2.1 การวางแผนระยะยาว (Long range Planning) เป็นการวางแผนในระดับกลยุทธ์ การแปล - 2.1 การวางแผนระยะยาว (Long range Planning) เป็นการวางแผนในระดับกลยุทธ์ ไทย วิธีการพูด

2.1 การวางแผนระยะยาว (Long range Pl

2.1 การวางแผนระยะยาว (Long range Planning) เป็นการวางแผนในระดับกลยุทธ์โดยมีเป้าหมายเพื่อเชื่อมโยงการบริหารและการ ปฏิบัติการภายในองค์กรเข้ากับสภาวะแวดล้อมปกติ การวางแผนระยะยาย จะคำนึงถึงอนาคตข้างหน้าไม่ต่ำกว่า 5 ปีขึ้นไป แม้ว่าการวางแผนระยะยายจะตั้งอยู่บนความไม่แน่นอนของสถานการณ์แวดล้อม แต่หลายๆ องค์กรก็สามารถช้ากรวางแผนระยะยาวให้เป็นประโยชน์ต่อองค์กรได้ เช่น ใช้การวางแผนระยะยาวในการพัฒนาทักษะและฝีมือของแรงงาน เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการใช้แรงงานในอนาคตผู้บริหารบริษัทซีรอกซ์ใช้ การวางแผนระยะยาวสำหรับการสร้างสรรค์สายผลิตภัณฑ์ใหม่ ที่จะสนับสนุนเป้าหมายกลยทุธ์ขององค์กร ในการสร้างความเป็นหนึ่งของโลกในธุรกิจกระบวนการเอกสาร และวางแผนใช้เวลาถึง 10 ปีในการพัฒนาด้านการตลาดของเทคโนโลยีด้านเอกสารและใสการสร้างสรรค์เครื่อง จักรคอมพิวเตอร์ดิจิตอลแบบตั้งโต๊ะ เพื่อใช้งานด้านเอกสารสำเนามี่มีความเร็วสูงและมีคุณภาพสูง
2.2 การวางแผนระยะปานกลาง (Intermediate Range Planning) การวางแผนระยะปานกลาง จะครอบคลุมเวลาในการดำเนินงานตามแผนตั้งแต่ 1 ปี ถึง 5 ปี แผนระยะปานกลางจึงทำหน้าที่เป็นสื่อกลางประสานระหว่างแผนระยะยาวกับแผนระยะ สั้น เพื่อให้การปฏิบัติงานภายในองค์กรเป็นไปตามยุทธวิธี และเป้าหมายยุทธวิธีที่วางไว้ บางครั้งองค์กรธุรกิจบางแห่ง อาจรวมเอาการวางแผนระยะสั้นและการวางแผนระยะปานกลางเข้าด้วยกัน โดยมีเป้าหมายในการทำกำไร ขององค์การเป็นหลัก หรือาจใช้วิธีวางแผนะรยะปานกลางเพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาหรือสำหรับการขยาย กิจการ และขยายกำลังการผลิตโดยใช้ช่วงเวลา 1 ปีถึง 5 ปีเป็นเกณฑ์
2.3 การวางแผนระยะสั้น (short range Planning) เป็นการวางแผนเพื่อให้ครอบคลุมและเป็นไปตามเป้าหมายปฏิบัติการหรือแผน ปฏิบัติการที่วางไว้โดยปกติ แผนระยะสั้นจะต้องสอดคล้องและเป็นไปในทิศทางเดียวกันกับแผนระยะยาว ระยะเวลาสำหรับการวางแผนระยะสั้นมักเป็นช่วงเวลาของการดำเนินงานในปัจจุบัน ซึ่งถือเอาช่วงเวลาภายในเวลา 1 ปีเป็นเกณฑ์ แผนระยะสั้นจะช่วยให้การบริหารการปฏิบัติงานประจำวันเป็นไปด้วยความราบรื่น เรียบร้อย
3. การจำแนกประเภทของการาวางแผนตามหน้าที่ดำเนินงาน (Functional Planning) การวางแผนโดยจำแนกตามหน้าที่ดำเนินงาน สามารถจำแนกแผนออกได้เป็น 5 ชนิด ได้แก่
3.1 แผนแม่บท (Master Plan) เป็นแผนที่เกิดจากการรวมแผนทั้งหมดภายในองค์กรเข้าไวด้วยกัน เพื่อให้เห็นถึงโครงสร้างโดยรวม ของการปฏิบัติงานภายในองค์กร และใช้เป็นแม่แบบในการวางแผนระดับรองลงไปของกิจการ
3.2 แผนหน้าที่ (Functional Plan) เป็นแผนที่ถูกวางขึ้นเพื่อเฉพาะเจาะจงใช้กับ กลุ่มงาน แผนปฏิบัติงานจะเป็นแผนย่อยที่อยู่ในแผนใหญ่ที่เรียกว่าแผนแม่บท แผนปฏิบัติงานจะช่วยให้ผู้ปฏิบัติทราบว่า หน่วยงานจะต้องทำอะไร ทำอย่างไร และทำเพื่ออะไร ตลอดจนแสดง เป้าหมายสุดท้ายที่คาดหวัง เมื่อปฏิบัติตามแผนทุกอย่างหมดแล้ว
การจำแนกการวางแผนตามหน้าที่นี้ สามารถจำแนกแผนย่อยออกได้เป็นแผนด้านบุคลากร แผนด้านการผลิตแผนด้านการตลาด และแผนด้านการเงิน
3.2.1 การวางแผนด้านบุคคล (Human Resource Planning ) เป็นการคาดคะเนความต้องการใช้บุคลากร ซึ่งถือเป็นทรัพยากรมนุษย์ที่มีค่าขององค์กรธุรกิจ เพื่อให้มีความเหมาะสมสอดคล้องระหว่างบุคลากรและงานขององค์กรทั้งในปัจจุบัน และในอนาคต
3.2.2 การวางแผนด้านการผลิต (Production Planning) คือ กระบวนการในการกำหนดชนิดและปริมาณของทรัพยากรที่จำเป็นต้องใช้เพี่อการผลิต โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เกิดการสูญเสียทรัพยากร กำลังผลิต แรงงานที่ใช้ และเวลาในการผลิตให้น้อยที่สุด แต่ก่อให้เกิดประสิทธิผลดีที่สุดตามเป้าหมายที่วางไว้
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
2.1 การวางแผนระยะยาว (ยาวช่วงวางแผน) เป็นการวางแผนในระดับกลยุทธ์โดยมีเป้าหมายเพื่อเชื่อมโยงการบริหารและการปฏิบัติการภายในองค์กรเข้ากับสภาวะแวดล้อมปกติการวางแผนระยะยายจะคำนึงถึงอนาคตข้างหน้าไม่ต่ำกว่า 5 ปีขึ้นไปแม้ว่าการวางแผนระยะยายจะตั้งอยู่บนความไม่แน่นอนของสถานการณ์แวดล้อมแต่หลาย ๆ องค์กรก็สามารถช้ากรวางแผนระยะยาวให้เป็นประโยชน์ต่อองค์กรได้เช่นใช้การวางแผนระยะยาวในการพัฒนาทักษะและฝีมือของแรงงานเพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการใช้แรงงานในอนาคตผู้บริหารบริษัทซีรอกซ์ใช้พบว่ามีารวางแผนระยะยาวสำหรับการสร้างสรรค์สายผลิตภัณฑ์ใหม่ที่จะสนับสนุนเป้าหมายกลยทุธ์ขององค์กรในการสร้างความเป็นหนึ่งของโลกในธุรกิจกระบวนการเอกสารและวางแผนใช้เวลาถึง 10 ปีในการพัฒนาด้านการตลาดของเทคโนโลยีด้านเอกสารและใสการสร้างสรรค์เครื่องจักรคอมพิวเตอร์ดิจิตอลแบบตั้งโต๊ะเพื่อใช้งานด้านเอกสารสำเนามี่มีความเร็วสูงและมีคุณภาพสูง 2.2 การวางแผนระยะปานกลาง (ช่วงกลางวาง) การวางแผนระยะปานกลางจะครอบคลุมเวลาในการดำเนินงานตามแผนตั้งแต่ 1 ปีถึง 5 ปีแผนระยะปานกลางจึงทำหน้าที่เป็นสื่อกลางประสานระหว่างแผนระยะยาวกับแผนระยะสั้นเพื่อให้การปฏิบัติงานภายในองค์กรเป็นไปตามยุทธวิธีและเป้าหมายยุทธวิธีที่วางไว้บางครั้งองค์กรธุรกิจบางแห่งอาจรวมเอาการวางแผนระยะสั้นและการวางแผนระยะปานกลางเข้าด้วยกันโดยมีเป้าหมายในการทำกำไรขององค์การเป็นหลักหรือาจใช้วิธีวางแผนะรยะปานกลางเพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาหรือสำหรับการขยายกิจการและขยายกำลังการผลิตโดยใช้ช่วงเวลา 1 ปีถึง 5 ปีเป็นเกณฑ์ 2.3 การวางแผนระยะสั้น (สั้นช่วงวางแผน) เป็นการวางแผนเพื่อให้ครอบคลุมและเป็นไปตามเป้าหมายปฏิบัติการหรือแผนปฏิบัติการที่วางไว้โดยปกติแผนระยะสั้นจะต้องสอดคล้องและเป็นไปในทิศทางเดียวกันกับแผนระยะยาวระยะเวลาสำหรับการวางแผนระยะสั้นมักเป็นช่วงเวลาของการดำเนินงานในปัจจุบันซึ่งถือเอาช่วงเวลาภายในเวลา 1 ปีเป็นเกณฑ์แผนระยะสั้นจะช่วยให้การบริหารการปฏิบัติงานประจำวันเป็นไปด้วยความราบรื่นเรียบร้อย3. การจำแนกประเภทของการาวางแผนตามหน้าที่ดำเนินงาน (การวางแผนทำงาน) การวางแผนโดยจำแนกตามหน้าที่ดำเนินงานสามารถจำแนกแผนออกได้เป็น 5 สิ่งได้แก่ (แผนหลัก) 3.1 แผนแม่บทเป็นแผนที่เกิดจากการรวมแผนทั้งหมดภายในองค์กรเข้าไวด้วยกันเพื่อให้เห็นถึงโครงสร้างโดยรวมของการปฏิบัติงานภายในองค์กรและใช้เป็นแม่แบบในการวางแผนระดับรองลงไปของกิจการ แผนหน้าที่ 3.2 (แผนงาน) เป็นแผนที่ถูกวางขึ้นเพื่อเฉพาะเจาะจงใช้กับกลุ่มงานแผนปฏิบัติงานจะเป็นแผนย่อยที่อยู่ในแผนใหญ่ที่เรียกว่าแผนแม่บทแผนปฏิบัติงานจะช่วยให้ผู้ปฏิบัติทราบว่าหน่วยงานจะต้องทำอะไรทำอย่างไรและทำเพื่ออะไรตลอดจนแสดงเป้าหมายสุดท้ายที่คาดหวังเมื่อปฏิบัติตามแผนทุกอย่างหมดแล้วการจำแนกการวางแผนตามหน้าที่นี้สามารถจำแนกแผนย่อยออกได้เป็นแผนด้านบุคลากรแผนด้านการผลิตแผนด้านการตลาดและแผนด้านการเงิน 3.2.1 การวางแผนด้านบุคคล (วางแผนทรัพยากรมนุษย์) เป็นการคาดคะเนความต้องการใช้บุคลากรซึ่งถือเป็นทรัพยากรมนุษย์ที่มีค่าขององค์กรธุรกิจเพื่อให้มีความเหมาะสมสอดคล้องระหว่างบุคลากรและงานขององค์กรทั้งในปัจจุบันและในอนาคต 3.2.2 การวางแผนด้านการผลิต (วางแผนการผลิต) คือกระบวนการในการกำหนดชนิดและปริมาณของทรัพยากรที่จำเป็นต้องใช้เพี่อการผลิตโดยมีเป้าหมายเพื่อให้เกิดการสูญเสียทรัพยากรกำลังผลิตแรงงานที่ใช้และเวลาในการผลิตให้น้อยที่สุดแต่ก่อให้เกิดประสิทธิผลดีที่สุดตามเป้าหมายที่วางไว้
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
2.1 การวางแผนระยะยาว (การวางแผนระยะยาว) การวางแผนระยะยายจะคำนึงถึงอนาคตข้างหน้าไม่ต่ำกว่า 5 ปีขึ้นไป แต่หลาย ๆ เช่น และวางแผนใช้เวลาถึง 10 จักรคอมพิวเตอร์ดิจิตอลแบบตั้งโต๊ะ
การวางแผนระยะปานกลาง (ระดับช่วง Planning) การวางแผนระยะปานกลาง 1 ปีถึง 5 ปี สั้น และเป้าหมายยุทธวิธีที่วางไว้บางครั้งองค์กรธุรกิจบางแห่ง โดยมีเป้าหมายในการทำกำไรขององค์การเป็นหลัก กิจการและขยายกำลังการผลิตโดยใช้ช่วงเวลา 1 ปีถึง 5 ปีเป็นเกณฑ์
2.3 การวางแผนระยะสั้น (การวางแผนระยะสั้น) ปฏิบัติการที่วางไว้โดยปกติ ซึ่งถือเอาช่วงเวลาภายในเวลา 1 ปีเป็นเกณฑ์ เรียบร้อย
3 (ฟังก์ชั่นการวางแผน) สามารถจำแนกแผนออกได้เป็น 5 ชนิด ได้แก่
3.1 แผนแม่บท (Master Plan) เพื่อให้เห็นถึงโครงสร้างโดยรวมของการปฏิบัติงานภายในองค์กร
แผนหน้าที่ (Functional แผน) กลุ่มงาน หน่วยงานจะต้องทำอะไรทำอย่างไรและทำเพื่ออะไรตลอดจนแสดงเป้าหมายสุดท้ายที่คาดหวัง
แผนด้านการผลิตแผนด้านการตลาดและแผนด้านการเงิน
3.2.1 การวางแผนด้านบุคคล (Human Resource Planning) และในอนาคต
3.2.2 การวางแผนด้านการผลิต (Production Planning) คือ กำลังผลิตแรงงานที่ใช้และเวลาในการผลิตให้น้อยที่สุด
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
2 .1 การวางแผนระยะยาว ( ยาวการวางแผนช่วง ) เป็นการวางแผนในระดับกลยุทธ์โดยมีเป้าหมายเพื่อเชื่อมโยงการบริหารและการปฏิบัติการภายในองค์กรเข้ากับสภาวะแวดล้อมปกติการวางแผนระยะยายจะคำนึงถึงอนาคตข้างหน้าไม่ต่ำกว่า 5แม้ว่าการวางแผนระยะยายจะตั้งอยู่บนความไม่แน่นอนของสถานการณ์แวดล้อมแต่หลายๆองค์กรก็สามารถช้ากรวางแผนระยะยาวให้เป็นประโยชน์ต่อองค์กรได้เช่นใช้การวางแผนระยะยาวในการพัฒนาทักษะและฝีมือของแรงงานการวางแผนระยะยาวสำหรับการสร้างสรรค์สายผลิตภัณฑ์ใหม่ที่จะสนับสนุนเป้าหมายกลยทุธ์ขององค์กรในการสร้างความเป็นหนึ่งของโลกในธุรกิจกระบวนการเอกสารและวางแผนใช้เวลาถึง 10จักรคอมพิวเตอร์ดิจิตอลแบบตั้งโต๊ะเพื่อใช้งานด้านเอกสารสำเนามี่มีความเร็วสูงและมีคุณภาพสูง
2 .2 การวางแผนระยะปานกลาง ( กลางวางแผนช่วง ) การวางแผนระยะปานกลางจะครอบคลุมเวลาในการดำเนินงานตามแผนตั้งแต่ 1 . ถึง 5 แผนระยะปานกลางจึงทำหน้าที่เป็นสื่อกลางประสานระหว่างแผนระยะยาวกับแผนระยะสั้น .และเป้าหมายยุทธวิธีที่วางไว้บางครั้งองค์กรธุรกิจบางแห่งอาจรวมเอาการวางแผนระยะสั้นและการวางแผนระยะปานกลางเข้าด้วยกันโดยมีเป้าหมายในการทำกำไรขององค์การเป็นหลักกิจการและขยายกำลังการผลิตโดยใช้ช่วงเวลา 1 ปีถึงปีเป็นเกณฑ์
52 .3 การวางแผนระยะสั้น ( สั้นวางแผนช่วง ) เป็นการวางแผนเพื่อให้ครอบคลุมและเป็นไปตามเป้าหมายปฏิบัติการหรือแผนปฏิบัติการที่วางไว้โดยปกติแผนระยะสั้นจะต้องสอดคล้องและเป็นไปในทิศทางเดียวกันกับแผนระยะยาวซึ่งถือเอาช่วงเวลาภายในเวลา 1 ปีเป็นเกณฑ์แผนระยะสั้นจะช่วยให้การบริหารการปฏิบัติงานประจำวันเป็นไปด้วยความราบรื่นเรียบร้อย
3 . การจำแนกประเภทของการาวางแผนตามหน้าที่ดำเนินงาน ( วางแผนงาน ) การวางแผนโดยจำแนกตามหน้าที่ดำเนินงานสามารถจำแนกแผนออกได้เป็น 5 ชนิดได้แก่
31 แผนแม่บท ( แผน ) เป็นแผนที่เกิดจากการรวมแผนทั้งหมดภายในองค์กรเข้าไวด้วยกันเพื่อให้เห็นถึงโครงสร้างโดยรวมของการปฏิบัติงานภายในองค์กรและใช้เป็นแม่แบบในการวางแผนระดับรองลงไปของกิจการ
32 แผนหน้าที่ ( วางแผนงาน ) เป็นแผนที่ถูกวางขึ้นเพื่อเฉพาะเจาะจงใช้กับกลุ่มงานแผนปฏิบัติงานจะเป็นแผนย่อยที่อยู่ในแผนใหญ่ที่เรียกว่าแผนแม่บทแผนปฏิบัติงานจะช่วยให้ผู้ปฏิบัติทราบว่าหน่วยงานจะต้องทำอะไรและทำเพื่ออะไรตลอดจนแสดงเป้าหมายสุดท้ายที่คาดหวังเมื่อปฏิบัติตามแผนทุกอย่างหมดแล้ว
การจำแนกการวางแผนตามหน้าที่นี้สามารถจำแนกแผนย่อยออกได้เป็นแผนด้านบุคลากรแผนด้านการผลิตแผนด้านการตลาดและแผนด้านการเงิน
3.2 .1 การวางแผนด้านบุคคล ( การบริหารทรัพยากรมนุษย์ ) เป็นการคาดคะเนความต้องการใช้บุคลากรซึ่งถือเป็นทรัพยากรมนุษย์ที่มีค่าขององค์กรธุรกิจเพื่อให้มีความเหมาะสมสอดคล้องระหว่างบุคลากรและงานขององค์กรทั้งในปัจจุบันและในอนาคต
3.2 .2 การวางแผนด้านการผลิต ( การวางแผนการผลิต ) ความกระบวนการในการกำหนดชนิดและปริมาณของทรัพยากรที่จำเป็นต้องใช้เพี่อการผลิตโดยมีเป้าหมายเพื่อให้เกิดการสูญเสียทรัพยากรกำลังผลิตแรงงานที่ใช้แต่ก่อให้เกิดประสิทธิผลดีที่สุดตามเป้าหมายที่วางไว้
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: