ประวัติฮอกกี้ในประเทศไทยอาจกล่าวได้ว่าการเล่นฮอกกี้เป็นกีฬาพื้นเมืองที การแปล - ประวัติฮอกกี้ในประเทศไทยอาจกล่าวได้ว่าการเล่นฮอกกี้เป็นกีฬาพื้นเมืองที ไทย วิธีการพูด

ประวัติฮอกกี้ในประเทศไทยอาจกล่าวได้

ประวัติฮอกกี้ในประเทศไทย

อาจกล่าวได้ว่าการเล่นฮอกกี้เป็นกีฬาพื้นเมืองที่เล่นกันมาตั้งแต่สมัยโบราณเช่นเดียวกับกีฬาประเภทอื่นๆ โดยมีอุปกรณ์การเล่น และวิธีเล่นคล้ายกับการเล่นฮอกกี้มาก ซึ่งเรียกการเล่นชนิดนี้ว่า คลี เป็นกีฬาพื้นเมืองที่นิยมเล่นกันมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กีฬาประเภทนี้มีอุปกรณ์คือ ไม้ตีที่ทำด้วยโคนไม้ไผ่ หรือไม้งอๆ คล้ายกับไม้ตีฮอกกี้ในสมัยปัจจุบัน แต่ลูกคลีของไทยมีสองชนิดคือ ทำด้วยไม้กลึงให้กลมคล้ายลูกฮอกกี้ และทำด้วยกิ่งไม้ทองหลาง ยาวประมาณ 10 เซนติเมตร ลูกคลีชนิดที่ทำด้วยไม้กลึงให้กลมมีไว้เพื่อใช้เล่นในเวลากลางวัน

alt

ส่วนชนิดที่ทำด้วยกิ่งไม้ทองหลางแห้ง มีไว้เพื่อเล่นในเวลากลางคืน เรียกว่า คลีไฟ เพราะว่าหัวของไม้ทองหลางทั้งสองข้างจุดไฟได้ เพื่อให้มองเห็นได้ถนัดว่าลูกคลีอยู่ที่ใด การเล่นจะเล่นกันตามคันนาหลังจากเก็บเกี่ยวเสร็จแล้ว ตามคำบอกเล่าของชาวบ้านในจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ บอกว่าการเล่นคลีนั้นสนุกสนานและตื่นเต้นมาก

ก่อนปี พ.ศ. 2505 มีการเล่นฮอกกี้ในประเทศไทย โดยเล่นกันในหมู่ของชาวต่างประเทศที่เข้ามาทำงานในประเทศไทย ใช้ที่ราชกรีฑาสโมสร เป็นสถานที่สำหรับการเล่น กีฬาฮอกกี้จัดให้มีการสอนครั้งแรกในประเทศไทยที่วิทยาลัยพลศึกษาในปี พ.ศ. 2507 โดย นายสำอาง? พ่วงบุตร เป็นผู้นำเข้ามาและจัดไว้ในหลักสูตรการเรียนการสอนในวิทยาลัยพลศึกษา จนกระทั่งปัจจุบัน สมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไทยได้จดทะเบียนก่อตั้งเป็นสมาคม เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2507? ในระยะแรก ๆ? กีฬาประเภทนี้ยังไม่เป็นที่แพร่หลายนัก จนกระทั่งการแข่งขันเอเชี่ยนเกมส์ ครั้งที่ 5 ที่ ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพในเดือนธันวาคม พ.ศ.2509? และสมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไทยได้สมัครเข้าเป็นสมาชิกสหพันธ์ฮอกกี้แห่งนานาชาติ

ในปีเดียวกันนี้เองกีฬาฮอกกี้จึงเริ่มเป็นที่รู้จักกันในหมู่ประชาชนบ้าง แต่ก็ยังไม่เป็นที่สนใจมากนัก ในปี พ.ศ. 2516 สมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไทยได้เข้าเป็นสมาชิกของสหพันธ์ฮอกกี้แห่งเอเชีย (Asian Hockey Federation) ต่อมาประเทศไทยได้รับเกียรติเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันเอเชี่ยนเกมส์ ครั้งที่ 6 ในปี พ.ศ. 2513 และครั้งที่ 8 ในปี พ.ศ. 2521? กีฬาฮอกกี้จึงได้ตื่นตัวมากขึ้น และสมาคมฮอกกี้ได้จัดการแข่งขันด้วย

ในปัจจุบันกีฬาประเภทนี้จะจัดการเรียนการสอนตามสถาบันการศึกษาต่าง ๆ? รวมทั้งในระดับโรงเรียนด้วย อีกทั้งได้จัดการแข่งขันในระดับต่าง ๆ อาทิ เช่น?? กีฬานักเรียนนักศึกษาแห่งประเทศไทย

กีฬามหาวิทยาลัย กีฬาสถาบันการพลศึกษาทั่วประเทศ? รวมทั้งกีฬากองทัพไทยด้วย? และสโมสรต่าง ๆ ได้มีการจัดการแข่งขันกันมากขึ้น กีฬาฮอกกี้เริ่มได้รับความสนใจแพร่หลายมากขึ้นตามลำดับ และได้มีการส่งทีมฮอกกี้เข้าร่วมการแข่งขันในระดับนานาชาติในระดับต่าง ๆ มากขึ้น ประเทศไทยเคยได้รับรางวัลเหรียญทองในประเภททีมหญิง จากการแข่งขันซีเกมส์ ครั้งที่ 18 พ.ศ. 2538? ณ จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งประเทศไทยเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน สมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไทยได้พยายามผลักดันให้กีฬาฮอกกี้เป็นกีฬาที่แข่งขันประเภทหนึ่งในการแข่งขันกีฬาแห่งชาติ ในปี พ.ศ. 2530 ซึ่งเป็นการแข่งขันกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 20? ณ จังหวัดร้อยเอ็ด? ซึ่งคาดว่ากีฬาฮอกกี้ในอนาคตข้างหน้าคงจะได้รับความสนใจและเป็นที่นิยมแพร่หลายต่อไป?

รายนามนายกสมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไทย

1. พันเอกอนุ รมยานนท์

2. พลเอกเต็ม หอมเศรษฐี

3. นายพิสิษฐ์ งามพานิช

4. พลตำรวจโทองอาจ ผุดผาด

5. พลตำรวจโทเหมราช ธารีไทย

7. นางเทพวาณี หอมสนิท

8. นายพิเชฐ มั่นคง

9. นายชัยภักดิ์ ศิริวัฒน์
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ประวัติฮอกกี้ในประเทศไทย

อาจกล่าวได้ว่าการเล่นฮอกกี้เป็นกีฬาพื้นเมืองที่เล่นกันมาตั้งแต่สมัยโบราณเช่นเดียวกับกีฬาประเภทอื่น ๆ โดยมีอุปกรณ์การเล่นและวิธีเล่นคล้ายกับการเล่นฮอกกี้มากซึ่งเรียกการเล่นชนิดนี้ว่าคลี กีฬาประเภทนี้มีอุปกรณ์คือไม้ตีที่ทำด้วยโคนไม้ไผ่หรือไม้งอ ๆ คล้ายกับไม้ตีฮอกกี้ในสมัยปัจจุบันแต่ลูกคลีของไทยมีสองชนิดคือทำด้วยไม้กลึงให้กลมคล้ายลูกฮอกกี้และทำด้วยกิ่งไม้ทองหลางยาวประมาณ 10 เซนติเมตร
alt

ส่วนชนิดที่ทำด้วยกิ่งไม้ทองหลางแห้งมีไว้เพื่อเล่นในเวลากลางคืนเรียกว่าคลีไฟเพราะว่าหัวของไม้ทองหลางทั้งสองข้างจุดไฟได้เพื่อให้มองเห็นได้ถนัดว่าลูกคลีอยู่ที่ใด ตามคำบอกเล่าของชาวบ้านในจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือบอกว่าการเล่นคลีนั้นสนุกสนานและตื่นเต้นมาก

ก่อนปีพ.ศ 2505 มีการเล่นฮอกกี้ในประเทศไทยโดยเล่นกันในหมู่ของชาวต่างประเทศที่เข้ามาทำงานในประเทศไทยใช้ที่ราชกรีฑาสโมสรเป็นสถานที่สำหรับการเล่นกีฬาฮอกกี้จัดให้มีการสอนครั้งแรกในประเทศไทยที่วิทยาลัยพลศึกษาในปีพ.ศ 2507 โดยนายสำอาง พ่วงบุตรเป็นผู้นำเข้ามาและจัดไว้ในหลักสูตรการเรียนการสอนในวิทยาลัยพลศึกษาจนกระทั่งปัจจุบันสมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไทยได้จดทะเบียนก่อตั้งเป็นสมาคมเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์พ.ศ. 2507 ในระยะแรกๆ กีฬาประเภทนี้ยังไม่เป็นที่แพร่หลายนักจนกระทั่งการแข่งขันเอเชี่ยนเกมส์ครั้งที่ 5 ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพในเดือนธันวาคม พ.ศ.2509 และสมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไทยได้สมัครเข้าเป็นสมาชิกสหพันธ์ฮอกกี้แห่งนานาชาติ

ในปีเดียวกันนี้เองกีฬาฮอกกี้จึงเริ่มเป็นที่รู้จักกันในหมู่ประชาชนบ้างแต่ก็ยังไม่เป็นที่สนใจมากนักในปีพ.ศ สมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไทยได้เข้าเป็นสมาชิกของสหพันธ์ฮอกกี้แห่งเอเชีย 2516 (สหพันธ์ฮอกกี้เอเชีย) ต่อมาประเทศไทยได้รับเกียรติเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันเอเชี่ยนเกมส์ครั้งที่ 6 ในปีพ.ศ. 2513 และครั้งที่ 8 ในปีพ.ศ. 2521 กีฬาฮอกกี้จึงได้ตื่นตัวมากขึ้นและสมาคมฮอกกี้ได้จัดการแข่งขันด้วย

ในปัจจุบันกีฬาประเภทนี้จะจัดการเรียนการสอนตามสถาบันการศึกษาต่างๆ รวมทั้งในระดับโรงเรียนด้วยอีกทั้งได้จัดการแข่งขันในระดับต่างๆ อาทิเช่น กีฬานักเรียนนักศึกษาแห่งประเทศไทย

กีฬามหาวิทยาลัยกีฬาสถาบันการพลศึกษาทั่วประเทศ รวมทั้งกีฬากองทัพไทยด้วย และสโมสรต่างๆ ได้มีการจัดการแข่งขันกันมากขึ้นกีฬาฮอกกี้เริ่มได้รับความสนใจแพร่หลายมากขึ้นตามลำดับและได้มีการส่งทีมฮอกกี้เข้าร่วมการแข่งขันในระดับนานาชาติในระดับต่างๆ มากขึ้น จากการแข่งขันซีเกมส์ครั้งที่ 18 พศ. 2538 หรือไม่ ณจังหวัดเชียงใหม่ซึ่งประเทศไทยเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันสมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไทยได้พยายามผลักดันให้กีฬาฮอกกี้เป็นกีฬาที่แข่งขันประเภทหนึ่งในการแข่งขันกีฬาแห่งชาติในปีพ.ศ 2530 ซึ่งเป็นการแข่งขันกีฬาแห่งชาติครั้งที่ 20 ณจังหวัดร้อยเอ็ด ซึ่งคาดว่ากีฬาฮอกกี้ในอนาคตข้างหน้าคงจะได้รับความสนใจและเป็นที่นิยมแพร่หลายต่อไป?

รายนามนายกสมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไทย

1 พันเอกอนุรมยานนท์

2 พลเอกเต็มหอมเศรษฐี

3 นายพิสิษฐ์งามพานิช

4 พลตำรวจโทองอาจผุดผาด

5 พลตำรวจโทเหมราชธารีไทย

7 นางเทพวาณีหอมสนิท

8 นายพิเชฐมั่นคง

9 นายชัยภักดิ์ศิริวัฒน์
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ประวัติฮอกกี้ในประเทศไทย

อาจกล่าวได้ว่าการเล่นฮอกกี้เป็นกีฬาพื้นเมืองที่เล่นกันมาตั้งแต่สมัยโบราณเช่นเดียวกับกีฬาประเภทอื่นๆ โดยมีอุปกรณ์การเล่น และวิธีเล่นคล้ายกับการเล่นฮอกกี้มาก ซึ่งเรียกการเล่นชนิดนี้ว่า คลี เป็นกีฬาพื้นเมืองที่นิยมเล่นกันมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กีฬาประเภทนี้มีอุปกรณ์คือ ไม้ตีที่ทำด้วยโคนไม้ไผ่ หรือไม้งอๆ คล้ายกับไม้ตีฮอกกี้ในสมัยปัจจุบัน แต่ลูกคลีของไทยมีสองชนิดคือ ทำด้วยไม้กลึงให้กลมคล้ายลูกฮอกกี้ และทำด้วยกิ่งไม้ทองหลาง ยาวประมาณ 10 เซนติเมตร ลูกคลีชนิดที่ทำด้วยไม้กลึงให้กลมมีไว้เพื่อใช้เล่นในเวลากลางวัน

alt

ส่วนชนิดที่ทำด้วยกิ่งไม้ทองหลางแห้ง มีไว้เพื่อเล่นในเวลากลางคืน เรียกว่า คลีไฟ เพราะว่าหัวของไม้ทองหลางทั้งสองข้างจุดไฟได้ เพื่อให้มองเห็นได้ถนัดว่าลูกคลีอยู่ที่ใด การเล่นจะเล่นกันตามคันนาหลังจากเก็บเกี่ยวเสร็จแล้ว ตามคำบอกเล่าของชาวบ้านในจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ บอกว่าการเล่นคลีนั้นสนุกสนานและตื่นเต้นมาก

ก่อนปี พ.ศ. 2505 มีการเล่นฮอกกี้ในประเทศไทย โดยเล่นกันในหมู่ของชาวต่างประเทศที่เข้ามาทำงานในประเทศไทย ใช้ที่ราชกรีฑาสโมสร เป็นสถานที่สำหรับการเล่น กีฬาฮอกกี้จัดให้มีการสอนครั้งแรกในประเทศไทยที่วิทยาลัยพลศึกษาในปี พ.ศ. 2507 โดย นายสำอาง? พ่วงบุตร เป็นผู้นำเข้ามาและจัดไว้ในหลักสูตรการเรียนการสอนในวิทยาลัยพลศึกษา จนกระทั่งปัจจุบัน สมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไทยได้จดทะเบียนก่อตั้งเป็นสมาคม เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2507? ในระยะแรก ๆ? กีฬาประเภทนี้ยังไม่เป็นที่แพร่หลายนัก จนกระทั่งการแข่งขันเอเชี่ยนเกมส์ ครั้งที่ 5 ที่ ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพในเดือนธันวาคม พ.ศ.2509? และสมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไทยได้สมัครเข้าเป็นสมาชิกสหพันธ์ฮอกกี้แห่งนานาชาติ

ในปีเดียวกันนี้เองกีฬาฮอกกี้จึงเริ่มเป็นที่รู้จักกันในหมู่ประชาชนบ้าง แต่ก็ยังไม่เป็นที่สนใจมากนัก ในปี พ.ศ. 2516 สมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไทยได้เข้าเป็นสมาชิกของสหพันธ์ฮอกกี้แห่งเอเชีย (Asian Hockey Federation) ต่อมาประเทศไทยได้รับเกียรติเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันเอเชี่ยนเกมส์ ครั้งที่ 6 ในปี พ.ศ. 2513 และครั้งที่ 8 ในปี พ.ศ. 2521? กีฬาฮอกกี้จึงได้ตื่นตัวมากขึ้น และสมาคมฮอกกี้ได้จัดการแข่งขันด้วย

ในปัจจุบันกีฬาประเภทนี้จะจัดการเรียนการสอนตามสถาบันการศึกษาต่าง ๆ? รวมทั้งในระดับโรงเรียนด้วย อีกทั้งได้จัดการแข่งขันในระดับต่าง ๆ อาทิ เช่น?? กีฬานักเรียนนักศึกษาแห่งประเทศไทย

กีฬามหาวิทยาลัย กีฬาสถาบันการพลศึกษาทั่วประเทศ? รวมทั้งกีฬากองทัพไทยด้วย? และสโมสรต่าง ๆ ได้มีการจัดการแข่งขันกันมากขึ้น กีฬาฮอกกี้เริ่มได้รับความสนใจแพร่หลายมากขึ้นตามลำดับ และได้มีการส่งทีมฮอกกี้เข้าร่วมการแข่งขันในระดับนานาชาติในระดับต่าง ๆ มากขึ้น ประเทศไทยเคยได้รับรางวัลเหรียญทองในประเภททีมหญิง จากการแข่งขันซีเกมส์ ครั้งที่ 18 พ.ศ. 2538? ณ จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งประเทศไทยเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน สมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไทยได้พยายามผลักดันให้กีฬาฮอกกี้เป็นกีฬาที่แข่งขันประเภทหนึ่งในการแข่งขันกีฬาแห่งชาติ ในปี พ.ศ. 2530 ซึ่งเป็นการแข่งขันกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 20? ณ จังหวัดร้อยเอ็ด? ซึ่งคาดว่ากีฬาฮอกกี้ในอนาคตข้างหน้าคงจะได้รับความสนใจและเป็นที่นิยมแพร่หลายต่อไป?

รายนามนายกสมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไทย

1. พันเอกอนุ รมยานนท์

2. พลเอกเต็ม หอมเศรษฐี

3. นายพิสิษฐ์ งามพานิช

4. พลตำรวจโทองอาจ ผุดผาด

5. พลตำรวจโทเหมราช ธารีไทย

7. นางเทพวาณี หอมสนิท

8. นายพิเชฐ มั่นคง

9. นายชัยภักดิ์ ศิริวัฒน์
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ประวัติฮอกกี้ในประเทศไทย

อาจกล่าวได้ว่าการเล่นฮอกกี้เป็นกีฬาพื้นเมืองที่เล่นกันมาตั้งแต่สมัยโบราณเช่นเดียวกับกีฬาประเภทอื่นๆโดยมีอุปกรณ์การเล่นและวิธีเล่นคล้ายกับการเล่นฮอกกี้มากซึ่งเรียกการเล่นชนิดนี้ว่าคลีกีฬาประเภทนี้มีอุปกรณ์คือไม้ตีที่ทำด้วยโคนไม้ไผ่หรือไม้งอๆคล้ายกับไม้ตีฮอกกี้ในสมัยปัจจุบันแต่ลูกคลีของไทยมีสองชนิดคือทำด้วยไม้กลึงให้กลมคล้ายลูกฮอกกี้และทำด้วยกิ่งไม้ทองหลางยาวประมาณ 10 เซนติเมตร
<

ส่วนชนิดที่ทำด้วยกิ่งไม้ทองหลางแห้งมีไว้เพื่อเล่นในเวลากลางคืนเรียกว่าคลีไฟเพราะว่าหัวของไม้ทองหลางทั้งสองข้างจุดไฟได้เพื่อให้มองเห็นได้ถนัดว่าลูกคลีอยู่ที่ใดตามคำบอกเล่าของชาวบ้านในจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือบอกว่าการเล่นคลีนั้นสนุกสนานและตื่นเต้นมาก

The once solid Democratic พ . ศ .2505 มีการเล่นฮอกกี้ในประเทศไทยโดยเล่นกันในหมู่ของชาวต่างประเทศที่เข้ามาทำงานในประเทศไทยใช้ที่ราชกรีฑาสโมสรเป็นสถานที่สำหรับการเล่นกีฬาฮอกกี้จัดให้มีการสอนครั้งแรกในประเทศไทยที่วิทยาลัยพลศึกษาในปีพ . ศ .2507 โดยนายสำอาง ? พ่วงบุตรเป็นผู้นำเข้ามาและจัดไว้ในหลักสูตรการเรียนการสอนในวิทยาลัยพลศึกษาจนกระทั่งปัจจุบันสมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไทยได้จดทะเบียนก่อตั้งเป็นสมาคมเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์พ . ศ . 2507 ?ในระยะแรกไม่มี ? กีฬาประเภทนี้ยังไม่เป็นที่แพร่หลายนักจนกระทั่งการแข่งขันเอเชี่ยนเกมส์ครั้งที่ 5 ที่ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพในเดือนธันวาคมพ . ศ . รูปภาพ ?และสมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไทยได้สมัครเข้าเป็นสมาชิกสหพันธ์ฮอกกี้แห่งนานาชาติ

ในปีเดียวกันนี้เองกีฬาฮอกกี้จึงเริ่มเป็นที่รู้จักกันในหมู่ประชาชนบ้างแต่ก็ยังไม่เป็นที่สนใจมากนักสามารถพ . ศ .2516 สมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไทยได้เข้าเป็นสมาชิกของสหพันธ์ฮอกกี้แห่งเอเชีย ( สหพันธ์ฮอกกี้แห่งเอเชีย ) ต่อมาประเทศไทยได้รับเกียรติเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันเอเชี่ยนเกมส์ครั้งที่ 6 สามารถพ . ศ . 2513 และครั้งที่ 8 สามารถพ . ศ . 2521 ?กีฬาฮอกกี้จึงได้ตื่นตัวมากขึ้นและสมาคมฮอกกี้ได้จัดการแข่งขันด้วย

ในปัจจุบันกีฬาประเภทนี้จะจัดการเรียนการสอนตามสถาบันการศึกษาต่างไม่มี ?รวมทั้งในระดับโรงเรียนด้วยอีกทั้งได้จัดการแข่งขันในระดับต่างจะอาทิเช่น ? ? กีฬานักเรียนนักศึกษาแห่งประเทศไทย

กีฬามหาวิทยาลัยกีฬาสถาบันการพลศึกษาทั่วประเทศ ? รวมทั้งกีฬากองทัพไทยด้วย ?และสโมสรต่างจะได้มีการจัดการแข่งขันกันมากขึ้นกีฬาฮอกกี้เริ่มได้รับความสนใจแพร่หลายมากขึ้นตามลำดับและได้มีการส่งทีมฮอกกี้เข้าร่วมการแข่งขันในระดับนานาชาติในระดับต่างจะมากขึ้นจากการแข่งขันซีเกมส์ครั้งที่ 18 พ .ศ . 2538 ? ณ Thanawat Thongtan ซึ่งประเทศไทยเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันสมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไทยได้พยายามผลักดันให้กีฬาฮอกกี้เป็นกีฬาที่แข่งขันประเภทหนึ่งในการแข่งขันกีฬาแห่งชาติสามารถพ . ศ .2530 ซึ่งเป็นการแข่งขันกีฬาแห่งชาติ 20 ครั้งที่ ? ณจังหวัดร้อยเอ็ด ? ซึ่งคาดว่ากีฬาฮอกกี้ในอนาคตข้างหน้าคงจะได้รับความสนใจและเป็นที่นิยมแพร่หลายต่อไป ?

รายนามนายกสมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไทย

1 พันเอกอนุรมยานนท์

2พลเอกเต็มหอมเศรษฐี

3 นายพิสิษฐ์งามพานิช

4 . พลตำรวจโทองอาจผุดผาด

5 พลตำรวจโทเหมราชธารีไทย

7 นางเทพวาณีหอมสนิท

8 นายพิเชฐมั่นคง

9 นายชัยภักดิ์ศิริวัฒน์
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: