ประเภทของสื่อการสอน สื่อการสอนเป็นเสมือนสะพานเชื่อมระหว่างครูผู้สอนและ การแปล - ประเภทของสื่อการสอน สื่อการสอนเป็นเสมือนสะพานเชื่อมระหว่างครูผู้สอนและ ไทย วิธีการพูด

ประเภทของสื่อการสอน สื่อการสอนเป็นเ

ประเภทของสื่อการสอน

สื่อการสอนเป็นเสมือนสะพานเชื่อมระหว่างครูผู้สอนและเนื้อหาที่ครูเตรียม เพื่อถ่ายทอดไปสู่ตัวผู้เรียน หากองค์ประกอบของสื่อการสอนขาดไปก็ไม่มีช่องทางใดเลยจะถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียนได้ ฉะนั้นหากจะถามว่า “สื่อการสอนมีอะไรบ้าง” ก็ตอบได้ว่า “ทุกๆสิ่งทุกๆ อย่างที่จะนำความรู้และประสบการณ์จากครูไปสู่ผู้เรียน”จะเห็นว่าสื่อการสอนมีมากมาย โดยสรุปแล้วสื่อการสอนเป็นความหมายครอบคลุมถึง “วัสดุ อุปกรณ์และวิธีการ”
วัสดุ ได้แก่ สื่อที่ผลิตขึ้นโดยใช้วัสดุต่าง ๆ เช่น รูปภาพ แผนภูมิ
อุปกรณ์ ได้แก่ บรรดาเครื่องมือ อุปกรณ์สำเร็จรูป ทั้งที่สามารถใช้ได้ด้วยตัวของอุปกรณ์นั้นๆ เอง เช่น สื่อของจริง หุ่นจำลอง และสื่อที่ต้องใช้ร่วมกับวัสดุ เช่น สไลด์ วีดิทัศน์ ซีดี-รอม หุ่นจำลองบางชนิด เป็นต้น
วิธีการ ได้แก่ สิ่งที่ใช้เทคนิคเป็นพิเศษเฉพาะ เช่น การจัดกิจกรรมต่าง ๆ เกมการศึกษา ศูนย์การเรียน การทดลองทัศนศึกษา สถานการณ์จำลอง แหล่งความรู้ชุมชน เป็นต้น
การจัดประเภทของสื่อการสอนอีกลักษณะหนึ่งเน้นพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยถือว่าสิ่งใดๆ ก็ตามที่สามารถถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียน ไม่ว่าจะเป็นโดยทางตรง หรือทางอ้อมก็ตาม ถือได้ว่าสื่อเป็นแหล่งรวมของความรู้ แหล่งความรู้ มี 4 ลักษณะ ได้แก่
1. แหล่งความรู้ที่เกิดจากครูผู้สอน โดยยึดเอาครูผู้สอนเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้โดยตรง ให้แก่ผู้เรียน ซึ่งจะโดยวิธีการใดก็ตาม การยึดเอาผู้สอนเป็นศูนย์กลางว่าเป็นสื่อ เช่นนี้ เพราะมีความเชื่อว่าคนก็เป็นสื่อประเภทหนึ่งที่สามารถแพร่ความรู้ไปสู่ผู้รับสาร สื่อบุคคลจะเป็นสื่อที่มีคุณค่ามากที่สุด เพราะเป็นแหล่งความรู้ที่กว้างขวาง สามารถมีปฏิสัมพันธ์ขณะถ่ายทอดประสบการณ์ และปรับสภาพให้เหมาะสมได้กับทุกสถานการณ์และจัดกิจกรรมการเรียนได้ทุกรูปแบบ และทุก พฤติกรรมอันได้แก่ พุทธพิสัย เจตพิสัย และทักษะพิสัย และที่สำคัญครูเป็นสภาพของมนุษย์มีความรู้สึกมีชีวิตจิตใจ คุณธรรม ซึ่งหาจากสื่ออื่น ๆ ไม่ได้
2. แหล่งความรู้ที่เกิดจากผู้เรียน โดยกำหนดให้ผู้เรียนเป็นแหล่งความรู้ ด้วยความเชื่อที่ว่า “ทุกคนมีความรู้และประสบการณ์” และความรู้ในประสบการณ์ระหว่างผู้เรียนเอง เป็นความรู้ที่มีความเรียบง่าย เข้าใจง่าย และเป็นช่วงของวัยวุฒิที่เหมาะสมตรงตามสภาพที่เป็นจริง และวิธีการหาความรู้เป็นประสบการณ์ตรงของผู้เรียนเอง ซึ่งจะทำให้องค์ประกอบของการเรียนรู้ เช่น ระดับความรู้ ภาษาการสื่อสาร บรรยากาศเป็นไปตามธรรมชาติของการเรียนรู้จริง ซึ่งโดยหลักของการเรียนรู้แล้วถือได้ว่าเป็นการเรียนรู้ที่ได้จรากการกระทำด้วยตนเอง อันจะเป็นผลถึงความเข้าใจ ความคล่องแคล่วและความรู้สึกที่เป็นพฤติกรรมที่ถาวร และเป็นการปลูกฝังให้สามารถหาความรู้ได้ด้วยตนเองตลอดเวลา
3. แหล่งความรู้ที่เกิดจากสื่อเป็นศูนย์กลาง ได้แก่ การใช้สื่อการสอน เป็นตัวกลางการถ่ายทอดความรู้ไปสู่ผู้เรียนโดยทั่วไปจะเป็นสื่อสำเร็จทั้งที่เป็นสื่อระบบและสื่อไม่เป็นระบบ การใช้สื่อเป็นศูนย์กลางเช่นนี้จะช่วยให้ผู้เรียนสามารถเลือกเรียนรู้ได้ตลอดเวลา โดยมีการจัดระบบของการเรียนรู้ไว้ให้ เช่น การอ่านจากตำรา การใช้ห้องสมุด การเรียนด้วยบทเรียนโปรแกรม สไลด์ วีดิทัศน์ ซีดี-รอม ความรู้จากสื่อประเภทนี้ แม้จะเป็นแบบเนื้อหาตายตัว แต่ก็สามารถใช้เรียนรู้และทบทวนได้ตามความต้องการ และการใช้สื่อเป็นศูนย์กลางนี้หากได้มีการออกแบบให้เป็นสื่อประสม (Multi Media) ก็จะส่งเสริม
ให้ได้ใช้ประสาทสัมผัสต่าง ๆ ได้หลายอย่างอีกด้วย อย่างไรก็ตามแม้ว่าจะยอมรับในความสำคัญของแหล่งความรู้ที่เกิดจากสื่อเป็นศูนย์กลางได้ก็จริง แต่ก็มีผู้ให้ข้อสังเกตว่า “สื่ออุปกรณ์ต่าง ๆ ไม่อาจพัฒนาขึ้นสอนแทนคนได้ แต่ต้องให้มีการสอนกันอย่างมีชีวิตชีวา” (ฟิลลิป แจกสัน, 1968)
4. แหล่งความรู้ที่เกิดจากสิ่งแวดล้อม ได้แก่ การนำเอาสภาพแวดล้อมมาเป็นแหล่งความรู้ อันได้แก่ อาคารสถานที่ สวนป่า สวนสาธารณะ ชุมชน องค์ประกอบชุมชน การนำสิ่งแวดล้อมมาเป็นสื่อการสอนประเภทหนึ่งโดยยึดหลักการที่ว่า“ความรู้มีอยู่ทุกหนทุกแห่ง” ถ้าได้มีการพิจารณากันอย่างถ่องแท้ก็จะเข้าใจว่า ธรรมชาติเป็นแหล่งความรู้ที่แท้จริง มีความเป็นจริงในเชิงธรรมะที่เป็นธรรมชาติของสิ่งนั้น ๆ ต้นไม้ให้ความรู้ โครงสร้างของต้นไม้ กิ่ง ใบ ดอก ลำต้น การเจริญเติบโตและแผ่กิ่งก้านสาขาปกคลุมพื้นดินให้ชุ่มชื่นสร้างความร่มรื่นแก่บริเวณใกล้เคียง ข้อความที่ขีดเส้นใต้เมื่อขยายความคิดต่อไปอีกก็คือ ความร่มรื่นนั้นลดอุณหภูมิ อันจะเป็นผลต่อไปถึงการลดใช้พลังงานไฟฟ้าที่จะต้องนำไปใช้กับอุปกรณ์อื่น ๆ เช่น พัดลมและเครื่องปรับอากาศ เป็นต้น บ้านเรือน ชุมชน ที่สาธารณะใช้พลังงานกันทั้งสิ้น
ฉะนั้นถ้าจะต้องศึกษาในเรื่องของพลังงานสามารถออกไปศึกษาสำรวจเก็บข้อมูลต่างๆ ได้หลากหลาย
และเป็นข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Source) และเป็นสื่อที่ครู นักเรียน ไม่ต้องไปผลิตขึ้นมาเพียงแต่ต้องวางแผนจัดกิจกรรม ทัศนศึกษาดูงาน อันเป็นกลุ่มวิธีการของสื่อการสอนอย่างหนึ่งก็สามารถก่อให้เกิดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สื่อประเภทต่างๆ ที่ยกมากล่าวเป็นตัวอย่างข้างต้นนี้ หากจะได้ทำความเข้าใจอย่างชัดเจนแล้ว เชื่อได้ว่าในการเรียนการสอนจริงสาม
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ประเภทของสื่อการสอน สื่อการสอนเป็นเสมือนสะพานเชื่อมระหว่างครูผู้สอนและเนื้อหาที่ครูเตรียมเพื่อถ่ายทอดไปสู่ตัวผู้เรียนหากองค์ประกอบของสื่อการสอนขาดไปก็ไม่มีช่องทางใดเลยจะถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียนได้ฉะนั้นหากจะถามว่า "สื่อการสอนมีอะไรบ้าง" ก็ตอบได้ว่า "ทุกๆสิ่งทุก ๆ อย่างที่จะนำความรู้และประสบการณ์จากครูไปสู่ผู้เรียน" จะเห็นว่าสื่อการสอนมีมากมายโดยสรุปแล้วสื่อการสอนเป็นความหมายครอบคลุมถึง "วัสดุอุปกรณ์และวิธีการ" วัสดุได้แก่สื่อที่ผลิตขึ้นโดยใช้วัสดุต่างๆ เช่นรูปภาพแผนภูมิ อุปกรณ์ได้แก่บรรดาเครื่องมืออุปกรณ์สำเร็จรูปทั้งที่สามารถใช้ได้ด้วยตัวของอุปกรณ์นั้น ๆ เองเช่นสื่อของจริงหุ่นจำลองและสื่อที่ต้องใช้ร่วมกับวัสดุเช่นสไลด์วีดิทัศน์ซีดีรอมหุ่นจำลองบางชนิดเป็นต้น วิธีการได้แก่สิ่งที่ใช้เทคนิคเป็นพิเศษเฉพาะเช่นการจัดกิจกรรมต่างๆ เกมการศึกษาศูนย์การเรียนการทดลองทัศนศึกษาสถานการณ์จำลองแหล่งความรู้ชุมชนเป็นต้น การจัดประเภทของสื่อการสอนอีกลักษณะหนึ่งเน้นพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียนโดยถือว่าสิ่งใด ๆ ก็ตามที่สามารถถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียนไม่ว่าจะเป็นโดยทางตรงหรือทางอ้อมก็ตามถือได้ว่าสื่อเป็นแหล่งรวมของความรู้แหล่งความรู้มี 4 ลักษณะได้แก่ 1. แหล่งความรู้ที่เกิดจากครูผู้สอนโดยยึดเอาครูผู้สอนเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้โดยตรงให้แก่ผู้เรียนซึ่งจะโดยวิธีการใดก็ตามการยึดเอาผู้สอนเป็นศูนย์กลางว่าเป็นสื่อเช่นนี้เพราะมีความเชื่อว่าคนก็เป็นสื่อประเภทหนึ่งที่สามารถแพร่ความรู้ไปสู่ผู้รับสารสื่อบุคคลจะเป็นสื่อที่มีคุณค่ามากที่สุดเพราะเป็นแหล่งความรู้ที่กว้างขวางสามารถมีปฏิสัมพันธ์ขณะถ่ายทอดประสบการณ์และปรับสภาพให้เหมาะสมได้กับทุกสถานการณ์และจัดกิจกรรมการเรียนได้ทุกรูปแบบและทุกพฤติกรรมอันได้แก่พุทธพิสัยเจตพิสัยและทักษะพิสัยและที่สำคัญครูเป็นสภาพของมนุษย์มีความรู้สึกมีชีวิตจิตใจคุณธรรมซึ่งหาจากสื่ออื่นๆ ไม่ได้ 2. แหล่งความรู้ที่เกิดจากผู้เรียนโดยกำหนดให้ผู้เรียนเป็นแหล่งความรู้ด้วยความเชื่อที่ว่า "ทุกคนมีความรู้และประสบการณ์" และความรู้ในประสบการณ์ระหว่างผู้เรียนเองเป็นความรู้ที่มีความเรียบง่ายเข้าใจง่ายและเป็นช่วงของวัยวุฒิที่เหมาะสมตรงตามสภาพที่เป็นจริงและวิธีการหาความรู้เป็นประสบการณ์ตรงของผู้เรียนเองซึ่งจะทำให้องค์ประกอบของการเรียนรู้เช่นระดับความรู้ภาษาการสื่อสารบรรยากาศเป็นไปตามธรรมชาติของการเรียนรู้จริงซึ่งโดยหลักของการเรียนรู้แล้วถือได้ว่าเป็นการเรียนรู้ที่ได้จรากการกระทำด้วยตนเองอันจะเป็นผลถึงความเข้าใจความคล่องแคล่วและความรู้สึกที่เป็นพฤติกรรมที่ถาวรและเป็นการปลูกฝังให้สามารถหาความรู้ได้ด้วยตนเองตลอดเวลา 3. แหล่งความรู้ที่เกิดจากสื่อเป็นศูนย์กลางได้แก่การใช้สื่อการสอนเป็นตัวกลางการถ่ายทอดความรู้ไปสู่ผู้เรียนโดยทั่วไปจะเป็นสื่อสำเร็จทั้งที่เป็นสื่อระบบและสื่อไม่เป็นระบบการใช้สื่อเป็นศูนย์กลางเช่นนี้จะช่วยให้ผู้เรียนสามารถเลือกเรียนรู้ได้ตลอดเวลาโดยมีการจัดระบบของการเรียนรู้ไว้ให้เช่นการอ่านจากตำราการใช้ห้องสมุดการเรียนด้วยบทเรียนโปรแกรมสไลด์วีดิทัศน์ซีดีรอมความรู้จากสื่อประเภทนี้แม้จะเป็นแบบเนื้อหาตายตัวแต่ก็สามารถใช้เรียนรู้และทบทวนได้ตามความต้องการและการใช้สื่อเป็นศูนย์กลางนี้หากได้มีการออกแบบให้เป็นสื่อประสม (มัลติมีเดีย) ก็จะส่งเสริมให้ได้ใช้ประสาทสัมผัสต่างๆ ได้หลายอย่างอีกด้วยอย่างไรก็ตามแม้ว่าจะยอมรับในความสำคัญของแหล่งความรู้ที่เกิดจากสื่อเป็นศูนย์กลางได้ก็จริงแต่ก็มีผู้ให้ข้อสังเกตว่า "สื่ออุปกรณ์ต่างๆ ไม่อาจพัฒนาขึ้นสอนแทนคนได้แต่ต้องให้มีการสอนกันอย่างมีชีวิตชีวา" (ฟิลลิปแจกสัน 1968) 4. แหล่งความรู้ที่เกิดจากสิ่งแวดล้อมได้แก่การนำเอาสภาพแวดล้อมมาเป็นแหล่งความรู้อันได้แก่อาคารสถานที่สวนป่าสวนสาธารณะชุมชนองค์ประกอบชุมชนการนำสิ่งแวดล้อมมาเป็นสื่อการสอนประเภทหนึ่งโดยยึดหลักการที่ว่า "ความรู้มีอยู่ทุกหนทุกแห่ง" ถ้าได้มีการพิจารณากันอย่างถ่องแท้ก็จะเข้าใจว่าธรรมชาติเป็นแหล่งความรู้ที่แท้จริงมีความเป็นจริงในเชิงธรรมะที่เป็นธรรมชาติของสิ่งนั้นๆ ต้นไม้ให้ความรู้โครงสร้างของต้นไม้กิ่งใบดอกลำต้นการเจริญเติบโตและแผ่กิ่งก้านสาขาปกคลุมพื้นดินให้ชุ่มชื่นสร้างความร่มรื่นแก่บริเวณใกล้เคียงข้อความที่ขีดเส้นใต้เมื่อขยายความคิดต่อไปอีกก็คือความร่มรื่นนั้นลดอุณหภูมิอันจะเป็นผลต่อไปถึงการลดใช้พลังงานไฟฟ้าที่จะต้องนำไปใช้กับอุปกรณ์อื่นๆ เช่นพัดลมและเครื่องปรับอากาศเป็นต้นบ้านเรือนชุมชนที่สาธารณะใช้พลังงานกันทั้งสิ้นฉะนั้นถ้าจะต้องศึกษาในเรื่องของพลังงานสามารถออกไปศึกษาสำรวจเก็บข้อมูลต่าง ๆ ได้หลากหลายและเป็นข้อมูลปฐมภูมิ (ต้น) และเป็นสื่อที่ครูนักเรียนไม่ต้องไปผลิตขึ้นมาเพียงแต่ต้องวางแผนจัดกิจกรรมทัศนศึกษาดูงานอันเป็นกลุ่มวิธีการของสื่อการสอนอย่างหนึ่งก็สามารถก่อให้เกิดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สื่อประเภทต่าง ๆ ที่ยกมากล่าวเป็นตัวอย่างข้างต้นนี้หากจะได้ทำความเข้าใจอย่างชัดเจนแล้วเชื่อได้ว่าในการเรียนการสอนจริงสาม
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
เพื่อถ่ายทอดไปสู่ตัวผู้เรียน ฉะนั้นหากจะถามว่า "สื่อการสอนมีอะไรบ้าง" ก็ตอบได้ว่า "ทุกๆสิ่งทุกๆ "วัสดุอุปกรณ์และวิธีการ" วัสดุ ได้แก่ สื่อที่ผลิตขึ้นโดยใช้วัสดุต่าง ๆ เช่นรูปภาพแผนภูมิอุปกรณ์ ได้แก่ บรรดาเครื่องมืออุปกรณ์สำเร็จรูป เองเช่นสื่อของจริงหุ่นจำลองและ สื่อที่ต้องใช้ร่วมกับวัสดุเช่นสไลด์วีดิทัศน์ซีดี - รอมหุ่นจำลองบางชนิดเป็นต้นวิธีหัวเรื่อง: การ ได้แก่ สิ่งที่ใช้เทคนิคเป็นพิเศษเฉพาะเช่นหัวเรื่อง: การจัดกิจกรรมต่าง ๆ เกมหัวเรื่อง: การศึกษาเป็นศูนย์หัวเรื่อง: การเรียน การทดลองทัศนศึกษาสถานการณ์จำลองแหล่งความรู้ ชุมชน โดยถือว่าสิ่งใด ๆ ไม่ว่าจะเป็นโดยทางตรงหรือ ทางอ้อมก็ตาม แหล่งความรู้มี 4 ลักษณะ ได้แก่1 แหล่งความรู้ที่เกิดจากครูผู้ สอน ให้แก่ผู้เรียนซึ่งจะโดยวิธี การใดก็ตาม เช่นนี้ เพราะเป็นแหล่งความรู้ที่กว้างขวาง และทุกพฤติกรรมอัน ได้แก่ พุทธพิสัยเจต พิสัยและทักษะพิสัย คุณธรรมซึ่งหาจากสื่ออื่น ๆ ไม่ ได้ 2 แหล่งความรู้ที่เกิดจากผู้เรียน ด้วยความเชื่อที่ว่า "ทุกคนมีความรู้และประสบการณ์" เป็นความรู้ที่มีความเรียบง่าย เข้าใจง่าย เช่นระดับความรู้ภาษาการสื่อสาร อันจะเป็นผลถึงความเข้าใจ ได้แก่ การใช้สื่อการสอน เช่นการอ่านจากตำราการใช้ห้องสมุด การเรียนด้วยบทเรียนโปรแกรมสไลด์วีดิทัศน์ซีดี - รอมความรู้จากสื่อประเภทนี้แม้ จะเป็นแบบเนื้อหาตายตัว (Multi Media) ๆ ได้หลายอย่างอีกด้วย แต่ก็มีผู้ให้ข้อสังเกตว่า "สื่ออุปกรณ์ต่าง ๆ ไม่อาจพัฒนาขึ้น สอนแทนคนได้ (ฟิลลิปแจกสัน, 1968) 4 แหล่งความรู้ที่เกิดจากสิ่งแวดล้อม ได้แก่ อัน ได้แก่ อาคารสถานที่สวนป่าสวน สาธารณะชุมชนองค์ประกอบชุมชน ๆ ต้นไม้ให้ความรู้โครงสร้างของต้นไม้ กิ่งใบดอกลำต้น ความร่มรื่นนั้นลดอุณหภูมิ ๆ เช่นพัดลมและเครื่องปรับอากาศเป็นต้นบ้านเรือน ชุมชน หลากหลายได้และเป็น Thailand ข้อมูลคุณปฐมภูมิ (แหล่งที่มาหลัก) และเป็นสื่อที่ครูนักเรียน ทัศนศึกษาดูงาน













การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2025 I Love Translation. All reserved.

E-mail: