ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดกับพฤติกรรมการเลือกซื้อโทร การแปล - ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดกับพฤติกรรมการเลือกซื้อโทร ไทย วิธีการพูด

ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนประสมท

ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดกับพฤติกรรมการเลือกซื้อโทรศัพท์ สมาร์ทโฟน (SMARTPHONE) ของนักศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร
THE RELATIONSHIP BETWEEN MARKETING MIX FACTOR TO SMART PHONE BUYING BEHAVIOR OF STUDENT IN BANGKOK
สิทธิศักดิ์ สุวรรณี
SITTISAK SUWANNEE
บทคัดย่อ
การศึกษาในครั้งนี้ (1)เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคลกับพฤติกรรมการเลือกซื้อโทรศัพท์ สมาร์ทโฟนของนักศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร และ(2)เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดกับพฤติกรรมการเลือกซื้อโทรศัพท์ Smartphone ของนักศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ นักศึกษาที่เลือกซื้อหรือกำลังตัดสินใจซื้อโทรศัพท์สมาร์ทโฟนในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 400 คน การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (Correlation)
ผลการศึกษาพบว่า (1) ผลการวิเคราะห์ปัจจัยส่วนบุคคล ด้าน เพศ อายุ รายได้ต่อเดือน มหาวิทยาลัยที่ศึกษาอยู่ ชั้นปีที่ศึกษากับพฤติกรรมการเลือกซื้อโทรศัพท์สมาร์ทโฟนของนักศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร พบว่า โดยรวมไม่มีความสันพันธ์กัน อาจเป็นเพราะ สภาวะแวดล้อมปัจจัยด้านอื่น เช่น สภาพเศรษฐกิจในปัจจุบัน ลักษณะ บุคลิกภาพของแต่ละบุคคล คณะ สาขาที่ศึกษาอยู่ (2) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดด้าน ผลิตภัณฑ์ ราคา ช่องทางการจัดจำหน่าย การส่งเสริมการตลาด กับพฤติกรรมการเลือกซื้อโทรศัพท์สมาร์ทโฟนของนักศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร พบว่า ภาพรวมส่วนมากมีความสัมพันธ์ไปในทางบวก ด้านที่ให้ให้ค่าความสัมพันธ์สูงที่สุดคือด้านผลิตภัณฑ์เนื่องจากในปัจจุบัน โทรศัพท์สมาร์ทโฟนมีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ เพื่อแข่งขันกับคู่แข่งซึ่งในปัจจุบันมีการเจริญเติบโตและแข่งขันกันสูงมาก ดังนั้นผู้ผลิตจึงเน้นรูปแบบผลิตภัณฑ์ ให้ทันกับยุคสมัย ครอบคลุมทุกการใช้งาน ใช้งานง่ายสะดวกสบาย เพื่อตอบสนองผู้บริโภคที่ในปัจจุบันมีความเปลี่ยนแปลงในทางเทคโนโลยีที่รวดเร็ว

ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
ปัจจุบันการเทคโนโลยีการติดต่อสื่อสารมีการเจริญเติบโตและพัฒนาอย่างรวดเร็วจากในอดีต มนุษย์เราติดต่อสื่อสารกัน ด้วยภาษากาย การใช้สัญลักษณ์ต่างๆ เช่น ควันไฟ การวาดภาพตามผนังถ้ำ พัฒนามาจนมี ภาษาพูด และภาษาเขียน ภายหลังจากมีภาษาที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารกันแล้ว มนุษย์ยังพัฒนาเกี่ยวกับช่องทางการสื่อสารเริ่มต้นจากสื่อสิ่งพิมพ์เรื่อยมาเป็นการติดต่อสื่อสารแบบ ไร้สายโทรศัพท์นั้นถือเป็นเครื่องมือติดต่อสื่อสารอีกชนิดหนึ่งที่มีความสำคัญต่อมนุษย์เราอย่างมาก สำหรับบางคนโทรศัพท์นับเป็นปัจจัยที่สำคัญของชีวิตลำดับที่ 6 เลยก็ว่าได้แต่สำหรับในปัจจุบันแล้วโทรศัพท์มือถือกลับถูกแทนที่จากวิวัฒนาการใหม่ที่เรียกว่าสมาร์ทโฟนด้วยฟังก์ชั่นการทำงานคล้ายคลึงกับโทรศัพท์มือถือทั่วๆไปแต่เพิ่มประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นโดยสามารถเชื่อมต่ออินเตอร์ เน็ตได้ ซึ่งเป็นที่ทราบกันดีว่าในยุคปัจจุบัน สามารถเรียกว่าเป็นยุคการสื่อสารแบบดิจิทัล ด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย การใช้งาน Socialnetworkที่หลากหลาย ในส่วนนี้ โทรศัพท์สมาร์ทโฟน สามารถรองรับได้ครอบคลุมเกี่ยวกับการใช้งานบน Socialnetworkยกตัวอย่างการใช้งานFacebook, Twitter, line, whatsapp, socialcamฯลฯ นอกเหนือจากการโทรศัพท์การใช้งานโปรแกรม หรือแอปพลิเคชั่นเหล่านี้ โทรศัพท์ สมาร์ทโฟนล้วนแล้วแต่ตอบสนองการทำงานแอป พลิเคชั่นเหล่านี้ และเมื่อผู้บริโภคมีความต้องการในการใช้โทรศัพท์สมาร์ทโฟนเพิ่มมากขึ้น จึงมีบริษัทที่ต้องการส่วนแบ่งทางการตลาดสินค้าชนิดนี้เพิ่มขึ้นเช่นกัน
(ฐานเศรษฐกิจ,2555:ออนไลน์)ไอดีซี ประมาณตัวเลขมูลค่าตลาดสมาร์ทโฟน ปี 2552 ไว้ 1.95 หมื่นล้านบาท และปี 2553 ตลาดมีมูลค่า 2.64 หมื่นล้านบาท เติบโตขึ้นประมาณ 35.6% ขณะที่ในปี 2554 ตลาดมีมูลค่าประมาณ 4.58 หมื่นล้านบาท เติบโตขึ้น 72.6% สูงกว่าที่คาดการณ์ประมาณ 10% ส่วนในปี 2555 คาดการณ์ไว้ว่าตลาดจะมีมูลค่าประมาณ 7 หมื่นล้านบาท เติบโตขึ้น 54%
ปัจจุบันโทรศัพท์ สมาร์ทโฟน เข้ามามีบทบาทกับคนสังคมเพิ่มมากขึ้น สืบเนื่องจากความสะดวกสบายจากการใช้ฟังก์ชั่นที่มีในโทรศัพท์สมาร์ทโฟน เช่นการใช้งาน Social network เกมส์ แอพพลิเคชั่นต่างๆ และแพร่หลายในบุคคลทุกระดับชั้นของสังคม โดยเฉพาะกลุ่มนักศึกษา ผู้วิจัยจึงมีความต้องการรับรู้ถึง ความสัมพันธ์ระหว่างส่วนปัจจัยประสมทางการตลาดกับพฤติกรรมการเลือกซื้อโทรศัพท์สมาร์ทโฟนของนักศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร


วัตถุประสงค์ในการวิจัย
1.เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคลกับพฤติกรรมการเลือกซื้อโทรศัพท์สมาร์ทโฟนของนักศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร
2.เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดกับพฤติกรรมการเลือกซื้อโทรศัพท์สมาร์ทโฟนของนักศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร
สมมติฐานในการวิจัย
1.ปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคลมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการ เลือกซื้อโทรศัพท์สมาร์ทโฟน ของนักศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร
2..ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการเลือกซื้อโทรศัพท์สมาร์ทโฟนของนักศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย
1.ทำให้ทราบถึงพันธ์ระหว่างปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคลกับพฤติกรรมการเลือกซื้อโทรศัพท์ สมาร์ทโฟนของนักศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร
2.ทำให้ทราบถึงความความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดกับพฤติกรรมการเลือกซื้อโทรศัพท์สมาร์ทโฟนของนักศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร
3.สามารถนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ เพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงพัฒนา สินค้า ราคา ช่องทางการจัดจำหน่าย และการส่งเสริมทางการตลาด ให้เหมาะสมกับกลุ่มตัวอย่าง เพื่อสร้างความโดดเด่นของสินค้า และ สร้างความได้เปรียบเหนือคู่แข่งที่มีการแข่งขันกันสูงมากขึ้น




กรอบแนวคิดในการวิจัย
ในการศึกษาผู้วิจัยได้ศึกษาทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดกับพฤติกรรมการเลือกซื้อโทรศัพท์สมาร์ทโฟนของนักศึกษาในเขตกรุงเทพมหานครโดยมีกรอบแนวคิดดังนี้
ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม
ปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคล
1.เพศ
2.อายุ
3.รายได้ต่อเดือน
4.มหาวิทยาลัยที่ท่านศึกษาอยู่
5.คณะที่ศึกษาอยู่ พฤติกรรมการเลือกซื้อ
6.ชั้นปีที่ โทรศัพท์สมาร์ทโฟนของ
นักศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร
ปัจจัย
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดกับพฤติกรรมการเลือกซื้อโทรศัพท์ สมาร์ทโฟน (SMARTPHONE) ของนักศึกษาในเขตกรุงเทพมหานครTHE RELATIONSHIP BETWEEN MARKETING MIX FACTOR TO SMART PHONE BUYING BEHAVIOR OF STUDENT IN BANGKOKสิทธิศักดิ์ สุวรรณีSITTISAK SUWANNEEบทคัดย่อ การศึกษาในครั้งนี้ (1)เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคลกับพฤติกรรมการเลือกซื้อโทรศัพท์ สมาร์ทโฟนของนักศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร และ(2)เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดกับพฤติกรรมการเลือกซื้อโทรศัพท์ Smartphone ของนักศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ นักศึกษาที่เลือกซื้อหรือกำลังตัดสินใจซื้อโทรศัพท์สมาร์ทโฟนในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 400 คน การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (Correlation) ผลการศึกษาพบว่า (1) ผลการวิเคราะห์ปัจจัยส่วนบุคคล ด้าน เพศ อายุ รายได้ต่อเดือน มหาวิทยาลัยที่ศึกษาอยู่ ชั้นปีที่ศึกษากับพฤติกรรมการเลือกซื้อโทรศัพท์สมาร์ทโฟนของนักศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร พบว่า โดยรวมไม่มีความสันพันธ์กัน อาจเป็นเพราะ สภาวะแวดล้อมปัจจัยด้านอื่น เช่น สภาพเศรษฐกิจในปัจจุบัน ลักษณะ บุคลิกภาพของแต่ละบุคคล คณะ สาขาที่ศึกษาอยู่ (2) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดด้าน ผลิตภัณฑ์ ราคา ช่องทางการจัดจำหน่าย การส่งเสริมการตลาด กับพฤติกรรมการเลือกซื้อโทรศัพท์สมาร์ทโฟนของนักศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร พบว่า ภาพรวมส่วนมากมีความสัมพันธ์ไปในทางบวก ด้านที่ให้ให้ค่าความสัมพันธ์สูงที่สุดคือด้านผลิตภัณฑ์เนื่องจากในปัจจุบัน โทรศัพท์สมาร์ทโฟนมีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ เพื่อแข่งขันกับคู่แข่งซึ่งในปัจจุบันมีการเจริญเติบโตและแข่งขันกันสูงมาก ดังนั้นผู้ผลิตจึงเน้นรูปแบบผลิตภัณฑ์ ให้ทันกับยุคสมัย ครอบคลุมทุกการใช้งาน ใช้งานง่ายสะดวกสบาย เพื่อตอบสนองผู้บริโภคที่ในปัจจุบันมีความเปลี่ยนแปลงในทางเทคโนโลยีที่รวดเร็วความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา ปัจจุบันการเทคโนโลยีการติดต่อสื่อสารมีการเจริญเติบโตและพัฒนาอย่างรวดเร็วจากในอดีต มนุษย์เราติดต่อสื่อสารกัน ด้วยภาษากาย การใช้สัญลักษณ์ต่างๆ เช่น ควันไฟ การวาดภาพตามผนังถ้ำ พัฒนามาจนมี ภาษาพูด และภาษาเขียน ภายหลังจากมีภาษาที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารกันแล้ว มนุษย์ยังพัฒนาเกี่ยวกับช่องทางการสื่อสารเริ่มต้นจากสื่อสิ่งพิมพ์เรื่อยมาเป็นการติดต่อสื่อสารแบบ ไร้สายโทรศัพท์นั้นถือเป็นเครื่องมือติดต่อสื่อสารอีกชนิดหนึ่งที่มีความสำคัญต่อมนุษย์เราอย่างมาก สำหรับบางคนโทรศัพท์นับเป็นปัจจัยที่สำคัญของชีวิตลำดับที่ 6 เลยก็ว่าได้แต่สำหรับในปัจจุบันแล้วโทรศัพท์มือถือกลับถูกแทนที่จากวิวัฒนาการใหม่ที่เรียกว่าสมาร์ทโฟนด้วยฟังก์ชั่นการทำงานคล้ายคลึงกับโทรศัพท์มือถือทั่วๆไปแต่เพิ่มประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นโดยสามารถเชื่อมต่ออินเตอร์ เน็ตได้ ซึ่งเป็นที่ทราบกันดีว่าในยุคปัจจุบัน สามารถเรียกว่าเป็นยุคการสื่อสารแบบดิจิทัล ด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย การใช้งาน Socialnetworkที่หลากหลาย ในส่วนนี้ โทรศัพท์สมาร์ทโฟน สามารถรองรับได้ครอบคลุมเกี่ยวกับการใช้งานบน Socialnetworkยกตัวอย่างการใช้งานFacebook, Twitter, line, whatsapp, socialcamฯลฯ นอกเหนือจากการโทรศัพท์การใช้งานโปรแกรม หรือแอปพลิเคชั่นเหล่านี้ โทรศัพท์ สมาร์ทโฟนล้วนแล้วแต่ตอบสนองการทำงานแอป พลิเคชั่นเหล่านี้ และเมื่อผู้บริโภคมีความต้องการในการใช้โทรศัพท์สมาร์ทโฟนเพิ่มมากขึ้น จึงมีบริษัทที่ต้องการส่วนแบ่งทางการตลาดสินค้าชนิดนี้เพิ่มขึ้นเช่นกัน (ฐานเศรษฐกิจ,2555:ออนไลน์)ไอดีซี ประมาณตัวเลขมูลค่าตลาดสมาร์ทโฟน ปี 2552 ไว้ 1.95 หมื่นล้านบาท และปี 2553 ตลาดมีมูลค่า 2.64 หมื่นล้านบาท เติบโตขึ้นประมาณ 35.6% ขณะที่ในปี 2554 ตลาดมีมูลค่าประมาณ 4.58 หมื่นล้านบาท เติบโตขึ้น 72.6% สูงกว่าที่คาดการณ์ประมาณ 10% ส่วนในปี 2555 คาดการณ์ไว้ว่าตลาดจะมีมูลค่าประมาณ 7 หมื่นล้านบาท เติบโตขึ้น 54%
ปัจจุบันโทรศัพท์ สมาร์ทโฟน เข้ามามีบทบาทกับคนสังคมเพิ่มมากขึ้น สืบเนื่องจากความสะดวกสบายจากการใช้ฟังก์ชั่นที่มีในโทรศัพท์สมาร์ทโฟน เช่นการใช้งาน Social network เกมส์ แอพพลิเคชั่นต่างๆ และแพร่หลายในบุคคลทุกระดับชั้นของสังคม โดยเฉพาะกลุ่มนักศึกษา ผู้วิจัยจึงมีความต้องการรับรู้ถึง ความสัมพันธ์ระหว่างส่วนปัจจัยประสมทางการตลาดกับพฤติกรรมการเลือกซื้อโทรศัพท์สมาร์ทโฟนของนักศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร


วัตถุประสงค์ในการวิจัย
1.เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคลกับพฤติกรรมการเลือกซื้อโทรศัพท์สมาร์ทโฟนของนักศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร
2.เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดกับพฤติกรรมการเลือกซื้อโทรศัพท์สมาร์ทโฟนของนักศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร
สมมติฐานในการวิจัย
1.ปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคลมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการ เลือกซื้อโทรศัพท์สมาร์ทโฟน ของนักศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร
2..ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการเลือกซื้อโทรศัพท์สมาร์ทโฟนของนักศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย
1.ทำให้ทราบถึงพันธ์ระหว่างปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคลกับพฤติกรรมการเลือกซื้อโทรศัพท์ สมาร์ทโฟนของนักศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร
2.ทำให้ทราบถึงความความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดกับพฤติกรรมการเลือกซื้อโทรศัพท์สมาร์ทโฟนของนักศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร
3.สามารถนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ เพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงพัฒนา สินค้า ราคา ช่องทางการจัดจำหน่าย และการส่งเสริมทางการตลาด ให้เหมาะสมกับกลุ่มตัวอย่าง เพื่อสร้างความโดดเด่นของสินค้า และ สร้างความได้เปรียบเหนือคู่แข่งที่มีการแข่งขันกันสูงมากขึ้น




กรอบแนวคิดในการวิจัย
ในการศึกษาผู้วิจัยได้ศึกษาทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดกับพฤติกรรมการเลือกซื้อโทรศัพท์สมาร์ทโฟนของนักศึกษาในเขตกรุงเทพมหานครโดยมีกรอบแนวคิดดังนี้
ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม
ปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคล
1.เพศ
2.อายุ
3.รายได้ต่อเดือน
4.มหาวิทยาลัยที่ท่านศึกษาอยู่
5.คณะที่ศึกษาอยู่ พฤติกรรมการเลือกซื้อ
6.ชั้นปีที่ โทรศัพท์สมาร์ทโฟนของ
นักศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร
ปัจจัย
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
สมาร์ทโฟน (มาร์ทโฟน) ของนักศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร
ความสัมพันธ์ระหว่างส่วนประสมทางการตลาดปัจจัยที่จะต้องมาร์ทโฟนพฤติกรรมการซื้อนักศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร
สิทธิศักดิ์สุวรรณี
สิทธิศักดิ์สุวรรณี
บทคัดย่อ
หัวเรื่อง: การศึกษาเป็นในห้างหุ้นส่วนจำกัดครั้งนี้ มาร์ทโฟนของนักศึกษาในเขตกรุงเทพมหานครกลุ่มตัวอย่างที่ ใช้ในการวิจัยคือ จำนวน 400 คนการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ (ร้อยละ) ค่าเฉลี่ย (Mean) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน) ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (Correlation)
ผลการศึกษาพบว่า (1) ผลการวิเคราะห์ปัจจัยส่วนบุคคลด้านเพศ อายุ รายได้ต่อเดือนมหาวิทยาลัยที่ศึกษาอยู่ พบว่าโดยรวมไม่มีความสันพันธ์ กันอาจเป็นเพราะสภาวะแวดล้อมปัจจัยด้านอื่นเช่นสภาพเศรษฐกิจในปัจจุบันลักษณะบุคลิกภาพของแต่ละบุคคลคณะสาขาที่ศึกษาอยู่ (2) ผลิตภัณฑ์ราคาช่องทางการจัดจำหน่ายการส่งเสริม การตลาด พบว่า ให้ทันกับยุคสมัยครอบคลุมทุกการ ใช้งานใช้งานง่ายสะดวกสบาย มนุษย์เราติดต่อสื่อสารกันด้วยภาษากาย การใช้สัญลักษณ์ต่างๆเช่นควันไฟการวาดภาพตามผนังถ้ำพัฒนามาจนมีภาษาพูดและภาษาเขียน 6 เน็ตได้ ด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัยการใช้งาน socialNetwork ที่หลากหลายในส่วนนี้โทรศัพท์สมา ร์ทโฟน socialNetwork ยกตัวอย่างการใช้งาน Facebook, Twitter, กองหลัง, WhatsApp, Socialcam ฯลฯ หรือแอปพลิเคชั่นเหล่า นี้โทรศัพท์ พลิเคชั่นเหล่านี้ ประมาณตัวเลขมูลค่าตลาดสมาร์ท โฟนปี 2552 ไว้ 1.95 หมื่นล้านบาทและปี 2553 ตลาดมีมูลค่า 2.64 หมื่นล้านบาทเติบโตขึ้นประมาณ 35.6% ขณะที่ในปี 2554 ตลาดมีมูลค่าประมาณ 4.58 หมื่นล้านบาทเติบโตขึ้น 72.6% สูงกว่า ที่คาดการณ์ประมาณ 10% ส่วนในปี 2555 7 หมื่นล้านบาทเติบโตขึ้น 54% ปัจจุบันโทรศัพท์สมาร์ทโฟน เช่นการใช้งานเครือข่ายทางสังคมเกมส์แอพพลิเคชั่นต่างๆ โดยเฉพาะกลุ่มนักศึกษาผู้วิจัยจึงมี ความต้องการรับรู้ถึง เลือกซื้อโทรศัพท์สมาร์ทโฟน เพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงพัฒนาสินค้า ราคาช่องทางการจัดจำหน่ายและการส่งเสริมทางการตลาดให้เหมาะสมกับกลุ่มตัวอย่างเพื่อสร้างความโดดเด่นของสินค้าและ พฤติกรรมการเลือกซื้อ6. ​​ชั้นปีที่
































การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: