคโนโลยีดั้งเดิมที่เกิดขึ้นจากประสบการณ์ในการดำเนินชีวิตการทำมาหากินการต่อสู้กับปรากฏการณ์ธรรมชาติและการปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมของคนในท้องถิ่นนั้นเทคโนโลยีท้องถิ่นจะมีลักษณะแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมของท้องถิ่นและมีความสามารถในการเปลี่ยนแปลงพัฒนาไปได้ไม่หยุดอยู่กับที่ทั้งนี้เนื่องจากการที่มนุษย์ต้องปรับตัวให้เข้ากับสภาพธรรมชาติที่เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับท้องถิ่นควรมีพื้นฐานมาจากการพัฒนาเทคโนโลยีพื้นบ้านโดยการดัดแปลงแก้ไขความรู้พื้นฐานหรือภูมิปัญญาท้องถิ่นให้เป็นประโยชน์มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น1) ภูมิปัญญาท้องถิ่นภูมิปัญญาท้องถิ่น (Local wisdom) หรือ ภูมิปัญญาไทย เป็นการสะสม องค์ความรู้ขึ้นมาจาก ประสบการณ์ของชีวิต สังคม และในสภาพแวดล้อม ที่แตกต่างกัน และมีการถ่ายทอดสืบ ต่อกันมา เป็นวัฒนธรรม ภูมิปัญญาเหล่านี้ เป็นที่มาของวิถีชีวิต ขนบธรรมเนียม ความเชื่อทางศาสนา วิธีการทำมาหากิน ตลอดจน ศิลปะวิทยาการต่าง ๆ ภูมิปัญญาท้องถิ่น อาจเรียกได้อีกอย่างหนึ่งว่า ภูมิปัญญาชาวบ้าน คือ ความรู้ของชาวบ้าน ซึ่งได้มาจาก ประสบการณ์ และความเฉลียวฉลาด ของชาวบ้าน รวมทั้งความรู้ ที่สั่งสมมาแต่บรรพบุรุษ สืบทอดจากคนรุ่นหนึ่ง ไปสู่คนอีกรุ่นหนึ่ง ระหว่างการสืบทอด มีการปรับปรุง ประยุกต์ และเปลี่ยนแปลง จนเกิดเป็นความรู้ใหม่ ตามสภาพ การณ์ทางสังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม ภูมิปัญญาท้องถิ่นได้ก่อเกิด และสืบทอดกันมา ในชุมชน เมื่อชุมชน เปลี่ยนแปลงไป พร้อมกับสังคมสมัยใหม่ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ก็มีการปรับตัว เช่นเดียวกัน ความรู้ต่าง ๆ ที่ไม่มีการปฏิบัติสืบทอด เริ่มสูญหายไป เช่น งานหัตถกรรมทอผ้า เครื่องเงิน เครื่องเขียน และถึงแม้จะยังเหลืออยู่ ก็ได้ถูกพัฒนาไปเป็นการค้า ไม่สามารถรักษา คุณภาพ และฝีมือแบบดั้งเดิมไว้ได้ ในการทำมาหากิน มีการใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย ใช้รถไถ แทนควาย รถอีแต๋นแทนเกวียน เปลี่ยนจากการทำ เพื่อ ยังชีพไปเป็นการผลิต เพื่อการขาย ผู้คนต้องการ เงิน เพื่อซื้อเครื่องบริโภคต่าง ๆ ทำให้สิ่งแวดล้อมเปลี่ยนไป สถานการณ์เช่นนี้ ทำให้ผู้นำ การพัฒนาชุมชนหลายคน เริ่มเห็นความสำคัญ ของภูมิปัญญาท้องถิ่น หน่วยงานภาครัฐ และเอกชนให้การสนับสนุน และส่งเสริมให้มีการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และค้นคิดสิ่งใหม่ ความรู้ใหม่ เพื่อประโยชน์สุขของสังคม2) ระดับของเทคโนโลยีท้องถิ่น เทคโนโลยีที่เกิดขึ้นในท้องถิ่นสามารถแบ่งได้เป็น 3 ระดับคือ2.1) เทคโนโลยีระดับต่ำ (เทคโนโลยีต่ำ) ส่วนมากเป็นเทคโนโลยีที่มีอยู่แต่เดิมตั้งแต่ยุคโบราณตลอดจนใช้แรงงานในท้องถิ่นมีการสืบทอดเทคโนโลยีต่อๆ กันมาพร้อมกับขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมของท้องถิ่นนั้นดังนั้นจึงอาจเรียกเทคโนโลยีอย่างง่ายๆ ซึ่งผู้ที่มีความสามารถในระดับต่ำจำเป็นต้องมีความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเทคโนโลยีนั้นๆ อย่างถูกต้องเนื่องจากมีความจำเป็นต้องใช้เพื่อการดำรงชีวิตเราจึงจำเป็นต้องรู้หลักและวิธีการใช้เทคโนโลยีเหล่านั้นตัวอย่างเช่นยาสมุนไพรพื้นบ้านครกตำข้าวลอบดักปลาและกระต่ายขูดมะพร้าวเป็นต้น2.2) เทคโนโลยีระดับกลาง (เทคโนโลยีระดับกลาง) เกิดจากการปรับปรุงพัฒนาเทคโนโลยีระดับต่ำหรือเทคโนโลยีพื้นบ้านขึ้นมาเพื่อให้ได้รับประโยชน์จากเทคโนโลยีนั้นมากขึ้นมีบทบาทในการเสริมความรู้และประสบการณ์ให้กับผู้คนในท้องถิ่นตัวอย่างเช่นการผลิตอาหารโดยใช้ผลิตผลเหลือใช้จากการเกษตรการปลูกพืชหมุนเวียนเพื่อแก้ปัญหาดินเสื่อมการถนอมอาหารการสร้างอ่างเก็บน้ำและเครื่องขูดมะพร้าวเป็นต้นเทคโนโลยีระดับสูง 2.3) (เทคโนโลยี) เป็นเทคโนโลยีที่ได้จากประสบการณ์อันยาวนานมีความสลับซับซ้อนผู้ใช้ต้องรู้จักดัดแปลงเทคโนโลยีเดิมให้มีคุณภาพดีขึ้นจนก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดเทคโนโลยีระดับสูงนั้นอาจจำเป็นต้องอาศัยการศึกษาเรียนรู้ในสถาบันการศึกษาชั้นสูงมีการวิจัยทดลองอย่างสม่ำเสมอและมีการประดิษฐ์คิดค้นเครื่องมือเครื่องจักรกลต่างๆ ที่มีประสิทธิภาพสูงตัวอย่างเช่นการผลิตอาหารกระป๋องการคัดเลือกพันธุ์สัตว์โดยใช้เทคโนโลยีชีวภาพกะทิสำเร็จรูปยูเอชทีและกะทิผงเป็นต้น3.1.2 เทคโนโลยีที่นำเข้า แม้ว่าเทคโนโลยีทางการเกษตรและอุตสาหกรรมการเกษตรของไทยจะมีอยู่ในระดับสูงแต่เทคโนโลยีอุตสาหกรรมรวมทั้งเทคโนโลยีด้านอื่นๆ ที่จำเป็นในการพัฒนาประเทศยังกล่าวได้ว่าอยู่ในระดับต่ำเช่นเทคโนโลยีทางการแพทย์การสื่อสารโทรคมนาคมการขนส่งคอมพิวเตอร์เป็นต้นเทคโนโลยีเหล่านี้จำเป็นต้องรับเอามาจากต่างประเทศและนำมาพัฒนาปรับปรุงให้เหมาะสมกับสภาพสิ่งแวดล้อมการดำเนินชีวิตและวัฒนธรรมของสังคมไทยดังนี้1) เทคโนโลยีการเกษตรที่จำเป็นต้องนำเข้าจากต่างประเทศได้แก่สารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดินซึ่งเป็นการปลูกพืชในน้ำยาที่มีธาตุอาหารครบทำให้สามารถควบคุมผลผลิตและคุณภาพของพืชได้นอกจากนี้อาจจะต้องนำเข้าเทคโนโลยีในการเก็บรักษาคุณภาพผลิตผลทางการเกษตรเพื่อการส่งออกเครื่องจักรกลที่ทันสมัยมาช่วยทุ่นแรงในการทำไร่นา2 จากต่มีการนำเข้าเทคโนโลยีชีวภาพเทคโนโลยีชีวภาพ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!

และยอมรับกันทั่วไปว่าในประเทศที่พัฒนาแล้วนั้นปัจจัยหนึ่งซึ่งเป็นสิ่งที่จำเป็นอย่างยิ่งต่อการพัฒนาประเทศและพัฒนาคุณภาพชีวิตไปสู่การกินดีอยู่ดีของประชากรโดยส่วนรวมนั้นคือการมีฐานทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เข้มแข็ง มีการพัฒนาและนำเทคโนโลยีไปใช้ในการดำเนินชีวิตอย่างจริงจังเพื่อเป้าหมายสูงสุดคือประโยชน์ทางเศรษฐกิจและสังคมดังคำกล่าวที่ว่า "ผู้ใดครองเทคโนโลยีผู้นั้นครองเศรษฐกิจผู้ใดครองเทคโนโลยีผู้นั้นครองอำนาจ" ดังนั้นเป้าหมายสูงสุดของ การใช้เทคโนโลยีเพื่อคุณภาพชีวิตก็คือเพื่อความยั่งยืนทางเศรษฐกิจสังคม เป็นหลักวิชาในทุกสาขาวิทยาการเป็นรากฐานเศรษฐกิจพอเพียงและแข่งขันเป็นแหล่งปัญญาแก่สังคมเพื่อคุณภาพชีวิตเป็นพลังจรรโลง หมายถึงเทคโนโลยีดั้งเดิมที่เกิดขึ้นจากประสบการณ์ในการดำเนินชีวิตการทำมาหากินการต่อสู้กับปรากฏการณ์ธรรมชาติและการปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมของคนในท้องถิ่นนั้นเทคโนโลยีท้องถิ่นจะมีลักษณะแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อม ของท้องถิ่นและมีความสามารถในการเปลี่ยนแปลงพัฒนาไปได้ไม่หยุดอยู่กับที่ทั้งนี้เนื่องจากการที่มนุษย์ต้องปรับตัวให้เข้ากับสภาพธรรมชาติที่เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับท้องถิ่นควรมีพื้นฐานมาจากการพัฒนาเทคโนโลยีพื้นบ้านโดยการ ดัดแปลงแก้ไขความรู้พื้นฐานหรือภูมิปัญญาท้องถิ่นให้เป็นประโยชน์มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น1) (ภูมิปัญญาท้องถิ่น) หรือภูมิปัญญาไทยเป็นการสะสมองค์ความรู้ขึ้นมาจากประสบการณ์ของชีวิตสังคมและในสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกันและมีการถ่ายทอดสืบต่อกันมาเป็นวัฒนธรรมภูมิปัญญาเหล่านี้เป็นที่มาของวิถีชีวิตขนบธรรมเนียมความเชื่อทาง ศาสนาวิธีการทำมาหากินตลอดจนศิลปะวิทยาการต่าง ๆ ภูมิปัญญาท้องถิ่นอาจเรียกได้อีกอย่างหนึ่งว่าภูมิปัญญาชาวบ้านคือความรู้ของชาวบ้านซึ่งได้มาจากประสบการณ์และความเฉลียวฉลาดของชาวบ้านรวมทั้งความรู้ที่สั่งสมมา แต่บรรพบุรุษ สืบทอดจากคนรุ่นหนึ่งไปสู่คนอีกรุ่นหนึ่งระหว่างการสืบทอดมีการปรับปรุงประยุกต์และเปลี่ยนแปลงจนเกิดเป็นความรู้ใหม่ตามสภาพการณ์ทางสังคมวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อมภูมิปัญญาท้องถิ่นได้ก่อเกิดและสืบทอดกันมาในชุมชนเมื่อชุมชนเปลี่ยนแปลงไปพร้อม กับสังคมสมัยใหม่ภูมิปัญญาท้องถิ่นก็มีการปรับตัวเช่นเดียวกันความรู้ต่าง ๆ ที่ไม่มีการปฏิบัติสืบทอดเริ่มสูญหายไปเช่นงานหัตถกรรมทอผ้าเครื่องเงินเครื่องเขียนและถึงแม้จะยังเหลืออยู่ก็ได้ถูกพัฒนาไปเป็นการค้าไม่สามารถรักษาคุณภาพและ ฝีมือแบบดั้งเดิมไว้ได้ในการทำมาหากินมีการใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยใช้รถไถแทนควายรถอีแต๋นแทนเกวียนเปลี่ยนจากการทำเพื่อยังชีพไปเป็นการผลิตเพื่อการขายผู้คนต้องการเงินเพื่อซื้อเครื่องบริโภคต่าง ๆ ทำให้ สิ่งแวดล้อมเปลี่ยนไปสถานการณ์เช่นนี้ทำให้ผู้นำการพัฒนาชุมชนหลายคนเริ่มเห็นความสำคัญของภูมิปัญญาท้องถิ่นหน่วยงานภาครัฐและเอกชนให้การสนับสนุนและส่งเสริมให้มีการอนุรักษ์ฟื้นฟูและค้นคิดสิ่งใหม่ความรู้ใหม่เพื่อประโยชน์สุขของสังคม2 ) 3 ระดับคือ2.1) เทคโนโลยีระดับต่ำ (เทคโนโลยีต่ำ) ส่วนมากเป็นเทคโนโลยีที่มีอยู่ แต่เดิมตั้งแต่ยุคโบราณตลอดจนใช้แรงงานในท้องถิ่นมีการสืบทอดเทคโนโลยีต่อ ๆ กันมาพร้อมกับขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมของท้องถิ่นนั้นดังนั้นจึงอาจ เรียกเทคโนโลยีอย่างง่าย ๆ ซึ่งผู้ที่มีความสามารถในระดับต่ำจำเป็นต้องมีความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเทคโนโลยีนั้น ๆ อย่างถูกต้องเนื่องจากมีความจำเป็นต้องใช้เพื่อการดำรงชีวิตเราจึงจำเป็นต้องรู้หลักและวิธีการใช้เทคโนโลยีเหล่า นั้นตัวอย่างเช่นยาสมุนไพรพื้นบ้านครกตำข้าวลอบดักปลาและกระต่ายขูดมะพร้าวเป็นต้น2.2) เทคโนโลยีระดับกลาง (เทคโนโลยีระดับสูง) เกิดจากการปรับปรุงพัฒนาเทคโนโลยีระดับต่ำหรือเทคโนโลยีพื้นบ้านขึ้นมา มีบทบาทในการเสริมความรู้และประสบการณ์ให้กับผู้คนในท้องถิ่นตัวอย่างเช่นการผลิตอาหารโดยใช้ผลิตผลเหลือใช้จากการเกษตรการปลูกพืชหมุนเวียนเพื่อแก้ปัญหาดินเสื่อมการถนอมอาหารการสร้างอ่างเก็บน้ำและเครื่องขูดมะพร้าวเป็นต้น2.3) เทคโนโลยีระดับสูง (เทคโนโลยีสูง) เป็นเทคโนโลยีที่ได้จากประสบการณ์อันยาวนานมีความสลับซับซ้อน ให้มีคุณภาพดีขึ้นจนก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดเทคโนโลยีระดับสูงนั้นอาจจำเป็นต้องอาศัยการศึกษาเรียนรู้ในสถาบันการศึกษาชั้นสูงมีการวิจัยทดลองอย่างสม่ำเสมอและมีการประดิษฐ์คิดค้นเครื่องมือเครื่องจักรกลต่าง ๆ ที่มีประสิทธิภาพสูงตัวอย่าง เช่นการผลิตอาหารกระป๋องการคัดเลือกพันธุ์สัตว์โดยใช้เทคโนโลยีชีวภาพกะทิสำเร็จรูปยูเอชทีและกะทิผงเป็นต้น3.1.2 และอุตสาหกรรมการเกษตรของไทยจะมีอยู่ในระดับสูง แต่เทคโนโลยีอุตสาหกรรมรวมทั้งเทคโนโลยีด้านอื่น ๆ ที่จำเป็นในการพัฒนาประเทศยังกล่าวได้ว่าอยู่ในระดับต่ำเช่นเทคโนโลยีทางการแพทย์การสื่อสารโทรคมนาคมการขนส่งคอมพิวเตอร์เป็นต้นเทคโนโลยีเหล่านี้จำเป็นต้อง รับเอามาจากต่างประเทศและนำมาพัฒนาปรับปรุงให้เหมาะสมกับสภาพสิ่งแวดล้อมการดำเนินชีวิตและวัฒนธรรมของสังคมไทยดังนี้1) เทคโนโลยีการเกษตรที่จำเป็นต้องนำเข้าจากต่างประเทศ ได้แก่ สารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชการปลูกพืชโดยไม่ใช้ ดินซึ่งเป็นการปลูกพืชในน้ำยาที่มีธาตุอาหารครบทำให้สามารถควบคุมผลผลิตและคุณภาพของพืชได้นอกจากนี้อาจจะต้องนำเข้าเทคโนโลยีในการเก็บรักษาคุณภาพผลิตผลทางการเกษตรเพื่อการส่งออกเครื่องจักรกลที่ทันสมัยมาช่วยทุ่นแรงใน การทำไร่นา2) เทคโนโลยีชีวภาพมีการนำเข้าเทคโนโลยีชีวภาพจากต่

















การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต
ปัจจุบันเป็นที่ตระหนักและยอมรับกันทั่วไปว่าในประเทศที่พัฒนาแล้วนั้นปัจจัยหนึ่งซึ่งเป็นสิ่งที่จำเป็นอย่างยิ่งต่อการพัฒนาประเทศและพัฒนาคุณภาพชีวิตไปสู่การกินดีอยู่ดีของประชากรโดยส่วนรวมนั้นความและเทคโนโลยีที่เข้มแข็งมีการพัฒนาและนำเทคโนโลยีไปใช้ในการดำเนินชีวิตอย่างจริงจังเพื่อเป้าหมายสูงสุดคือประโยชน์ทางเศรษฐกิจและสังคมดังคำกล่าวที่ว่า " ผู้ใดครองเทคโนโลยีผู้นั้นครองเศรษฐกิจผู้นั้นครองอำนาจ " ดังนั้นเป้าหมายสูงสุดของการใช้เทคโนโลยีเพื่อคุณภาพชีวิตก็คือเพื่อความยั่งยืนทางเศรษฐกิจสังคมและสิ่งแวดล้อม

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นหลักวิชาในทุกสาขาวิทยาการเป็นรากฐานเศรษฐกิจพอเพียงและแข่งขันเป็นแหล่งปัญญาแก่สังคมเพื่อคุณภาพชีวิตเป็นพลังจรรโลงรักษาสิ่งแวดล้อม


รูปแบบการใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ 3.1 .1 เทคโนโลยีท้องถิ่น
เทคโนโลยีท้องถิ่นหมายถึงเทคโนโลยีดั้งเดิมที่เกิดขึ้นจากประสบการณ์ในการดำเนินชีวิตการทำมาหากินการต่อสู้กับปรากฏการณ์ธรรมชาติและการปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมของคนในท้องถิ่นนั้นจะมีลักษณะแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมของท้องถิ่นและมีความสามารถในการเปลี่ยนแปลงพัฒนาไปได้ไม่หยุดอยู่กับที่ทั้งนี้เนื่องจากการที่มนุษย์ต้องปรับตัวให้เข้ากับสภาพธรรมชาติเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับท้องถิ่นควรมีพื้นฐานมาจากการพัฒนาเทคโนโลยีพื้นบ้านโดยการดัดแปลงแก้ไขความรู้พื้นฐานหรือภูมิปัญญาท้องถิ่นให้เป็นประโยชน์มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
1 ) ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ภูมิปัญญาท้องถิ่น ( ภูมิปัญญาท้องถิ่น ) ค็อคภูมิปัญญาไทยเป็นการสะสมองค์ความรู้ขึ้นมาจากประสบการณ์ของชีวิตสังคมและในสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกันและมีการถ่ายทอดสืบต่อกันมาเป็นวัฒนธรรมภูมิปัญญาเหล่านี้ขนบธรรมเนียมความเชื่อทางศาสนาวิธีการทำมาหากินตลอดจนศิลปะวิทยาการต่างจะภูมิปัญญาท้องถิ่นอาจเรียกได้อีกอย่างหนึ่งว่าภูมิปัญญาชาวบ้านความความรู้ของชาวบ้านซึ่งได้มาจากประสบการณ์และความเฉลียวฉลาดรวมทั้งความรู้ที่สั่งสมมาแต่บรรพบุรุษสืบทอดจากคนรุ่นหนึ่งไปสู่คนอีกรุ่นหนึ่งระหว่างการสืบทอดมีการปรับปรุงประยุกต์และเปลี่ยนแปลงจนเกิดเป็นความรู้ใหม่ตามสภาพการณ์ทางสังคมวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อมและสืบทอดกันมาในชุมชนเมื่อชุมชนเปลี่ยนแปลงไปพร้อมกับสังคมสมัยใหม่ภูมิปัญญาท้องถิ่นก็มีการปรับตัวเช่นเดียวกันความรู้ต่างจะที่ไม่มีการปฏิบัติสืบทอดเริ่มสูญหายไปเช่นงานหัตถกรรมทอผ้าเครื่องเงิน
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: