การฟื้นฟูศิลปวิทยาการการฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (RENAISSANCE) เกิดในช่วงเวล การแปล - การฟื้นฟูศิลปวิทยาการการฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (RENAISSANCE) เกิดในช่วงเวล ไทย วิธีการพูด

การฟื้นฟูศิลปวิทยาการการฟื้นฟูศิลปว

การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (RENAISSANCE) เกิดในช่วงเวลาระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 14-16 คือ ปลายสมัยกลางถึงต้นสมัยใหม่ ถือว่าเป็นจุดเชื่อมต่อ (TRANSITIONAL PERIOD) ของ ประวัติศาสตร์สองยุค การฟื้นฟูศิลปวิทยาการเริ่มขึ้นที่นครรัฐต่างๆ บนคาบสมุทรอิตาลี ซึ่งมีความ มั่งคั่งและร่ำรวยจากการค้าขาย ต่อมาจึงแพร่หลายไปสู่บริเวณอื่นๆ ในยุโรป
คำว่า RENAISSANCE แปลว่า เกิดใหม่ (REBIRTH) หมายถึง การนำเอาศิลปวิทยาการของ กรีกและโรมันมาศึกษาใหม่ ทำให้ศิลปวิทยาการกรีก-โรมันเจริญรุ่งเรืองอีกครั้งหนึ่ง เป็นสมัยที่ ชาวยุโรปเกิดความกระตือรือร้นสนใจอารยธรรมกรีก-โรมัน จึงถือว่าเป็นยุคเจริญรุ่งเรืองที่ ชาวยุโรปมีสิทธิและเสรีภาพ ช่วงเวลานี้จึงถือว่าเป็นขบวนการขั้นสุดท้ายที่จะปลดปล่อยยุโรปจาก สังคมในยุคกลางที่เคยถูกจำกัดโดยกฏเกณฑ์และข้อบังคับของคริสต์ศาสนาสาเหตุและความเป็นมาของการฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
สาเหตุและความเป็นมาของการฟื้นฟูศิลปวิทยาการ มีดังนี้
1. การขยายตัวทางการค้า ทำให้พ่อค้าชาวยุโรปและบรรดาเจ้าผู้ครองนครในนครรัฐ อิตาลีมีความมั่งคั่งขึ้น เช่น เมืองฟลอเรนซ์ เมืองมิลาน หันมาสนใจศิลปะและวิทยาการความ เจริญในด้านต่างๆ ประกอบกับที่ตั้งของนครรัฐในอิตาลีเป็นศูนย์กลางของจักรวรรดิโรมันตะวันตก มาก่อน ทำให้นักปราชญ์และศิลปินต่างๆ ในอิตาลีจึงให้ความสนใจศิลปะและวิทยาการของโรมัน
2. ความเจริญทางเศรษฐกิจและการเกิดรัฐชาติในปลายยุคกลาง ทำให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงหลายด้าน ทั้งด้านองค์กรทางการเมือง องค์กรทางเศรษฐกิจซึ่งต้องใช้ความรู้ความ สามารถมาบริหารจัดการ แต่การศึกษาแบบเดิมเน้นปรัชญาทางศาสนาและสังคมในระบบฟิวดัล จึงไม่สามารถตอบสนองความต้องการของสังคมได้ ดังนั้นนักปราชญ์สาขาต่างๆ จึงหันมาศึกษา อารยธรรมกรีกและโรมัน เช่น นักกฎหมายศึกษากฎหมายโรมันโบราณเพื่อนำมาใช้พิพากษาคดี ทางการค้า นักรัฐศาสตร์ศึกษาตำราทางการเมือง เพื่อนำมาใช้ในการทูตและความสัมพันธ์ระหว่าง ประเทศ รวมทั้งนักประวัติศาสตร์ นักวิทยาศาสตร์ นักคณิตศาสตร์ ก็ค้นหาความจริงและสนใจ ศึกษาอารยธรรมกรีก-โรมันเช่นกัน เป็นต้น
3. ทัศนคติของชาวยุโรปในช่วงปลายสมัยกลางต่อการดำเนินชีวิตเปลี่ยนแปลงไป จากเดิม จากการที่เคร่งครัดต่อคำสั่งสอนทางคริสต์ศาสนา มุ่งแสวงหาความสุขในโลกหน้า ใฝ่ใจ ที่จะหาทางพ้นจากบาป และปฏิบัติทุกอย่างเพื่อเสริมสร้างกุศลให้แก่ตนเอง ได้เปลี่ยนมาเป็นการ มองโลกในแง่ดี และเบื่อหน่ายกับระเบียบสังคมที่เข้มงวดกวดขันของคริสตจักร รวมทั้งมีอคติต่อ การกระทำมิชอบของพวกพระ จึงหันไปสนใจผลงานสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ ของมนุษยชาติ และเห็น ว่ามนุษย์สามารถพัฒนาชีวิตตนเองให้ดีและมีคุณค่าขึ้นได้ ซึ่งแนวคิดดังกล่าวเป็นที่มาของแนวคิด แบบมนุษยนิยม (HUMANISM) ที่สนใจโลกปัจจุบันมากกว่าหนทางมุ่งหน้าไปสู่สวรรค์ดังเช่นเคย
4. การล่มสลายของจักรวรรดิไบแซนไทน์หรือจักรวรรดิโรมันตะวันออก เพราะถูกพวก มุสลิมเติร์กยึดครองใน ค.ศ. 1453 ทำให้วิทยาการแขนงต่างๆ ที่จักรวรรดิไบแซนไทน์สืบทอดไว้ หลั่งไหลคืนสู่ยุโรปตะวันตก
ความเจริญในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการเป็นการศึกษาอารยธรรมกรีก-โรมัน ทั้งด้านวรรณกรรม ประวัติศาสตร์ ศิลปกรรม และวิทยาการด้านต่างๆ โดยให้ความสำคัญของมนุษย์กับการดำเนิน- ชีวิตในโลกปัจจุบัน ที่เรียกว่า มนุษยนิยม (HUMANISM) โดยผู้ที่มีความคิดความเชื่อเช่นนี้เรียก ตนเองว่า นักมนุษยนิยม (HUMANISTS) ซึ่งได้พยายามปลดเปลื้องตนเองจากการครอบงำของ คริสตจักรและระบบฟิวดัล ลักษณะที่ให้ความสำคัญของความเจริญในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการ คือ ถึงแม้จะเป็นความสนใจศึกษาความรู้จากอารยธรรมกรีก-โรมัน แต่มิใช่การลอกเลียนแบบ จุดมุ่งหมายสำคัญ คือ การศึกษาความรู้เพื่อประโยชน์ต่อสังคมและสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ ขึ้นมา ผลงานสำคัญ ได้แก่
1. วรรณคดีประเภทคลาสสิก นักมนุษยนิยมที่กระตุ้น จินตนาการของชาวยุโรปให้มาสนใจงานวรรณคดีและปรัชญา ได้รับการ ยกย่องว่าเป็นบิดาแห่งมนุษยนิยม คือ ฟรานเซสโก เพทราร์ก (FRANCESCO PETRARCA : ค.ศ. 1304-1374) ชาวอิตาลี ผู้ซึ่งชี้ความ งดงามของภาษาละตินและการใช้ภาษาละตินให้ถูกต้อง ผู้ที่สนใจและ นิยมงานเขียนวรรณคดีประเภทคลาสสิกจะค้นคว้าศึกษางานของ ปราชญ์สมัยโรมันตามห้องสมุดของวัดและโบสถ์วิหารในยุโรป แล้วนำ มาคัดลอกรวมทั้งนำวรรณคดีและแนวคิดของปรัชญากรีกมาแปลเป็น ภาษาละตินเผยแพร่ทั่วไป นอกจากนี้ยังมีผลงานของนิคโคโล มา- เคียเวลลี (NICCOLO MACHIAVELLI : ค.ศ. 1469-1527) เรื่องเจ้าผู้ครอง นคร (THE PRINCE) กล่าวถึงลักษณะการเป็นผู้ปกครองรัฐที่ดี และ เซอร์ธอมัส มอร์ (SIR THOMAS MORE : ค.ศ. 1478-1536) เขียนเรื่อง ยูโทเปีย (UTOPIA) กล่าวถึงเมืองในอุดมคติที่ปราศจากความเลวร้าย ซึ่งผลงานของนักมนุษยนิยมเหล่านี้นำไปสู่การต่อต้านการปกครองและ วิธีปฏิบัติของคริสตจักรที่ขัดต่อคัมภีร์ไบเบิล ซึ่งส่งผลทำให้เกิดการ ปฏิรูปศาสนาขึ้นใน ค.ศ. 1517 ส่วนงานวรรณกรรมที่เป็นบทละคร นักประพันธ์ที่สำคัญ คือ วิลเลียม เช็กสเปียร์ (WILLIAM SHAKESPEARE: ค.ศ. 1564-1616) ซึ่งเขียนบทละครที่มีชื่อเสียง คือ โรมิโอและ จูเลียต (ROMEO AND JULIET) และเวนิสวาณิช (THE MARCHANT OF VENICE)
2. ศิลปกรรม ในยุคกลางศิลปกรรมเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับคริสต์ศาสนาโดยเฉพาะ ทำให้ ไม่สามารถถ่ายทอดจินตนาการอย่างเสรีได้ ผลงานส่วนใหญ่จึงขาดชีวิตชีวา แต่ศิลปกรรมในสมัย ฟื้นฟูศิลปวิทยานิยมงานศิลปะของกรีก-โรมันที่เป็นธรรมชาติ จึงให้ความสนใจความสวยงามใน สรีระของมนุษย์ มิติของภาพ สี และแสงในงานประติมากรรมและจิตรกรรมให้สมจริง สมดุล และกลมกลืนสอดคล้องมากขึ้น ศิลปินที่สำคัญ เช่น
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการการฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (เรเนซองส์) 14-16 เกิดในช่วงเวลาระหว่างคริสต์ศตวรรษที่คือปลายสมัยกลางถึงต้นสมัยใหม่ถือว่าเป็นจุดเชื่อมต่อ (อีกรายการระยะ) นั้น ๆ ประวัติศาสตร์สองยุคการฟื้นฟูศิลปวิทยาการเริ่มขึ้นที่นครรัฐต่าง ๆ บนคาบสมุทรอิตาลีซึ่งมีความมั่งคั่งและร่ำรวยจากการค้าขายต่อมาจึงแพร่หลายไปสู่บริเวณอื่น ๆ ในยุโรปคำว่าเรอเนสซองซ์แปลว่าเกิดใหม่ (เกิดใหม่) หมายถึงการนำเอาศิลปวิทยาการของกรีกและโรมันมาศึกษาใหม่ทำให้ศิลปวิทยาการกรีกโรมันเจริญรุ่งเรืองอีกครั้งหนึ่งเป็นสมัยที่ชาวยุโรปเกิดความกระตือรือร้นสนใจอารยธรรมกรีกโรมันจึงถือว่าเป็นยุคเจริญรุ่งเรืองที่ชาวยุโรปมีสิทธิและเสรีภาพช่วงเวลานี้จึงถือว่าเป็นขบวนการขั้นสุดท้ายที่จะปลดปล่อยยุโรปจากสังคมในยุคกลางที่เคยถูกจำกัดโดยกฏเกณฑ์และข้อบังคับของคริสต์ศาสนาสาเหตุและความเป็นมาของการฟื้นฟูศิลปวิทยาการสาเหตุและความเป็นมาของการฟื้นฟูศิลปวิทยาการมีดังนี้1. การขยายตัวทางการค้าทำให้พ่อค้าชาวยุโรปและบรรดาเจ้าผู้ครองนครในนครรัฐอิตาลีมีความมั่งคั่งขึ้นเช่นเมืองฟลอเรนซ์เมืองมิลานหันมาสนใจศิลปะและวิทยาการความเจริญในด้านต่าง ๆ ประกอบกับที่ตั้งของนครรัฐในอิตาลีเป็นศูนย์กลางของจักรวรรดิโรมันตะวันตกมาก่อนทำให้นักปราชญ์และศิลปินต่าง ๆ ในอิตาลีจึงให้ความสนใจศิลปะและวิทยาการของโรมัน2. ความเจริญทางเศรษฐกิจและการเกิดรัฐชาติในปลายยุคกลางทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงหลายด้านทั้งด้านองค์กรทางการเมืององค์กรทางเศรษฐกิจซึ่งต้องใช้ความรู้ความสามารถมาบริหารจัดการแต่การศึกษาแบบเดิมเน้นปรัชญาทางศาสนาและสังคมในระบบฟิวดัลจึงไม่สามารถตอบสนองความต้องการของสังคมได้ดังนั้นนักปราชญ์สาขาต่าง ๆ จึงหันมาศึกษาอารยธรรมกรีกและโรมันเช่นนักกฎหมายศึกษากฎหมายโรมันโบราณเพื่อนำมาใช้พิพากษาคดีทางการค้านักรัฐศาสตร์ศึกษาตำราทางการเมืองเพื่อนำมาใช้ในการทูตและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศรวมทั้งนักประวัติศาสตร์นักวิทยาศาสตร์นักคณิตศาสตร์ก็ค้นหาความจริงและสนใจศึกษาอารยธรรมกรีกโรมันเช่นกันเป็นต้น3. ทัศนคติของชาวยุโรปในช่วงปลายสมัยกลางต่อการดำเนินชีวิตเปลี่ยนแปลงไป จากเดิม จากการที่เคร่งครัดต่อคำสั่งสอนทางคริสต์ศาสนา มุ่งแสวงหาความสุขในโลกหน้า ใฝ่ใจ ที่จะหาทางพ้นจากบาป และปฏิบัติทุกอย่างเพื่อเสริมสร้างกุศลให้แก่ตนเอง ได้เปลี่ยนมาเป็นการ มองโลกในแง่ดี และเบื่อหน่ายกับระเบียบสังคมที่เข้มงวดกวดขันของคริสตจักร รวมทั้งมีอคติต่อ การกระทำมิชอบของพวกพระ จึงหันไปสนใจผลงานสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ ของมนุษยชาติ และเห็น ว่ามนุษย์สามารถพัฒนาชีวิตตนเองให้ดีและมีคุณค่าขึ้นได้ ซึ่งแนวคิดดังกล่าวเป็นที่มาของแนวคิด แบบมนุษยนิยม (HUMANISM) ที่สนใจโลกปัจจุบันมากกว่าหนทางมุ่งหน้าไปสู่สวรรค์ดังเช่นเคย4. การล่มสลายของจักรวรรดิไบแซนไทน์หรือจักรวรรดิโรมันตะวันออกเพราะถูกพวกมุสลิมเติร์กยึดครองในค.ศ. 1453 ทำให้วิทยาการแขนงต่าง ๆ ที่จักรวรรดิไบแซนไทน์สืบทอดไว้หลั่งไหลคืนสู่ยุโรปตะวันตกความเจริญในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการการฟื้นฟูศิลปวิทยาการเป็นการศึกษาอารยธรรมกรีก-โรมัน ทั้งด้านวรรณกรรม ประวัติศาสตร์ ศิลปกรรม และวิทยาการด้านต่างๆ โดยให้ความสำคัญของมนุษย์กับการดำเนิน- ชีวิตในโลกปัจจุบัน ที่เรียกว่า มนุษยนิยม (HUMANISM) โดยผู้ที่มีความคิดความเชื่อเช่นนี้เรียก ตนเองว่า นักมนุษยนิยม (HUMANISTS) ซึ่งได้พยายามปลดเปลื้องตนเองจากการครอบงำของ คริสตจักรและระบบฟิวดัล ลักษณะที่ให้ความสำคัญของความเจริญในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการ คือ ถึงแม้จะเป็นความสนใจศึกษาความรู้จากอารยธรรมกรีก-โรมัน แต่มิใช่การลอกเลียนแบบ จุดมุ่งหมายสำคัญ คือ การศึกษาความรู้เพื่อประโยชน์ต่อสังคมและสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ ขึ้นมา ผลงานสำคัญ ได้แก่1. วรรณคดีประเภทคลาสสิก นักมนุษยนิยมที่กระตุ้น จินตนาการของชาวยุโรปให้มาสนใจงานวรรณคดีและปรัชญา ได้รับการ ยกย่องว่าเป็นบิดาแห่งมนุษยนิยม คือ ฟรานเซสโก เพทราร์ก (FRANCESCO PETRARCA : ค.ศ. 1304-1374) ชาวอิตาลี ผู้ซึ่งชี้ความ งดงามของภาษาละตินและการใช้ภาษาละตินให้ถูกต้อง ผู้ที่สนใจและ นิยมงานเขียนวรรณคดีประเภทคลาสสิกจะค้นคว้าศึกษางานของ ปราชญ์สมัยโรมันตามห้องสมุดของวัดและโบสถ์วิหารในยุโรป แล้วนำ มาคัดลอกรวมทั้งนำวรรณคดีและแนวคิดของปรัชญากรีกมาแปลเป็น ภาษาละตินเผยแพร่ทั่วไป นอกจากนี้ยังมีผลงานของนิคโคโล มา- เคียเวลลี (NICCOLO MACHIAVELLI : ค.ศ. 1469-1527) เรื่องเจ้าผู้ครอง นคร (THE PRINCE) กล่าวถึงลักษณะการเป็นผู้ปกครองรัฐที่ดี และ เซอร์ธอมัส มอร์ (SIR THOMAS MORE : ค.ศ. 1478-1536) เขียนเรื่อง ยูโทเปีย (UTOPIA) กล่าวถึงเมืองในอุดมคติที่ปราศจากความเลวร้าย ซึ่งผลงานของนักมนุษยนิยมเหล่านี้นำไปสู่การต่อต้านการปกครองและ วิธีปฏิบัติของคริสตจักรที่ขัดต่อคัมภีร์ไบเบิล ซึ่งส่งผลทำให้เกิดการ ปฏิรูปศาสนาขึ้นใน ค.ศ. 1517 ส่วนงานวรรณกรรมที่เป็นบทละคร นักประพันธ์ที่สำคัญ คือ วิลเลียม เช็กสเปียร์ (WILLIAM SHAKESPEARE: ค.ศ. 1564-1616) ซึ่งเขียนบทละครที่มีชื่อเสียง คือ โรมิโอและ จูเลียต (ROMEO AND JULIET) และเวนิสวาณิช (THE MARCHANT OF VENICE)2. ศิลปกรรมในยุคกลางศิลปกรรมเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับคริสต์ศาสนาโดยเฉพาะทำให้ไม่สามารถถ่ายทอดจินตนาการอย่างเสรีได้ผลงานส่วนใหญ่จึงขาดชีวิตชีวาแต่ศิลปกรรมในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยานิยมงานศิลปะของกรีกโรมันที่เป็นธรรมชาติจึงให้ความสนใจความสวยงามในสรีระของมนุษย์มิติของภาพสีและแสงในงานประติมากรรมและจิตรกรรมให้สมจริงสมดุลและกลมกลืนสอดคล้องมากขึ้นศิลปินที่สำคัญเช่น
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!

(RENAISSANCE) วันที่ 14-16 คือปลายสมัยกลางถึงต้นสมัยใหม่ถือว่าเป็นจุดเชื่อมต่อ (ช่วงเวลา) ของประวัติศาสตร์สองยุค คาบสมุทรอิตาลีบนซึ่งมีความมั่งคั่งและร่ำรวยจากเนชั่หัวเรื่อง: การค้าขายต่อมาจึงแพร่หลายไปสู่บริเวณอื่น ๆ
ในยุโรปคำว่าได้RENAISSANCE แปลว่าเกิดใหม่ (REBIRTH) หมายถึงการนำเอาศิลปวิทยาการของกรีกและโรมันมาศึกษาใหม่ เป็นสมัยที่ จึงถือว่าเป็นยุคเจริญรุ่งเรืองที่ชาวยุโรปมีสิทธิและเสรีภาพ
มีดังนี้
1 การขยายตัวทางการค้า อิตาลีมีความมั่งคั่งขึ้นเช่นเมืองฟลอเรนซ์เมืองมิลานหันมาสนใจศิลปะและวิทยาการความเจริญในด้านต่างๆ มาก่อนทำให้นักปราชญ์และศิลปินต่างๆ
ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงหลายด้านทั้งด้านองค์กรทางการเมือง สามารถมาบริหารจัดการ ดังนั้นนักปราชญ์สาขาต่างๆจึงหันมาศึกษาอารยธรรมกรีกและโรมันเช่น ทางการค้านักรัฐศาสตร์ศึกษาตำราทางการเมือง ประเทศรวมทั้งนักประวัติศาสตร์นักวิทยาศาสตร์นักคณิตศาสตร์ก็ค้นหาความจริงและสนใจศึกษาอารยธรรมกรีก - โรมันเช่นกันเป็นต้น
3 จากเดิม มุ่งแสวงหาความสุขในโลกหน้าใฝ่ใจที่จะหาทางพ้นจากบาป ได้เปลี่ยนมาเป็นการมองโลกในแง่ดี รวมทั้งมีอคติต่อการกระทำมิชอบของพวกพระ ของมนุษยชาติและเห็น แบบมนุษยนิยม (มนุษย์)
เพราะถูกพวกมุสลิมเติร์กยึดครองใน ค.ศ. 1453 ทำให้วิทยาการแขนงต่างๆที่จักรวรรดิไบแซนไทน์สืบทอดไว้ ทั้งด้านวรรณกรรมประวัติศาสตร์ศิลปกรรมและวิทยาการด้านต่างๆ ชีวิตในโลกปัจจุบันที่เรียกว่ามนุษยนิยม (มนุษย์) ตนเองว่านักมนุษยนิยม (มานุษยวิทยา) คริสตจักรและระบบฟิวดัล คือ แต่มิใช่การลอกเลียนแบบจุดมุ่งหมายสำคัญคือ ขึ้นมาผลงานสำคัญ ได้แก่1 วรรณคดีประเภทคลาสสิกนักมนุษยนิยมที่กระตุ้น ได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาแห่งมนุษยนิยมคือฟรานเซสโกเพทราร์ก (FRANCESCO Petrarca: ค.ศ. 1304-1374) ชาวอิตาลีผู้ซึ่งชี้ความ ผู้ที่สนใจและ แล้วนำ ภาษาละตินเผยแพร่ทั่วไปนอกจากนี้ยังมีผลงานของนิคโคโลมา - เคียเวลลี (Niccolo Machiavelli: ค.ศ. 1469-1527) เรื่องเจ้าผู้ครองนคร (THE PRINCE) และเซอร์ ธ อมัสมอร์ (เซอร์โทมัสเพิ่มเติม: ค.ศ. 1478-1536) เขียนเรื่องยูโทเปีย (ยูโทเปีย) ซึ่งส่งผลทำให้เกิดการปฏิรูปศาสนาขึ้นใน ค.ศ. 1517 ส่วนงานวรรณกรรมที่เป็นบทละครนักประพันธ์ที่สำคัญคือวิลเลียมเช็กสเปียร์ (William Shakespeare: ค.ศ. 1564-1616) ซึ่งเขียนบทละครที่มีชื่อเสียงคือโรมิโอและจูเลียต (ROMEO และจูเลียต) และเวนิสวาณิช (THE Marchant เวนิส) 2 ศิลปกรรม ทำให้ ผลงานส่วนใหญ่จึงขาดชีวิตชีวา แต่ศิลปกรรมในสมัย จึงให้ความสนใจความสวยงามในสรีระของมนุษย์มิติของภาพสี สมดุลและกลมกลืนสอดคล้องมากขึ้นศิลปินที่สำคัญเช่น




การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ ( Renaissance ) เกิดในช่วงเวลาระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 14-16 ความปลายสมัยกลางถึงต้นสมัยใหม่ถือว่าเป็นจุดเชื่อมต่อ ( ช่วงเปลี่ยนของประวัติศาสตร์สองยุคการฟื้นฟูศิลปวิทยาการเริ่มขึ้นที่นครรัฐต่างๆ )ซึ่งมีความมั่งคั่งและร่ำรวยจากการค้าขายต่อมาจึงแพร่หลายไปสู่บริเวณอื่นๆในยุโรป
คำว่า Renaissance แปลว่าเกิดใหม่ ( การเกิดใหม่ ) หมายถึงการนำเอาศิลปวิทยาการของกรีกและโรมันมาศึกษาใหม่ทำให้ศิลปวิทยาการกรีก - โรมันเจริญรุ่งเรืองอีกครั้งหนึ่งเป็นสมัยที่จึงถือว่าเป็นยุคเจริญรุ่งเรืองที่ชาวยุโรปมีสิทธิและเสรีภาพช่วงเวลานี้จึงถือว่าเป็นขบวนการขั้นสุดท้ายที่จะปลดปล่อยยุโรปจากสาเหตุและความเป็นมาของการฟื้นฟูศิลปวิทยาการมีดังนี้
1การขยายตัวทางการค้าทำให้พ่อค้าชาวยุโรปและบรรดาเจ้าผู้ครองนครในนครรัฐอิตาลีมีความมั่งคั่งขึ้นเช่นเมืองฟลอเรนซ์เมืองมิลานหันมาสนใจศิลปะและวิทยาการความเจริญในด้านต่างๆมาก่อนทำให้นักปราชญ์และศิลปินต่างๆในอิตาลีจึงให้ความสนใจศิลปะและวิทยาการของโรมัน
2 .ความเจริญทางเศรษฐกิจและการเกิดรัฐชาติในปลายยุคกลางทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงหลายด้านทั้งด้านองค์กรทางการเมืององค์กรทางเศรษฐกิจซึ่งต้องใช้ความรู้ความสามารถมาบริหารจัดการจึงไม่สามารถตอบสนองความต้องการของสังคมได้ดังนั้นนักปราชญ์สาขาต่างๆจึงหันมาศึกษาอารยธรรมกรีกและโรมันเช่นนักกฎหมายศึกษากฎหมายโรมันโบราณเพื่อนำมาใช้พิพากษาคดีทางการค้า
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: