สมบัติของสารละลายกรด - เบส  สารละลายต่าง ๆ ที่ใช้ในชีวิตประจำวันแต่ละช การแปล - สมบัติของสารละลายกรด - เบส  สารละลายต่าง ๆ ที่ใช้ในชีวิตประจำวันแต่ละช ฟินแลนด์ วิธีการพูด

สมบัติของสารละลายกรด - เบส สารละลา

สมบัติของสารละลายกรด - เบส
สารละลายต่าง ๆ ที่ใช้ในชีวิตประจำวันแต่ละชนิดจะมีสมบัติแตกต่างกัน มีทั้งชนิดที่มีฤทธิ์กัดกร่อนหรือที่เรียกว่า มีสมบัติเป็นกรด และชนิดที่มีสมบัติเป็นเบส สารบางชนิดเป็นอันตราย แต่บางชนิดสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้ สมบัติของสารละลายกรด-เบส จึงเป็นเกณฑ์อีกประเภทหนึ่งที่นักวิทยาศาสตร์นำมาใช้ในการจำแนกประเภทของสาร
สารละลายกรด
กรด หมายถึง สารประกอบที่มีธาตุไฮโดรเจนเป็นองค์ประกอบ เมื่อละลายน้ำแล้วสามารถแตกตัวให้ไฮโดรเจนไอออน ( H+ )
สมบัติของสารละลายกรด
1. กรดทุกชนิดมีรสเปรี้ยว
2. เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีน้ำเงินเป็นสีแดง (มีค่า pH น้อยกว่า 7)
3. ทำปฏิกิริยากับโลหะ เช่น สังกะสี ทองแดง แมกนีเซียม อะลูมิเนียม จะได้ฟองแก๊สไฮโดรเจนออกมา
4. กรดมีสมบัติกัดกร่อนโลหะ หินปูน เนื้อเยื่อของร่างกาย
5. กรดทำปฏิกิริยากับหินปูนซึ่งเป็นสารประกอบของแคลเซียมคาร์บอเนต จะได้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
6. สารละลายกรดทุกชนิดนำไฟฟ้าได้ดี
7. ทำปฏิกิริยากับเบสได้เกลือและน้ำ
ประเภทของสารละลายกรด
สารละลายกรดแบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่
1. กรดอินทรีย์ (Organic acid) เป็นกรดที่ได้จากธรรมชาติ จากสิ่งมีชีวิต เช่น
- กรดแอซิติก (acetic acid) หรือกรดน้ำส้ม ได้จากการหมักแป้งหรือน้ำตาลโดยใช้จุลินทรีย์ ซึ่งนิยมใช้ในการผลิตน้ำส้มสายชู
- กรดซิตริก (citric acid) หรือกรดมะนาว เป็นกรดที่อยู่ในผลไม้ที่มีรสเปรี้ยว เช่น ส้ม มะนาว
- กรดแอสคอร์บิก (ascorbic acid) หรือวิตามินซี มีอยู่ในผลไม้ที่มีรสเปรี้ยว
- กรดอะมิโน (amino acid) เป็นกรดที่ใช้สร้างโปรตีน มักพบในเนื้อสัตว์ ผลไม้เปลือกแข็ง หรือพืชตระกูลถั่ว
2. กรดอนินทรีย์ เป็นกรดที่ได้จากแร่ธาตุ จึงอาจเรียกว่ากรดแร่ก็ได้ มีความสามารถในการกัดกร่อนสูง ถ้าถูกผิวหนังหรือเนื้อเยื่อของร่างกายจะทำให้ไหม้ แสบ หรือมีผื่นคัน ตัวอย่างเช่น
- กรดไฮโดรคลอริก (hydrochloric acid) หรือกรดเกลือ
- กรดไนตริก (nitric acid) หรือกรดดินประสิว
- กรดคาร์บอนิก (carbonic acid) หรือกรดหินปูน
- กรดซัลฟิวริก (sulfuric acid) หรือกรดกำมะถัน
3.สารละลายกรดที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ตัวอย่างสารละลายกรดในชีวิตประจำวันและในสิ่งแวดล้อม มีดังต่อไป
- กรดทาร์ทาริก (tartaric acid) [C4H4O4] พบในมะขามป้อม ฝรั่ง
- กรดแอซิติก (acetic acid) [CH3COOH] ใช้ในการผลิตน้ำส้มสายชู
- กรดซิตริก (citric acid) [C6H8O7] เป็นกรดที่อยู่ในผลไม้ที่มีรสเปรี้ยว เช่น ส้ม มะนาว
- กรดแอสคอร์บิก (ascorbic acid) [C6H8O6] มีอยู่ในผลไม้ที่มีรสเปรี้ยว วิตามิน C
- กรดอะมิโน (amino acid) เป็นกรดที่ใช้สร้างโปรตีน มักพบในเนื้อสัตว์ ผลไม้
- กรดซัลฟิวริก (sulfuric acid) [H2SO4] ทำปุ๋ยเคมี
- กรดโบริก (boric acid) [H3BO3] ยาฆ่าเชื้อโรค , น้ำยาล้างตา
- กรดไฮโดรคลอริก (hydrochloric acid) [HCl] น้ำยาล้างสุขภัณฑ์
- กรดออกซาลิก (oxalic acid) [H2C2O2] กำจัดรอยเปื้อนสนิม
- กรดคาร์บอนิก (carbonic acid) [H2CO3] เป็นส่วนประกอบของน้ำอัดลม
สารละลายเบส
เบส คือ สารประกอบที่ทำปฏิกิริยากับกรด แล้วได้เกลือกับน้ำจะสามารถแตกตัวให้ไฮดรอกไซด์ไอออน (OH-) เบสทุกชนิดจะมีรสฝาด
สมบัติของสารละลายเบส
1. เบสทุกชนิดมีรสฝาดหรือเฝื่อน
2. เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีแดงเป็นสีน้ำเงิน (มีค่า pH มากกว่า 7)
3. ทำปฏิกิริยากับน้ำมันพืช หรือน้ำมันหมู จะได้สารละลายที่มีฟองคล้ายสบู่
4. ทำปฏิกิริยากับแอมโมเนียไนเตรตจะได้แก๊สที่มีกลิ่นฉุนของแอมโมเนีย
5. สามารถกัดกร่อนโลหะ อะลูมิเนียมและสังกะสี และมีฟองแก๊สเกิดขึ้น
7. ทำปฏิกิริยากับกรดได้เกลือและน้ำ
ประเภทของเบส
ตัวอย่างสารละลายเบสในชีวิตประจำวันและสิ่งแวดล้อม มีดังต่อไปนี้
1. สารประเภททำความสะอาด
- โซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) ใช้ทำสบู่
- แอมโมเนีย (CH3) น้ำยาล้างกระจก,น้ำยาปรับผ้านุ่ม
- โซเดียมคาร์บอเนต (Na2CO3) อุตสาหกรรมผงซักฟอก
2. สารปรุงแต่งอาหาร
- โซเดียมไฮดรอกไซด (NaOH) ทำผงชูรส
- โซเดียมไบคาร์บอเนต (NaHCO3) ทำขนม
3. สารที่ใช้ทางการเกษตร ได้แก่ ปุ๋ย
- ยูเรีย [CO(NH2)2] ใช้ทำปุ๋ย
- แคลเซียมไฮดรอกไซด์ [Ca(OH)2] แก้ดินเปรี้ยว
4. ยารักษาโรค
- NH3(NH4 )2CO3 แก้เป็นลม
- แคลเซียมไฮดรอกไซด์ [ Ca(OH)2] ลดกรดในกระเพาะอาหาร
- แมกนีเซียมไฮดรอกไซด [ Mg(OH)2] ลดกรดในกระเพาะอาหาร , ยาถ่าย
การตรวจสอบสารละลายกรด – เบส
สารละลายกรด - เบส ส่วนมากจะเป็นสารละลายที่ใส ไม่มีสีจึงไม่สามารถแยกออกจากกันด้วยตาได้ ส่วนมากเป็นสารที่เป็นอันตราย เพราะมีฤทธิ์กัดกร่อนเนื้อเยื่อของร่างกาย จึงไม่สามารถทดสอบด้วยการชิมหรือสัมผัสได้ แต่เรามีวิธีทดสอบได้โดยใช้อินดิเคเตอร์ ซึ่งมีอยู่หลายชนิด ดังนี้

สารละลายลิตมัส
สารละลายลิตมัส ทำจากสิ่งมีชีวิตพวกไลเคนส์ ตัวสารละลายมีสีม่วง เมื่อหยดลิตมัสลงในสารละลายที่เป็นกรดจะเปลี่ยนเป็นสีแดง ถ้าหยดลงใน
สารละลายที่เป็นเบสจะได้สีน้ำเงินนอกจากสารละลายลิตมัสแล้วยังมีกระดาษลิตมัสซึ่งมี 2 สี คือ สีแดง กับสีน้ำเงิน ถ้านำกระดาษลิตมัสสีน้ำเงินจุ่มลงในสารละลายกรด กระดาษลิตมัส จะเปลี่ยนสีจากสีน้ำเงินเป็นสีแดงและเมื่อจุ่มกระดาษลิตมัสสีแดงลงในสารละลายเบสจะเปลี่ยนสีจากสีแดงเป็นสีน้ำเงิน
ยูนิเวอร์ซัลอินดิเคเตอร์
อินดิเคเตอร์แบบลิตมัสจะบอกได้แต่เพียงว่าสารละลายใดเป็นกรด - เบส หรือเป็นกลางเท่านั้น ไม่สามารถบอกได้ว่าสารชนิดใดมีความเป็นกรด - เบส มากกว่ากัน ถ้าเราต้องการทราบความเป็นกรด - เบส มากหรือน้อยต้องใช้ยูนิเวอร์ซัลอินดิเคเตอร์ซึ่งมีอยู่หลายแบบ ดังนี้
1. ยูนิเวอร์ซัลอินดิเคเตอร์มีทั้งแบบที่เป็นสารละลายและเป็นกระดาษ ที่อยู่ในรูปสารละลายเป็นกลางจะมีสีเขียว ส่วนที่เป็นกระดาษจะมีสีน้ำตาล ใช้เทียบความเป็นกรด - เบส กับแถบสีซึ่งจะบอกได้แต่เพียงว่าสารใดเป็นกรด - เบส มากน้อยกว่ากัน
2. ยูนิเวอร์ซัลอินดิเคเตอร์แบบใช้วัดค่า pH ได้คร่าว ๆ โดยเทียบสี เช่นสีส้มมีค่า pH อยู่ระหว่าง 3-4 เป็นกรด สีเขียวมีค่า pH = 7 เป็นกลาง สีม่วงมี ค่า pH อยู่ระหว่าง 13-14 เป็นเบส
เครื่องวัดค่า pH (pH meter)
pH meter เป็นเครื่องมือที่ใช้วัดค่า pH ของสารละลาย ซึ่งบอกค่าได้ละเอียดกว่าการตรวจสอบด้วยอินดิเคเตอร์
ต่าง ๆ โดยจะแสดงค่าเป็นตัวเลขที่หน้าปัด และยังสามารถแสดงค่า pH ที่เปลี่ยนไปอย่างต่อเนื่องตลอดเวลาที่เกิดปฏิกิริยา
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ฟินแลนด์) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
สมบัติของสารละลายกรด - เบส สารละลายต่าง ๆ ที่ใช้ในชีวิตประจำวันแต่ละชนิดจะมีสมบัติแตกต่างกัน มีทั้งชนิดที่มีฤทธิ์กัดกร่อนหรือที่เรียกว่า มีสมบัติเป็นกรด และชนิดที่มีสมบัติเป็นเบส สารบางชนิดเป็นอันตราย แต่บางชนิดสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้ สมบัติของสารละลายกรด เบส จึงเป็นเกณฑ์อีกประเภทหนึ่งที่นักวิทยาศาสตร์นำมาใช้ในการจำแนกประเภทของสาร สารละลายกรด กรด หมายถึง สารประกอบที่มีธาตุไฮโดรเจนเป็นองค์ประกอบ เมื่อละลายน้ำแล้วสามารถแตกตัวให้ไฮโดรเจนไอออน (H +) สมบัติของสารละลายกรด 1. กรดทุกชนิดมีรสเปรี้ยว 2. เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีน้ำเงินเป็นสีแดง (มีค่า pH น้อยกว่า 7)3. ทำปฏิกิริยากับโลหะ เช่น สังกะสี ทองแดง แมกนีเซียม อะลูมิเนียม จะได้ฟองแก๊สไฮโดรเจนออกมา4. กรดมีสมบัติกัดกร่อนโลหะ หินปูน เนื้อเยื่อของร่างกาย5. กรดทำปฏิกิริยากับหินปูนซึ่งเป็นสารประกอบของแคลเซียมคาร์บอเนต จะได้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์6. สารละลายกรดทุกชนิดนำไฟฟ้าได้ดี7. ทำปฏิกิริยากับเบสได้เกลือและน้ำ ประเภทของสารละลายกรด สารละลายกรดแบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่ 1. กรดอินทรีย์ (orgaaninen happo) เป็นกรดที่ได้จากธรรมชาติ จากสิ่งมีชีวิต เช่น -กรดแอซิติก (etikkahappo) หรือกรดน้ำส้ม ได้จากการหมักแป้งหรือน้ำตาลโดยใช้จุลินทรีย์ ซึ่งนิยมใช้ในการผลิตน้ำส้มสายชู -กรดซิตริก (sitruunahappo) หรือกรดมะนาว เป็นกรดที่อยู่ในผลไม้ที่มีรสเปรี้ยว เช่น ส้ม มะนาว -กรดแอสคอร์บิก (askorbiinihappo) หรือวิตามินซี มีอยู่ในผลไม้ที่มีรสเปรี้ยว -กรดอะมิโน (aminohappo) เป็นกรดที่ใช้สร้างโปรตีน มักพบในเนื้อสัตว์ ผลไม้เปลือกแข็ง หรือพืชตระกูลถั่ว 2. กรดอนินทรีย์ เป็นกรดที่ได้จากแร่ธาตุ จึงอาจเรียกว่ากรดแร่ก็ได้ มีความสามารถในการกัดกร่อนสูง ถ้าถูกผิวหนังหรือเนื้อเยื่อของร่างกายจะทำให้ไหม้ แสบ หรือมีผื่นคัน ตัวอย่างเช่น -กรดไฮโดรคลอริก (kloorivetyhappo eli suolahappo) หรือกรดเกลือ -กรดไนตริก (typpihappoa) หรือกรดดินประสิว -กรดคาร์บอนิก (hiilihappo) หรือกรดหินปูน -กรดซัลฟิวริก (rikkihappo) หรือกรดกำมะถัน 3.สารละลายกรดที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ตัวอย่างสารละลายกรดในชีวิตประจำวันและในสิ่งแวดล้อม มีดังต่อไป -กรดทาร์ทาริก (viinihappoa) [C4H4O4] พบในมะขามป้อม ฝรั่ง -กรดแอซิติก (etikkahappo) [CH3COOH] ใช้ในการผลิตน้ำส้มสายชู -กรดซิตริก (sitruunahappo) [C6H8O7] เป็นกรดที่อยู่ในผลไม้ที่มีรสเปรี้ยว เช่น ส้ม มะนาว -กรดแอสคอร์บิก (askorbiinihappo) [C6H8O6] มีอยู่ในผลไม้ที่มีรสเปรี้ยว วิตามิน C -กรดอะมิโน (aminohappo) เป็นกรดที่ใช้สร้างโปรตีน มักพบในเนื้อสัตว์ ผลไม้ -กรดซัลฟิวริก (rikkihappo) [H2SO4] ทำปุ๋ยเคมี -กรดโบริก (hapan) [H3BO3] ยาฆ่าเชื้อโรค, น้ำยาล้างตา -กรดไฮโดรคลอริก (suolahappoa) [] น้ำยาล้างสุขภัณฑ์ -กรดออกซาลิก (oksaalihappoa) [H2C2O2] กำจัดรอยเปื้อนสนิม -กรดคาร์บอนิก (hiilihappo) [H2CO3] เป็นส่วนประกอบของน้ำอัดลม สารละลายเบส เบส คือ สารประกอบที่ทำปฏิกิริยากับกรด แล้วได้เกลือกับน้ำจะสามารถแตกตัวให้ไฮดรอกไซด์ไอออน (OH-) เบสทุกชนิดจะมีรสฝาด สมบัติของสารละลายเบส1. เบสทุกชนิดมีรสฝาดหรือเฝื่อน2. เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีแดงเป็นสีน้ำเงิน (มีค่า pH มากกว่า 7)3. ทำปฏิกิริยากับน้ำมันพืช หรือน้ำมันหมู จะได้สารละลายที่มีฟองคล้ายสบู่4. ทำปฏิกิริยากับแอมโมเนียไนเตรตจะได้แก๊สที่มีกลิ่นฉุนของแอมโมเนีย5. สามารถกัดกร่อนโลหะ อะลูมิเนียมและสังกะสี และมีฟองแก๊สเกิดขึ้น7. ทำปฏิกิริยากับกรดได้เกลือและน้ำ ประเภทของเบส ตัวอย่างสารละลายเบสในชีวิตประจำวันและสิ่งแวดล้อม มีดังต่อไปนี้1. สารประเภททำความสะอาด -โซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) ใช้ทำสบู่ -แอมโมเนีย (CH3) น้ำยาล้างกระจก, น้ำยาปรับผ้านุ่ม -โซเดียมคาร์บอเนต (Na2CO3) อุตสาหกรรมผงซักฟอก 2. สารปรุงแต่งอาหาร -โซเดียมไฮดรอกไซด (NaOH) ทำผงชูรส -โซเดียมไบคาร์บอเนต (NaHCO3) ทำขนม 3. สารที่ใช้ทางการเกษตร ได้แก่ ปุ๋ย -ยูเรีย [CO (NH2) 2] ใช้ทำปุ๋ย -แคลเซียมไฮดรอกไซด์ [Ca (OH) 2] แก้ดินเปรี้ยว 4. ยารักษาโรค -NH3 (NH4) 2CO3 แก้เป็นลม -แคลเซียมไฮดรอกไซด์ [Ca (OH) 2] ลดกรดในกระเพาะอาหาร -แมกนีเซียมไฮดรอกไซด [Mg (OH) 2] ลดกรดในกระเพาะอาหาร, ยาถ่าย การตรวจสอบสารละลายกรด – เบส สารละลายกรด - เบส ส่วนมากจะเป็นสารละลายที่ใส ไม่มีสีจึงไม่สามารถแยกออกจากกันด้วยตาได้ ส่วนมากเป็นสารที่เป็นอันตราย เพราะมีฤทธิ์กัดกร่อนเนื้อเยื่อของร่างกาย จึงไม่สามารถทดสอบด้วยการชิมหรือสัมผัสได้ แต่เรามีวิธีทดสอบได้โดยใช้อินดิเคเตอร์ ซึ่งมีอยู่หลายชนิด ดังนี้ สารละลายลิตมัส สารละลายลิตมัส ทำจากสิ่งมีชีวิตพวกไลเคนส์ ตัวสารละลายมีสีม่วง เมื่อหยดลิตมัสลงในสารละลายที่เป็นกรดจะเปลี่ยนเป็นสีแดง ถ้าหยดลงในสารละลายที่เป็นเบสจะได้สีน้ำเงินนอกจากสารละลายลิตมัสแล้วยังมีกระดาษลิตมัสซึ่งมี 2 สี คือ สีแดง กับสีน้ำเงิน ถ้านำกระดาษลิตมัสสีน้ำเงินจุ่มลงในสารละลายกรด กระดาษลิตมัส จะเปลี่ยนสีจากสีน้ำเงินเป็นสีแดงและเมื่อจุ่มกระดาษลิตมัสสีแดงลงในสารละลายเบสจะเปลี่ยนสีจากสีแดงเป็นสีน้ำเงินยูนิเวอร์ซัลอินดิเคเตอร์ อินดิเคเตอร์แบบลิตมัสจะบอกได้แต่เพียงว่าสารละลายใดเป็นกรด - เบส หรือเป็นกลางเท่านั้น ไม่สามารถบอกได้ว่าสารชนิดใดมีความเป็นกรด - เบส มากกว่ากัน ถ้าเราต้องการทราบความเป็นกรด - เบส มากหรือน้อยต้องใช้ยูนิเวอร์ซัลอินดิเคเตอร์ซึ่งมีอยู่หลายแบบ ดังนี้1. ยูนิเวอร์ซัลอินดิเคเตอร์มีทั้งแบบที่เป็นสารละลายและเป็นกระดาษ ที่อยู่ในรูปสารละลายเป็นกลางจะมีสีเขียว ส่วนที่เป็นกระดาษจะมีสีน้ำตาล ใช้เทียบความเป็นกรด - เบส กับแถบสีซึ่งจะบอกได้แต่เพียงว่าสารใดเป็นกรด - เบส มากน้อยกว่ากัน 2. ยูนิเวอร์ซัลอินดิเคเตอร์แบบใช้วัดค่า pH ได้คร่าว ๆ โดยเทียบสี เช่นสีส้มมีค่า pH อยู่ระหว่าง 3-4 เป็นกรด สีเขียวมีค่า pH = 7 เป็นกลาง สีม่วงมี ค่า pH อยู่ระหว่าง 13-14 เป็นเบสเครื่องวัดค่า pH (pH-mittari) pH mittari เป็นเครื่องมือที่ใช้วัดค่า pH ของสารละลาย ซึ่งบอกค่าได้ละเอียดกว่าการตรวจสอบด้วยอินดิเคเตอร์ต่าง ๆ โดยจะแสดงค่าเป็นตัวเลขที่หน้าปัด และยังสามารถแสดงค่า pH ที่เปลี่ยนไปอย่างต่อเนื่องตลอดเวลาที่เกิดปฏิกิริยา
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ฟินแลนด์) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
สมบัติ ของ สารละลาย กรด - เบส
สารละลาย ต่าง on Lisää มี สมบัติ เป็น กรด และ ชนิด ที่ มี สมบัติ เป็น เบส สาร บาง ชนิด เป็น อันตราย สมบัติ ของ สารละลาย กรด - เบส หมาย ถึง (H +) สมบัติ ของ สารละลาย กรด1. กรด ทุก ชนิด มี รส เปรี้ยว2. (มี ค่า pH น้อย กว่า 7) 3. ทำ ปฏิกิริยา กับ โลหะ เช่น สังกะสี ทองแดง แมกนีเซียม อะลูมิเนียม จะ ได้ ฟอง แก๊ส ไฮโดรเจน ออก มา4. กรด มี สมบัติ กัดกร่อน โลหะ หินปูน เนื้อเยื่อ ของ ร่างกาย5. จะ ได้ แก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์6. สารละลาย กรด ทุก ชนิด นำ ไฟฟ้า ได้ ดี7. 2 ประเภท ได้แก่1. กรด อินทรีย์ (Organic happo) เป็น กรด ที่ ได้ จาก ธรรมชาติ จาก สิ่ง มี ชีวิต เช่น- กรด แอ ซิ ติก (etikkahappo) หรือ กรด น้ำส้ม ซึ่ง นิยม ใช้ ใน การ ผลิต น้ำส้มสายชู- กรด ซิ ต ริก (sitruunahappo) หรือ กรด มะนาว เช่น ส้ม มะนาว- กรด แอ ส คอ ร์ บิ ก (askorbiinihappoa) หรือ วิตามิน ซี มี อยู่ ใน ผล ไม้ ที่ มี รส เปรี้ยว- กรด อะ มิ โน (aminohappo) เป็น กรด ที่ ใช้ สร้าง โปรตีน มัก พบ ใน เนื้อ สัตว์ ผล ไม้ เปลือก แข็ง หรือ พืช ตระกูล ถั่ว2. กรด อ นิ นท รี ย์ เป็น กรด ที่ ได้ จาก แร่ ธาตุ จึง อาจ เรียก ว่า กรด แร่ ก็ได้ มี ความ สามารถ ใน การ กัดกร่อน สูง แสบ หรือ มี ผื่น คัน ตัวอย่าง เช่น- กรด ไฮ โดร คลอ ริก (suolahappoa) หรือ กรดเกลือ- กรด ไน ต ริก (typpihappo) หรือ กรด ดินประสิว- กรด คา ร์ บอ นิ ก (hiilihappo) หรือ กรด หินปูน- กรด ซั ล ฟิ ว ริก (rikkihappo) มี ดัง ต่อ ไป- กรด ทา ร์ ทา ริก (viinihappo) [C4H4O4] พบ ใน มะขามป้อม ฝรั่ง- กรด แอ ซิ ติก (etikkahappo) [CH3COOH] ใช้ ใน การ ผลิต น้ำส้มสายชู- กรด ซิ ต ริก (sitruunahappo) [C6H8O7] เช่น ส้ม มะนาว- กรด แอ ส คอ ร์ บิ ก (askorbiinihappoa) [C6H8O6] มี อยู่ ใน ผล ไม้ ที่ มี รส เปรี้ยว วิตามิน C - กรด อะ มิ โน (aminohappo) เป็น กรด ที่ ใช้ สร้าง โปรตีน มัก พบ ใน เนื้อ สัตว์ ผล ไม้- กรด ซั ล ฟิ ว ริก (rikkihappo) [H2SO4] ทำ ปุ๋ย เคมี- กรด โบ ริก (boorihappo) [H3BO3] ยา ฆ่า เชื้อโรค, น้ำยา ล้าง ตา- กรด ไฮ โดร คลอ ริก (suolahappoa) [HCl:] น้ำยา ล้าง สุขภัณฑ์- กรด ออก ซา ลิ ก (oksaalihappoa) [H2C2O2] กำจัด รอย เปื้อน สนิม- กรด คา ร์ บอ นิ ก (hiilihappo) [H2CO3] คือ สารประกอบ ที่ ทำ ปฏิกิริยา กับ กรด (OI-) เบส ทุก ชนิด มี รส ฝาด หรือ เฝื่อน2. (มี ค่า pH มากกว่า 7) 3. ทำ ปฏิกิริยา กับ น้ำมัน พืช หรือ น้ำมัน หมู จะ ได้ สารละลาย ที่ มี ฟอง คล้าย สบู่4. สามารถ กัดกร่อน โลหะ อะลูมิเนียม และ สังกะสี และ มี ฟอง แก๊ส เกิด ขึ้น7. มี ดัง ต่อ ไป นี้1. สาร ประเภท ทำความ สะอาด- โซเดียม ไฮ ด รอก ไซ ด์ (NaOH) ใช้ ทำ สบู่- แอมโมเนีย (CH 3) น้ำยา ล้าง กระจก, น้ำยา ปรับ ผ้า นุ่ม- โซเดียมคาร์บอเนต (Na2CO3) อุตสาหกรรม ผงซักฟอก2. สาร ปรุง แต่ง อาหาร- โซเดียม ไฮ ด รอก ไซ ด (NaOH) ทำ ผงชูรส- โซเดียม ไบ คาร์บอเนต (NaHCO 3) ทำ ขนม3. สาร ที่ ใช้ ทาง การเกษตร ได้แก่ ปุ๋ย- ยู เรี ย [CO (NH2) 2] ใช้ ทำ ปุ๋ย- แคลเซียม ไฮ ด รอก ไซ ด์ [Ca (OH) 2] แก้ ดินเปรี้ยว4. ยา รักษา โรค- NH3: (NH 4) 2CO3 แก้ เป็น ลม- แคลเซียม ไฮ ด รอก ไซ ด์ [Ca (OH) 2] ลด กรด ใน กระเพาะ อาหาร- แมกนีเซียม ไฮ ด รอก ไซ ด [Mg (OH) 2] ลด กรด ใน กระเพาะ อาหาร , ยา ถ่ายการ ตรวจ สอบ สารละลาย กรด - เบสสารละลาย กรด - เบส ส่วน มาก จะ เป็น สารละลาย ที่ ใส ส่วน มาก เป็น สาร ที่ เป็น อันตราย ซึ่ง มี อยู่ หลาย ชนิด ทำ จาก สิ่ง มี ชีวิต พวก ไล เคน ส์ ตัว สารละลาย มี สี ม่วง 2 สี คือ สี แดง กับ สีน้ำเงิน กระดาษ ลิตมัส - เบส หรือ เป็นกลาง เท่านั้น - เบส มากกว่า กัน ถ้า เรา ต้องการ ทราบ ความ เป็น กรด - เบส ดังนี้1. ส่วน ที่ เป็น กระดาษ จะ มี สี น้ำตาล ใช้ เทียบ ความ เป็น กรด - เบส - เบส มาก น้อย กว่า กัน2. pH-ได้ คร่าว ๆ โดย เทียบ สี เช่น สี ส้ม มี ค่า pH-อยู่ ระหว่าง 3-4 เป็น กรด สี เขียว มี ค่า pH = 7 เป็นกลาง สี ม่วง มี ค่า pH-อยู่ ระหว่าง 13-14 เป็น เบสเครื่อง วัด ค่า pH: n (pH-mittari) pH-mittari เป็น เครื่องมือ ที่ ใช้ วัด ค่า pH-ของ สารละลาย ๆ โดย จะ แสดง ค่า เป็น ตัวเลข ที่ หน้าปัด และ ยัง สามารถ แสดง ค่า pH-






































































การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ฟินแลนด์) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
สมบัติของสารละลายกรด - เบส
สารละลายต่าง ๆ ที่ใช้ในชีวิตประจำวันแต่ละชนิดจะมีสมบัติแตกต่างกัน มีทั้งชนิดที่มีฤทธิ์กัดกร่อนหรือที่เรียกว่า มีสมบัติเป็นกรด และชนิดที่มีสมบัติเป็นเบส สารบางชนิดเป็นอันตรายสมบัติของสารละลายกรด - เบส จึงเป็นเกณฑ์อีกประเภทหนึ่งที่นักวิทยาศาสตร์นำมาใช้ในการจำแนกประเภทของสาร
สารละลายกรด
กรด หมายถึง สารประกอบที่มีธาตุไฮโดรเจนเป็นองค์ประกอบ เมื่อละลายน้ำแล้วสามารถแตกตัวให้ไฮโดรเจนไอออน (h)

1 สมบัติของสารละลายกรด.กรดทุกชนิดมีรสเปรี้ยว
2.เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีน้ำเงินเป็นสีแดง (มีค่า ph 7 น้อยกว่า)
3.ทำปฏิกิริยากับโลหะ เช่น สังกะสี ทองแดง แมกนีเซียม อะลูมิเนียม จะได้ฟองแก๊สไฮโดรเจนออกมา
4.กรดมีสมบัติกัดกร่อนโลหะ หินปูน เนื้อเยื่อของร่างกาย
5.กรดทำปฏิกิริยากับหินปูนซึ่งเป็นสารประกอบของแคลเซียมคาร์บอเนต จะได้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
6.สารละลายกรดทุกชนิดนำไฟฟ้าได้ดี) 7.ทำปฏิกิริยากับเบสได้เกลือและน้ำ ประเภทของสารละลายกรด

สารละลายกรดแบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่
1.กรดอินทรีย์ (orgaaninen happo) เป็นกรดที่ได้จากธรรมชาติ จากสิ่งมีชีวิต เช่น
- กรดแอซิติก (etikkahappo) หรือกรดน้ำส้ม ได้จากการหมักแป้งหรือน้ำตาลโดยใช้จุลินทรีย์ ซึ่งนิยมใช้ในการผลิตน้ำส้มสายชู
- กรดซิตริก (sitruunahappo) หรือกรดมะนาว เป็นกรดที่อยู่ในผลไม้ที่มีรสเปรี้ยว เช่น ส้ม มะนาว
- กรดแอสคอร์บิก (askorbiinihappo) หรือวิตามินซี มีอยู่ในผลไม้ที่มีรสเปรี้ยว
- กรดอะมิโน (aminohappo) เป็นกรดที่ใช้สร้างโปรตีน มักพบในเนื้อสัตว์ ผลไม้เปลือกแข็ง หรือพืชตระกูลถั่ว
2.กรดอนินทรีย์ เป็นกรดที่ได้จากแร่ธาตุ จึงอาจเรียกว่ากรดแร่ก็ได้ มีความสามารถในการกัดกร่อนสูง ถ้าถูกผิวหนังหรือเนื้อเยื่อของร่างกายจะทำให้ไหม้ แสบ หรือมีผื่นคัน ตัวอย่างเช่น
- กรดไฮโดรคลอริก (kloorivetyhappo) หรือกรดเกลือ
- กรดไนตริก (typpihappo) หรือกรดดินประสิว
- กรดคาร์บอนิก (hiilihapon) หรือกรดหินปูน
- กรดซัลฟิวริก (rikkihappo) หรือกรดกำมะถัน
3.สารละลายกรดที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ตัวอย่างสารละลายกรดในชีวิตประจำวันและในสิ่งแวดล้อม มีดังต่อไป
- กรดทาร์ทาริก (viinihaposta) [c4h4o4] พบในมะขามป้อม ฝรั่ง
- กรดแอซิติก (etikkahappona ch3cooh) [] ใช้ในการผลิตน้ำส้มสายชู
- กรดซิตริก (sitruunahappo) [c6h8o7] เป็นกรดที่อยู่ในผลไม้ที่มีรสเปรี้ยว เช่น ส้ม มะนาว
- กรดแอสคอร์บิก (askorbiinihappo c6h8o6]) [มีอยู่ในผลไม้ที่มีรสเปรี้ยว วิตามิน c
- กรดอะมิโน (aminohappo) เป็นกรดที่ใช้สร้างโปรตีน มักพบในเนื้อสัตว์ ผลไม้
- กรดซัลฟิวริก (rikkihappo) [h2so4] ทำปุ๋ยเคมี
- กรดโบริก (boorihappo) [h3bo3] ยาฆ่าเชื้อโรค, น้ำยาล้างตา
- กรดไฮโดรคลอริก (kloorivetyhappo) [-] น้ำยาล้างสุขภัณฑ์
- กรดออกซาลิก (oksaalihappoa) [h2c2o2] กำจัดรอยเปื้อนสนิม
- กรดคาร์บอนิก (hiilihapon) [h2co3] เป็นส่วนประกอบของน้ำอัดลม สารละลายเบส

เบส คือ สารประกอบที่ทำปฏิกิริยากับกรด แล้วได้เกลือกับน้ำจะสามารถแตกตัวให้ไฮดรอกไซด์ไอออน (- -) เบสทุกชนิดจะมีรสฝาด

1 สมบัติของสารละลายเบส.เบสทุกชนิดมีรสฝาดหรือเฝื่อน
2.เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีแดงเป็นสีน้ำเงิน (มีค่า ph 7 มากกว่า)
3.ทำปฏิกิริยากับน้ำมันพืช หรือน้ำมันหมู จะได้สารละลายที่มีฟองคล้ายสบู่
4.ทำปฏิกิริยากับแอมโมเนียไนเตรตจะได้แก๊สที่มีกลิ่นฉุนของแอมโมเนีย
5.สามารถกัดกร่อนโลหะ อะลูมิเนียมและสังกะสี และมีฟองแก๊สเกิดขึ้น) 7.ทำปฏิกิริยากับกรดได้เกลือและน้ำ


1 ประเภทของเบส ตัวอย่างสารละลายเบสในชีวิตประจำวันและสิ่งแวดล้อม มีดังต่อไปนี้.สารประเภททำความสะอาด
- โซเดียมไฮดรอกไซด์ (naoh) ใช้ทำสบู่
- แอมโมเนีย (ch3) น้ำยาล้างกระจก, น้ำยาปรับผ้านุ่ม
- โซเดียมคาร์บอเนต (na2co3) อุตสาหกรรมผงซักฟอก
2.สารปรุงแต่งอาหาร
- โซเดียมไฮดรอกไซด (naoh) ทำผงชูรส
- โซเดียมไบคาร์บอเนต (nahco3) ทำขนม
3.สารที่ใช้ทางการเกษตร ได้แก่ ปุ๋ย
- ยูเรีย [2] co (nh2) ใช้ทำปุ๋ย
- แคลเซียมไฮดรอกไซด์ [ca (oh) 2] แก้ดินเปรี้ยว
4.ยารักษาโรค
- nh3 (nh4) 2co3 แก้เป็นลม
- แคลเซียมไฮดรอกไซด์ [ca (oh) 2] ลดกรดในกระเพาะอาหาร
- แมกนีเซียมไฮดรอกไซด [mg (oh) 2] ลดกรดในกระเพาะอาหาร, ยาถ่าย การตรวจสอบสารละลายกรด – เบส

สารละลายกรด - เบส ส่วนมากจะเป็นสารละลายที่ใส ไม่มีสีจึงไม่สามารถแยกออกจากกันด้วยตาได้ ส่วนมากเป็นสารที่เป็นอันตราย เพราะมีฤทธิ์กัดกร่อนเนื้อเยื่อของร่างกาย จึงไม่สามารถทดสอบด้วยการชิมหรือสัมผัสได้ซึ่งมีอยู่หลายชนิด ดังนี้


สารละลายลิตมัส สารละลายลิตมัส ทำจากสิ่งมีชีวิตพวกไลเคนส์ ตัวสารละลายมีสีม่วง เมื่อหยดลิตมัสลงในสารละลายที่เป็นกรดจะเปลี่ยนเป็นสีแดง ถ้าหยดลงใน
สารละลายที่เป็นเบสจะได้สีน้ำเงินนอกจากสารละลายลิตมัสแล้วยังมีกระดาษลิตมัสซึ่งมี 2 สี คือ สีแดง กับสีน้ำเงิน ถ้านำกระดาษลิตมัสสีน้ำเงินจุ่มลงในสารละลายกรด กระดาษลิตมัสยูนิเวอร์ซัลอินดิเคเตอร์
อินดิเคเตอร์แบบลิตมัสจะบอกได้แต่เพียงว่าสารละลายใดเป็นกรด - เบส หรือเป็นกลางเท่านั้น ไม่สามารถบอกได้ว่าสารชนิดใดมีความเป็นกรด - เบส มากกว่ากัน ถ้าเราต้องการทราบความเป็นกรด - เบสดังนี้
1.ยูนิเวอร์ซัลอินดิเคเตอร์มีทั้งแบบที่เป็นสารละลายและเป็นกระดาษ ที่อยู่ในรูปสารละลายเป็นกลางจะมีสีเขียว ส่วนที่เป็นกระดาษจะมีสีน้ำตาล ใช้เทียบความเป็นกรด - เบส กับแถบสีซึ่งจะบอกได้แต่เพียงว่าสารใดเป็นกรด -มากน้อยกว่ากัน
2.ยูนิเวอร์ซัลอินดิเคเตอร์แบบใช้วัดค่า ph ได้คร่าว ๆ โดยเทียบสี เช่นสีส้มมีค่า ph อยู่ระหว่าง 3–4 เป็นกรด สีเขียวมีค่า ph 7 เป็นกลาง สีม่วงมี ค่า ph อยู่ระหว่าง 13. - 14 เป็นเบส
เครื่องวัดค่า ph (ph - mittari)
ph - mittari เป็นเครื่องมือที่ใช้วัดค่า ph ของสารละลาย ซึ่งบอกค่าได้ละเอียดกว่าการตรวจสอบด้วยอินดิเคเตอร์
ต่าง ๆ โดยจะแสดงค่าเป็นตัวเลขที่หน้าปัด และยังสามารถแสดงค่า ph ที่เปลี่ยนไปอย่างต่อเนื่องตลอดเวลาที่เกิดปฏิกิริยา
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: