ประวัติความเป็นมาของกีฬาเซปัคตะกร้อในการค้นคว้าหาหลักฐานเกี่ยวกับ แหล่ การแปล - ประวัติความเป็นมาของกีฬาเซปัคตะกร้อในการค้นคว้าหาหลักฐานเกี่ยวกับ แหล่ ไทย วิธีการพูด

ประวัติความเป็นมาของกีฬาเซปัคตะกร้อ


ประวัติความเป็นมาของกีฬาเซปัคตะกร้อ

ในการค้นคว้าหาหลักฐานเกี่ยวกับ แหล่งกำเนิดการกีฬาตะกร้อในอดีตนั้น ยังไม่สามารถหาข้อสรุปได้อย่าง ชัดเจนว่า กีีฬาตะกร้อนั้นกำเนิดจากที่ใด จากการสันนิษฐาน คงจะได้หลายเหตุผลดังนี้

ประเทศพม่า เมื่อประมาณ พ.ศ.2310 พม่ามาตั้งค่ายอยู่ที่โพธิ์สามต้น ก็เลยเล่นกีฬาตะกร้อกัน ซึ่งทางพม่า เรียกว่า "ชิงลง" ทางมาเลเซียก็ประกาศว่า ตะกร้อเป็นกีฬาของประเทศมาลายูเดิมเรียกว่า ซีปักรากา (Sepak Raga) คำว่า Raga หมายถึง ตะกร้า ทางฟิลิปปินส์ ก็นิยมเล่นกันมานานแล้ว แต่เรียกว่า Sipak ทางประเทศจีน ก็มีกีฬาที่คล้าย กีฬาตะกร้อ แต่เป็นการเตะตะกร้อชนิดที่เป็นลูกหนังปักขนไก่ ชาวจีนกวางตุ้ง ที่เดินทางไป ตั้งรกรากในอเมริกา ได้นำการเล่นตะกร้อขนไก่นี้ไปเผยแพร่ แต่เรียกว่า เตกโก (Tek K'au) ซึ่งหมายถึง การเตะ ลูกขนไก่ ประเทศเกาหลี ก็มีลักษณะคล้ายกับของจีน แต่ลักษณะของลูกตะกร้อแตกต่างไปคือ ใช้ดินเหนียว ห่อด้วยผ้าสำลี เอาหางไก่ฟ้าปัก ประเทศไทย ก็นิยมเล่นกีฬาตะกร้อมายาวนาน และประยุกต์จนเข้ากับ ประเพณีของชนชาติไทย อย่างกลมกลืนและสวยงามทั้งด้านทักษะและความคิด

ประวัติความเป็นมาในประเทศไทย

ในสมัยโบราณนั้น ประเทศไทยเรามีกฎหมายและวิธีการลงโทษผู้กระทำความผิด โดยการนำเอานักโทษ ใส่ลงไปในสิ่งกลมๆ ที่สานด้วยหวายให้ช้างเตะ แต่สิ่งที่ช่วยสนับสนุนประวัติของตะกร้อได้ดี คือ ใน พระราชนิพนธ์เรื่องอิเหนาของรัชกาลที่ 2 ในเรื่องมีบางตอนที่กล่าวถึงการเล่นตะกร้อ และที่ระเบียงพระอุโบสถ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ซึ่งเขียนเรื่องรามเกียรติ์ ก็มีภาพการเล่นตะกร้อแสดงไว้ให้อนุชนรุ่นหลังได้รับรู้

โดยภูมิศาสตร์ของไทยเองก็ส่งเสริมสนับสนุนให้เราได้ทราบประวัติของตะกร้อ คือ ประเทศของเรา อุดมไปด้วย ไม้ไผ่และหวาย คนไทยนิยมนำเอาหวายมาสานเป็นสิ่งของเครื่องใช้ รวมถึงการละเล่นพื้นบ้านด้วย อีกทั้ง ประเภทของกีฬาตะกร้อในประเทศไทย ก็มีหลายประเภท เช่น ตะกร้อวง ตะกร้อลอดห่วง ตะกร้อชิงธง และ การแสดงตะกร้อพลิกแพลงต่างๆ ซึ่งการเล่นตะกร้อของประเทศอื่นๆนั้น มีการเล่นไม่หลายแบบหลายวิธี เช่นของไทยเราการเล่นตะกร้อมีวิวัฒนาการอย่างต่อเนื่องมาตามลำดับ ทั้งด้านรูปแบบและวัตถุดิบ ในการทำ จากสมัยแรกเป็นผ้า, หนังสัตว์, หวาย จนถึงประเภทสังเคราะห์ (พลาสติก)

คำว่า "ตะกร้อ" ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ.2525 ได้ให้คำจำกัดความเอาไว้ว่า "ลูกกลมสานด้วยหวายเป็นตา สำหรับเตะ"

วิวัฒนาการการเล่นการเล่นกีฬาเซปัคตะกร้อ

การเล่นตะกร้อ ได้มีวิวัฒนาการในการเล่นมาอย่างต่อเนื่อง ในสมัยแรกๆ ก็เป็นเพียงการช่วยกันเตะลูก ไม่ให้ตกถึงพื้นต่อมาเมื่อเกิดความชำนาญและหลีกหนีความจำเจ ก็คงมีการเริ่มเล่นด้วยศีรษะ เข่า ศอก ไหล่ มีการจัดเพิ่มท่าให้ยากและสวยงามขึ้นตามลำดับ จากนั้นก็ตกลงวางกติกาการเล่นโดยเอื้ออำนวยต่อผู้เล่น เป็นส่วนรวม อาจแตกต่างไปตามสภาพภูมิประเทศของแต่ละพื้นที่ แต่คงมีความใกล้เคียงกันมากพอสมควร

ตะกร้อนั้นมีมากมายหลายประเภทเช่น

ตะกร้อข้ามตาข่าย
ตะกร้อลอดบ่วง
ตะกร้อพลิกแพลงเป็นต้น
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ประวัติความเป็นมาของกีฬาเซปัคตะกร้อในการค้นคว้าหาหลักฐานเกี่ยวกับแหล่งกำเนิดการกีฬาตะกร้อในอดีตนั้นยังไม่สามารถหาข้อสรุปได้อย่างชัดเจนว่ากีีฬาตะกร้อนั้นกำเนิดจากที่ใดจากการสันนิษฐานคงจะได้หลายเหตุผลดังนี้ประเทศพม่าเมื่อประมาณ พ.ศ.2310 พม่ามาตั้งค่ายอยู่ที่โพธิ์สามต้นก็เลยเล่นกีฬาตะกร้อกันซึ่งทางพม่าเรียกว่า "ชิงลง" ทางมาเลเซียก็ประกาศว่าตะกร้อเป็นกีฬาของประเทศมาลายูเดิมเรียกว่าซีปักรากา (เซปัค Raga) คำว่า Raga หมายถึงตะกร้าทางฟิลิปปินส์ก็นิยมเล่นกันมานานแล้วแต่เรียกว่า Sipak ทางประเทศจีนก็มีกีฬาที่คล้ายกีฬาตะกร้อแต่เป็นการเตะตะกร้อชนิดที่เป็นลูกหนังปักขนไก่ชาวจีนกวางตุ้งที่เดินทางไปตั้งรกรากในอเมริกาได้นำการเล่นตะกร้อขนไก่นี้ไปเผยแพร่แต่เรียกว่าเตกโก (Tek K'au) ซึ่งหมายถึงการเตะลูกขนไก่ประเทศเกาหลีก็มีลักษณะคล้ายกับของจีนแต่ลักษณะของลูกตะกร้อแตกต่างไปคือใช้ดินเหนียวห่อด้วยผ้าสำลีเอาหางไก่ฟ้าปักไทยก็นิยมเล่นกีฬาตะกร้อมายาวนานและประยุกต์จนเข้ากับประเพณีของชนชาติไทยอย่างกลมกลืนและสวยงามทั้งด้านทักษะและความคิด ประวัติความเป็นมาในประเทศไทยในสมัยโบราณนั้นประเทศไทยเรามีกฎหมายและวิธีการลงโทษผู้กระทำความผิดโดยการนำเอานักโทษใส่ลงไปในสิ่งกลม ๆ ที่สานด้วยหวายให้ช้างเตะแต่สิ่งที่ช่วยสนับสนุนประวัติของตะกร้อได้ดีคือในพระราชนิพนธ์เรื่องอิเหนาของรัชกาลที่ 2 ในเรื่องมีบางตอนที่กล่าวถึงการเล่นตะกร้อและที่ระเบียงพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดารามซึ่งเขียนเรื่องรามเกียรติ์ก็มีภาพการเล่นตะกร้อแสดงไว้ให้อนุชนรุ่นหลังได้รับรู้โดยภูมิศาสตร์ของไทยเองก็ส่งเสริมสนับสนุนให้เราได้ทราบประวัติของตะกร้อคือประเทศของเราอุดมไปด้วยไม้ไผ่และหวายคนไทยนิยมนำเอาหวายมาสานเป็นสิ่งของเครื่องใช้รวมถึงการละเล่นพื้นบ้านด้วยอีกทั้งประเภทของกีฬาตะกร้อในประเทศไทยก็มีหลายประเภทเช่นตะกร้อวงตะกร้อลอดห่วงตะกร้อชิงธงและการแสดงตะกร้อพลิกแพลงต่าง ๆ ซึ่งการเล่นตะกร้อของประเทศอื่นๆนั้นมีการเล่นไม่หลายแบบหลายวิธีเช่นของไทยเราการเล่นตะกร้อมีวิวัฒนาการอย่างต่อเนื่องมาตามลำดับทั้งด้านรูปแบบและวัตถุดิบในการทำจากสมัยแรกเป็นผ้า หนังสัตว์ จนถึงประเภทสังเคราะห์หวาย (พลาสติก)คำว่า "ตะกร้อ" ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ.2525 ได้ให้คำจำกัดความเอาไว้ว่า "ลูกกลมสานด้วยหวายเป็นตาสำหรับเตะ"วิวัฒนาการการเล่นการเล่นกีฬาเซปัคตะกร้อการเล่นตะกร้อได้มีวิวัฒนาการในการเล่นมาอย่างต่อเนื่องในสมัยแรก ๆ ก็เป็นเพียงการช่วยกันเตะลูกไม่ให้ตกถึงพื้นต่อมาเมื่อเกิดความชำนาญและหลีกหนีความจำเจก็คงมีการเริ่มเล่นด้วยศีรษะเข่าศอกไหล่มีการจัดเพิ่มท่าให้ยากและสวยงามขึ้นตามลำดับจากนั้นก็ตกลงวางกติกาการเล่นโดยเอื้ออำนวยต่อผู้เล่นเป็นส่วนรวมอาจแตกต่างไปตามสภาพภูมิประเทศของแต่ละพื้นที่แต่คงมีความใกล้เคียงกันมากพอสมควรตะกร้อนั้นมีมากมายหลายประเภทเช่นตะกร้อข้ามตาข่ายตะกร้อลอดบ่วงตะกร้อพลิกแพลงเป็นต้น
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!

ไม่ด้านยังหาข้อสรุปได้อย่างชัดเจนว่าได้กีีฬาตะกร้อนั้นกำเนิดจากเนชั่ที่ใดจากเนชั่หัวเรื่อง: การสันนิษฐานคงจะได้หลายเหตุผลดังนี้ออกประเทศพม่าเมื่อประมาณ พ.ศ. 2310 พม่ามาตั้งค่ายอยู่ที่โพธิ์สามต้นก็ เลยเล่นกีฬาตะกร้อกันซึ่งทาง พม่าเรียกว่า "ชิงลง" ทางมาเลเซียก็ประกาศว่า ซีปักรากา (Sepak Raga) คำว่า Raga หมายถึงตะกร้าทางฟิลิปปินส์ก็นิยมเล่น กันมานานแล้ว แต่เรียกว่า Sipak ทางประเทศจีนก็มีกีฬาที่คล้าย กีฬาตะกร้อ ชาวจีนกวางตุ้งที่เดินทางไปตั้งรกราก ในอเมริกา แต่เรียกว่าเตกโก (Tek K'au) ซึ่งหมายถึงการเตะลูกขนไก่ ประเทศเกาหลีก็มีลักษณะคล้ายกับของจีน แต่ลักษณะของลูกตะกร้อแตกต่างไปคือใช้ดินเหนียวห่อด้วยผ้าสำลีเอาหางไก่ฟ้าปักประเทศไทยก็ นิยมเล่นกีฬาตะกร้อมายาวนานและประยุกต์ จนเข้ากับประเพณีของชนชาติไทย โดยการนำเอานักโทษใส่ลงไปใน สิ่งกลมๆที่สานด้วยหวายให้ช้างเตะ คือใน 2 และที่ระเบียงพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ซึ่งเขียนเรื่องรามเกียรติ์ คือประเทศของเราอุดมไปด้วยไม้ไผ่ และหวาย รวมถึงการละเล่นพื้นบ้านด้วยอีกทั้งประเภท ของกีฬาตะกร้อในประเทศไทยก็มีหลายประเภทเช่นตะกร้อวงตะกร้อลอดห่วงตะกร้อชิงธงและการแสดงตะกร้อพลิกแพลงต่างๆ มีการเล่นไม่หลายแบบหลายวิธี ทั้งด้านรูปแบบและวัตถุดิบในการ ทำจากสมัยแรกเป็นผ้า , หนังสัตว์, หวายจนถึงประเภทสังเคราะห์ (พลาสติก) คำว่า "ตะกร้อ" ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ. 2525 ได้ให้คำจำกัดความเอาไว้ว่า "ลูกกลม สานด้วยหวายเป็นตา ในสมัยแรก ๆ ก็เป็นเพียงการ ช่วยกันเตะลูก ก็คงมีการเริ่มเล่นด้วยศีรษะ เข่าศอกไหล่ เป็นส่วนรวม





















การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: