9.การทบทวนวรรณกรรม / สารสนเทศ (information) ที่เกี่ยวข้อง การวิจัยเรื่ การแปล - 9.การทบทวนวรรณกรรม / สารสนเทศ (information) ที่เกี่ยวข้อง การวิจัยเรื่ ไทย วิธีการพูด

9.การทบทวนวรรณกรรม / สารสนเทศ (info

9.การทบทวนวรรณกรรม / สารสนเทศ (information) ที่เกี่ยวข้อง
การวิจัยเรื่อง “การศึกษาการถักตุ๊กตาสัตว์จากเชือกปอ ของบ้านก่อ ตำบลกาบิน อำเภอกุดข้าวปุ้น จังหวัดอุบลราชธานี” เป็นการศึกษาข้อมูลการใช้ประโยชน์จากต้นปอ กระบวนการถักตุ๊กตาสัตว์จากเชือกปอ และแนวทางการจำหน่ายตุ๊กตาสัตว์ที่ทำจากเชือกปอ
มีงานวิจัยในประเทศของ วิบูรย์ ลี้สุวรรณ ได้กล่าวว่า ภูมิปัญญาชาวบ้าน หมายถึง ความรู้ดั้งเดิมที่เกิดจากการทดลอง ปฏิบัติจริงที่สะสมมาจากอดีตและถ่ายทอดกันมาตั้งแต่บรรพบุรุษจนถึงปัจจุบันการผลิตงานหัตถกรรมมีวัตถุประสงค์เพื่อนำไปใช้ในครัวเรือน สามารถทำเป็นอาชีพหลักและรายได้เสริม มีแนวโน้มในการผลิตพืชเส้นใยเพิ่มมากขึ้น เช่น ไม้ไผ่ หวาย เถาวัลย์ กก เตย คล้า ฯลฯ ถูกนำมาใช้เป็นวัสดุในการผลิต
สุพรรณีอัสวศิริเลิศและกุศล ฐินะกุล ธุรกิจชุมชน หมายถึง "กิจกรรมทางเศรษฐกิจของชุมชนอันประกอบด้วย กิจกรรมทางการผลิต กิจกรรมทางการขายผลผลิต กิจกรรมการซื้อ และการบริโภคของชุมชน"
แฉล้ม มาศรวรรณา ธนิต โสภโณดร และ ทองปูน เพ่งหากิจวิจัยเรื่อง การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากเส้นใยปอได้ทดลองนำเส้นใยปอมาประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์ในรูปแบบคล้ายกับเส้นใยป่านศรนารายณ์ได้แก่หมวกกระเป๋าถือสตรีที่รองภาชนะรองเท้าแตะเข็มขัดที่ใส่ซองจดหมาย ฯลฯ โดยใช้เส้นใยปอแก้วปอคิวบาและปอกระเจา มาถักเปียแล้วนำมาเย็บขึ้นรูปด้วยจักรหรือด้วยมือเป็นผลิตภัณฑ์รูปแบบต่างๆกันพบว่า เส้นใยคุณภาพดีของปอทุกชนิดสามารถนำมาผลิตภัณฑ์มีความสวยงามคล้ายคลึงกัน ไม่ว่าจะมีการย้อมสีเส้นใยด้วยสีเคมีหรือไม่ ผลิตภัณฑ์ประเภทหมวกสุภาพบุรุษและสตรีได้รับความสนใจและมีราคาดีได้ทำการเผยแพร่ความรู้แก่กลุ่มแม่บ้านเคหกิจอำเภอ/จังหวัดและเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรและได้นำผลิตภัณฑ์ไปจัดนิทรรศการในโอกาสต่าง ๆอย่างไรก็ตามควรมีการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์และควรมีการดำเนินการด้านการตลาด
นักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ได้ทำการวิจัยเรื่อง การผลิตตุ๊กตาสัตว์ด้วยเชือกปอในเชิงธุรกิจของกลุ่มสตรีสหกรณ์บ้านก่อ ตำบลกาบิน อำเภอกุดข้าวปุ้น จังหวัดอุบลราชธานีการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการผลิตในเชิงธุรกิจของตุ๊กตาสัตว์ด้วยเชือกปอของกลุ่มสตรีสหกรณ์บ้านก่อ ตำบลกาบิน อำเภอกุดข้าวปุ้น จังหวัดอุบลราชธานี และเพื่อศึกษาปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงานของกลุ่มสตรีสหกรณ์บ้านก่อ ตำบลกาบิน อำเภอกุดข้าวปุ้น จังหวัดอุบลราชธานี ประชากรในการวิจัย คือ คณะกรรมการบริหารกลุ่มสตรีสหกรณ์บ้านก่อ และสมาชิกกลุ่มสตรีสหกรณ์ เลือกกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยแบบเจาะจง ได้จำนวน 39 คน เครื่องที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการพรรณนา และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1. การผลิตตุ๊กตาสัตว์ด้วยเชือกปอ ส่วนใหญ่ทำต่อเนื่องมาจากการประกอบอาชีพการผลิตตุ๊กตาสัตว์ด้วยเชือกปอของครอบครัว และทำต่อเนื่องจากบรรพบุรุษ ซึ่งถือว่าเป็นภูมิปัญญาของชาวบ้านที่พัฒนาวิธีการประกอบอาชีพของครัวเรือน 2. การจำหน่ายตุ๊กตาสัตว์ด้วยเชือกปอ ส่วนใหญ่เป็นกระบวนการต่อเนื่องจากการผลิตกล่าวคือ ผู้ผลิตตุ๊กตาสัตว์ด้วยเชือกปอจะนำตุ๊กตาสัตว์ด้วยเชือกปอ จำหน่ายผ่านให้คนกลางที่มารับซื้อจากกลุ่มเพื่อนำไปจำหน่ายต่อ และจำหน่ายที่กลุ่ม นอกจากนี้มีการนำไปจำหน่ายตามสถานที่จัดงานนิทรรศการ การออกร้านตามที่หน่วยงานราชการและเอกชนจัดขึ้น 3. ปัญหาและอุปสรรคของการผลิตและการจำหน่ายตุ๊กตาสัตว์ด้วยเชือกปอ เกิดจากวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตตุ๊กตาสัตว์ด้วยเชือกปออยู่ไกลและหายากในบางฤดูกาลและบางรายจะมีปัญหาด้านขาดความชำนาญและทักษะในการผลิต4. การส่งเสริมของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะเป็นการให้ความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการผลิต และให้ความรู้กลุ่มสตรีสหกรณ์ในการด้านตลาดและเทคนิคทางการขาย
นางสาวชวยศ เกษมวนานิมิตวิจัยเรื่อง การผลิตและการตลาดสินค้าหัตถกรรมพื้นบ้านของกลุ่มสตรีและเยาวชนบ้านก่อสังกัดสหกรณ์การเกษตรกุดข้าวปุ้น จำกัด จังหวัดอุบลราชธานีการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพเศรษฐกิจและสังคมของสมาชิกกลุ่มสตรีและเยาวชนบ้านก่อ สังกัดสหกรณ์การเกษตรกุดข้าวปุ้น จำกัด จังหวัดอุบลราชธานี รวมทั้งการผลิตและการตลาดของสิ้นค้าหัตถกรรมพื้นบ้าน และศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนของการผลิตสิ้นค้าหัตถกรรมพื้นบ้านที่สำคัญ 6 รายการ คือ มังกรถักจากเชือกปอ ขนาดราคา 150 บาท มังกรถักจากเชือกปอ ขนาด 100 บาท และหมวกสานด้วยไม้ไผ่ โดยใช้ข้อมูลปฐมภูมิที่ได้จากการสัมภาษณ์สมาชิกกลุ่มสตรีและเยาวชนบ้านก่อ สังกัดสหกรณ์การเกษตรกุดข้าวปุ้น จำกัด จังหวัดอุบลราชธานี จำนวน 33 ราย เป็นข้อมูลการผลิตปี 2548
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
9.การทบทวนวรรณกรรม / ที่เกี่ยวข้องสารสนเทศ (ข้อมูล) การวิจัยเรื่อง "การศึกษาการถักตุ๊กตาสัตว์จากเชือกปอของบ้านก่อตำบลกาบินอำเภอกุดข้าวปุ้นจังหวัดอุบลราชธานี" เป็นการศึกษาข้อมูลการใช้ประโยชน์จากต้นปอกระบวนการถักตุ๊กตาสัตว์จากเชือกปอและแนวทางการจำหน่ายตุ๊กตาสัตว์ที่ทำจากเชือกปอ มีงานวิจัยในประเทศของวิบูรย์ลี้สุวรรณได้กล่าวว่าภูมิปัญญาชาวบ้านหมายถึงความรู้ดั้งเดิมที่เกิดจากการทดลองปฏิบัติจริงที่สะสมมาจากอดีตและถ่ายทอดกันมาตั้งแต่บรรพบุรุษจนถึงปัจจุบันการผลิตงานหัตถกรรมมีวัตถุประสงค์เพื่อนำไปใช้ในครัวเรือนสามารถทำเป็นอาชีพหลักและรายได้เสริมมีแนวโน้มในการผลิตพืชเส้นใยเพิ่มมากขึ้นเช่นไม้ไผ่หวายเถาวัลย์กกเตยคล้าฯลฯ ถูกนำมาใช้เป็นวัสดุในการผลิต สุพรรณีอัสวศิริเลิศและกุศลฐินะกุลธุรกิจชุมชนหมายถึง "กิจกรรมทางเศรษฐกิจของชุมชนอันประกอบด้วยกิจกรรมทางการผลิตกิจกรรมทางการขายผลผลิตกิจกรรมการซื้อและการบริโภคของชุมชน" แฉล้มมาศรวรรณาธนิตโสภโณดรและทองปูนเพ่งหากิจวิจัยเรื่องการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากเส้นใยปอได้ทดลองนำเส้นใยปอมาประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์ในรูปแบบคล้ายกับเส้นใยป่านศรนารายณ์ได้แก่หมวกกระเป๋าถือสตรีที่รองภาชนะรองเท้าแตะเข็มขัดที่ใส่ซองจดหมายฯลฯ โดยใช้เส้นใยปอแก้วปอคิวบาและปอกระเจามาถักเปียแล้วนำมาเย็บขึ้นรูปด้วยจักรหรือด้วยมือเป็นผลิตภัณฑ์รูปแบบต่างๆกันพบว่าเส้นใยคุณภาพดีของปอทุกชนิดสามารถนำมาผลิตภัณฑ์มีความสวยงามคล้ายคลึงกันไม่ว่าจะมีการย้อมสีเส้นใยด้วยสีเคมีหรือไม่ผลิตภัณฑ์ประเภทหมวกสุภาพบุรุษและสตรีได้รับความสนใจและมีราคาดีได้ทำการเผยแพร่ความรู้แก่กลุ่มแม่บ้านเคหกิจอำเภอ/จังหวัดและเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรและได้นำผลิตภัณฑ์ไปจัดนิทรรศการในโอกาสต่างๆอย่างไรก็ตามควรมีการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์และควรมีการดำเนินการด้านการตลาด นักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตสาขาวิชาการจัดการทั่วไปมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานีได้ทำการวิจัยเรื่องการผลิตตุ๊กตาสัตว์ด้วยเชือกปอในเชิงธุรกิจของกลุ่มสตรีสหกรณ์บ้านก่อตำบลกาบินอำเภอกุดข้าวปุ้นจังหวัดอุบลราชธานีการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการผลิตในเชิงธุรกิจของตุ๊กตาสัตว์ด้วยเชือกปอของกลุ่มสตรีสหกรณ์บ้านก่อตำบลกาบินอำเภอกุดข้าวปุ้นจังหวัดอุบลราชธานีและเพื่อศึกษาปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงานของกลุ่มสตรีสหกรณ์บ้านก่อตำบลกาบินอำเภอกุดข้าวปุ้นจังหวัดอุบลราชธานีประชากรในการวิจัยคือคณะกรรมการบริหารกลุ่มสตรีสหกรณ์บ้านก่อและสมาชิกกลุ่มสตรีสหกรณ์เลือกกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยแบบเจาะจงได้จำนวน 39 คนเครื่องที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์เชิงลึกวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการพรรณนาและการวิเคราะห์เนื้อหาผลการวิจัยพบว่า 1 การผลิตตุ๊กตาสัตว์ด้วยเชือกปอส่วนใหญ่ทำต่อเนื่องมาจากการประกอบอาชีพการผลิตตุ๊กตาสัตว์ด้วยเชือกปอของครอบครัวและทำต่อเนื่องจากบรรพบุรุษซึ่งถือว่าเป็นภูมิปัญญาของชาวบ้านที่พัฒนาวิธีการประกอบอาชีพของครัวเรือน 2 การจำหน่ายตุ๊กตาสัตว์ด้วยเชือกปอส่วนใหญ่เป็นกระบวนการต่อเนื่องจากการผลิตกล่าวคือผู้ผลิตตุ๊กตาสัตว์ด้วยเชือกปอจะนำตุ๊กตาสัตว์ด้วยเชือกปอจำหน่ายผ่านให้คนกลางที่มารับซื้อจากกลุ่มเพื่อนำไปจำหน่ายต่อและจำหน่ายที่กลุ่มนอกจากนี้มีการนำไปจำหน่ายตามสถานที่จัดงานนิทรรศการการออกร้านตามที่หน่วยงานราชการและเอกชนจัดขึ้น 3 ปัญหาและอุปสรรคของการผลิตและการจำหน่ายตุ๊กตาสัตว์ด้วยเชือกปอ เกิดจากวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตตุ๊กตาสัตว์ด้วยเชือกปออยู่ไกลและหายากในบางฤดูกาลและบางรายจะมีปัญหาด้านขาดความชำนาญและทักษะในการผลิต4 การส่งเสริมของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะเป็นการให้ความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการผลิตและให้ความรู้กลุ่มสตรีสหกรณ์ในการด้านตลาดและเทคนิคทางการขายนางสาวชวยศ เกษมวนานิมิตวิจัยเรื่อง การผลิตและการตลาดสินค้าหัตถกรรมพื้นบ้านของกลุ่มสตรีและเยาวชนบ้านก่อสังกัดสหกรณ์การเกษตรกุดข้าวปุ้น จำกัด จังหวัดอุบลราชธานีการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพเศรษฐกิจและสังคมของสมาชิกกลุ่มสตรีและเยาวชนบ้านก่อ สังกัดสหกรณ์การเกษตรกุดข้าวปุ้น จำกัด จังหวัดอุบลราชธานี รวมทั้งการผลิตและการตลาดของสิ้นค้าหัตถกรรมพื้นบ้าน และศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนของการผลิตสิ้นค้าหัตถกรรมพื้นบ้านที่สำคัญ 6 รายการ คือ มังกรถักจากเชือกปอ ขนาดราคา 150 บาท มังกรถักจากเชือกปอ ขนาด 100 บาท และหมวกสานด้วยไม้ไผ่ โดยใช้ข้อมูลปฐมภูมิที่ได้จากการสัมภาษณ์สมาชิกกลุ่มสตรีและเยาวชนบ้านก่อ สังกัดสหกรณ์การเกษตรกุดข้าวปุ้น จำกัด จังหวัดอุบลราชธานี จำนวน 33 ราย เป็นข้อมูลการผลิตปี 2548
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
9.การทบทวนวรรณกรรม / สารสนเทศ (information) ที่เกี่ยวข้อง
การวิจัยเรื่อง “การศึกษาการถักตุ๊กตาสัตว์จากเชือกปอ ของบ้านก่อ ตำบลกาบิน อำเภอกุดข้าวปุ้น จังหวัดอุบลราชธานี” เป็นการศึกษาข้อมูลการใช้ประโยชน์จากต้นปอ กระบวนการถักตุ๊กตาสัตว์จากเชือกปอ และแนวทางการจำหน่ายตุ๊กตาสัตว์ที่ทำจากเชือกปอ
มีงานวิจัยในประเทศของ วิบูรย์ ลี้สุวรรณ ได้กล่าวว่า ภูมิปัญญาชาวบ้าน หมายถึง ความรู้ดั้งเดิมที่เกิดจากการทดลอง ปฏิบัติจริงที่สะสมมาจากอดีตและถ่ายทอดกันมาตั้งแต่บรรพบุรุษจนถึงปัจจุบันการผลิตงานหัตถกรรมมีวัตถุประสงค์เพื่อนำไปใช้ในครัวเรือน สามารถทำเป็นอาชีพหลักและรายได้เสริม มีแนวโน้มในการผลิตพืชเส้นใยเพิ่มมากขึ้น เช่น ไม้ไผ่ หวาย เถาวัลย์ กก เตย คล้า ฯลฯ ถูกนำมาใช้เป็นวัสดุในการผลิต
สุพรรณีอัสวศิริเลิศและกุศล ฐินะกุล ธุรกิจชุมชน หมายถึง "กิจกรรมทางเศรษฐกิจของชุมชนอันประกอบด้วย กิจกรรมทางการผลิต กิจกรรมทางการขายผลผลิต กิจกรรมการซื้อ และการบริโภคของชุมชน"
แฉล้ม มาศรวรรณา ธนิต โสภโณดร และ ทองปูน เพ่งหากิจวิจัยเรื่อง การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากเส้นใยปอได้ทดลองนำเส้นใยปอมาประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์ในรูปแบบคล้ายกับเส้นใยป่านศรนารายณ์ได้แก่หมวกกระเป๋าถือสตรีที่รองภาชนะรองเท้าแตะเข็มขัดที่ใส่ซองจดหมาย ฯลฯ โดยใช้เส้นใยปอแก้วปอคิวบาและปอกระเจา มาถักเปียแล้วนำมาเย็บขึ้นรูปด้วยจักรหรือด้วยมือเป็นผลิตภัณฑ์รูปแบบต่างๆกันพบว่า เส้นใยคุณภาพดีของปอทุกชนิดสามารถนำมาผลิตภัณฑ์มีความสวยงามคล้ายคลึงกัน ไม่ว่าจะมีการย้อมสีเส้นใยด้วยสีเคมีหรือไม่ ผลิตภัณฑ์ประเภทหมวกสุภาพบุรุษและสตรีได้รับความสนใจและมีราคาดีได้ทำการเผยแพร่ความรู้แก่กลุ่มแม่บ้านเคหกิจอำเภอ/จังหวัดและเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรและได้นำผลิตภัณฑ์ไปจัดนิทรรศการในโอกาสต่าง ๆอย่างไรก็ตามควรมีการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์และควรมีการดำเนินการด้านการตลาด
นักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ได้ทำการวิจัยเรื่อง การผลิตตุ๊กตาสัตว์ด้วยเชือกปอในเชิงธุรกิจของกลุ่มสตรีสหกรณ์บ้านก่อ ตำบลกาบิน อำเภอกุดข้าวปุ้น จังหวัดอุบลราชธานีการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการผลิตในเชิงธุรกิจของตุ๊กตาสัตว์ด้วยเชือกปอของกลุ่มสตรีสหกรณ์บ้านก่อ ตำบลกาบิน อำเภอกุดข้าวปุ้น จังหวัดอุบลราชธานี และเพื่อศึกษาปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงานของกลุ่มสตรีสหกรณ์บ้านก่อ ตำบลกาบิน อำเภอกุดข้าวปุ้น จังหวัดอุบลราชธานี ประชากรในการวิจัย คือ คณะกรรมการบริหารกลุ่มสตรีสหกรณ์บ้านก่อ และสมาชิกกลุ่มสตรีสหกรณ์ เลือกกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยแบบเจาะจง ได้จำนวน 39 คน เครื่องที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการพรรณนา และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1. การผลิตตุ๊กตาสัตว์ด้วยเชือกปอ ส่วนใหญ่ทำต่อเนื่องมาจากการประกอบอาชีพการผลิตตุ๊กตาสัตว์ด้วยเชือกปอของครอบครัว และทำต่อเนื่องจากบรรพบุรุษ ซึ่งถือว่าเป็นภูมิปัญญาของชาวบ้านที่พัฒนาวิธีการประกอบอาชีพของครัวเรือน 2. การจำหน่ายตุ๊กตาสัตว์ด้วยเชือกปอ ส่วนใหญ่เป็นกระบวนการต่อเนื่องจากการผลิตกล่าวคือ ผู้ผลิตตุ๊กตาสัตว์ด้วยเชือกปอจะนำตุ๊กตาสัตว์ด้วยเชือกปอ จำหน่ายผ่านให้คนกลางที่มารับซื้อจากกลุ่มเพื่อนำไปจำหน่ายต่อ และจำหน่ายที่กลุ่ม นอกจากนี้มีการนำไปจำหน่ายตามสถานที่จัดงานนิทรรศการ การออกร้านตามที่หน่วยงานราชการและเอกชนจัดขึ้น 3. ปัญหาและอุปสรรคของการผลิตและการจำหน่ายตุ๊กตาสัตว์ด้วยเชือกปอ เกิดจากวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตตุ๊กตาสัตว์ด้วยเชือกปออยู่ไกลและหายากในบางฤดูกาลและบางรายจะมีปัญหาด้านขาดความชำนาญและทักษะในการผลิต4. การส่งเสริมของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะเป็นการให้ความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการผลิต และให้ความรู้กลุ่มสตรีสหกรณ์ในการด้านตลาดและเทคนิคทางการขาย
นางสาวชวยศ เกษมวนานิมิตวิจัยเรื่อง การผลิตและการตลาดสินค้าหัตถกรรมพื้นบ้านของกลุ่มสตรีและเยาวชนบ้านก่อสังกัดสหกรณ์การเกษตรกุดข้าวปุ้น จำกัด จังหวัดอุบลราชธานีการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพเศรษฐกิจและสังคมของสมาชิกกลุ่มสตรีและเยาวชนบ้านก่อ สังกัดสหกรณ์การเกษตรกุดข้าวปุ้น จำกัด จังหวัดอุบลราชธานี รวมทั้งการผลิตและการตลาดของสิ้นค้าหัตถกรรมพื้นบ้าน และศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนของการผลิตสิ้นค้าหัตถกรรมพื้นบ้านที่สำคัญ 6 รายการ คือ มังกรถักจากเชือกปอ ขนาดราคา 150 บาท มังกรถักจากเชือกปอ ขนาด 100 บาท และหมวกสานด้วยไม้ไผ่ โดยใช้ข้อมูลปฐมภูมิที่ได้จากการสัมภาษณ์สมาชิกกลุ่มสตรีและเยาวชนบ้านก่อ สังกัดสหกรณ์การเกษตรกุดข้าวปุ้น จำกัด จังหวัดอุบลราชธานี จำนวน 33 ราย เป็นข้อมูลการผลิตปี 2548
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
9 . การทบทวนวรรณกรรม / สารสนเทศ ( ข้อมูล ) ที่เกี่ยวข้อง
การวิจัยเรื่อง “การศึกษาการถักตุ๊กตาสัตว์จากเชือกปอ ของบ้านก่อ ตำบลกาบิน อำเภอกุดข้าวปุ้น จังหวัดอุบลราชธานี” เป็นการศึกษาข้อมูลการใช้ประโยชน์จากต้นปอ กระบวนการถักตุ๊กตาสัตว์จากเชือกปอ มีงานวิจัยในประเทศของ วิบูรย์ ลี้สุวรรณ ได้กล่าวว่า ภูมิปัญญาชาวบ้าน หมายถึง ความรู้ดั้งเดิมที่เกิดจากการทดลอง สามารถทำเป็นอาชีพหลักและรายได้เสริม มีแนวโน้มในการผลิตพืชเส้นใยเพิ่มมากขึ้น เช่น ไม้ไผ่ หวาย เถาวัลย์ กก เตย คล้า ฯลฯ ถูกนำมาใช้เป็นวัสดุในการผลิต
สุพรรณีอัสวศิริเลิศและกุศลฐินะกุลธุรกิจชุมชนหมายถึง " กิจกรรมทางเศรษฐกิจของชุมชนอันประกอบด้วยกิจกรรมทางการผลิตกิจกรรมทางการขายผลผลิตกิจกรรมการซื้อและการบริโภคของชุมชน "
แฉล้มมาศรวรรณาธนิตโสภโณดรและทองปูนเพ่งหากิจวิจัยเรื่องฯลฯโดยใช้เส้นใยปอแก้วปอคิวบาและปอกระเจามาถักเปียแล้วนำมาเย็บขึ้นรูปด้วยจักรหรือด้วยมือเป็นผลิตภัณฑ์รูปแบบต่างๆกันพบว่าเส้นใยคุณภาพดีของปอทุกชนิดสามารถนำมาผลิตภัณฑ์มีความสวยงามคล้ายคลึงกันผลิตภัณฑ์ประเภทหมวกสุภาพบุรุษและสตรีได้รับความสนใจและมีราคาดีได้ทำการเผยแพร่ความรู้แก่กลุ่มแม่บ้านเคหกิจอำเภอ/จังหวัดและเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรและได้นำผลิตภัณฑ์ไปจัดนิทรรศการในโอกาสต่าง นักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ได้ทำการวิจัยเรื่อง การผลิตตุ๊กตาสัตว์ด้วยเชือกปอในเชิงธุรกิจของกลุ่มสตรีสหกรณ์บ้านก่อ ตำบลกาบิน จังหวัดอุบลราชธานีการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการผลิตในเชิงธุรกิจของตุ๊กตาสัตว์ด้วยเชือกปอของกลุ่มสตรีสหกรณ์บ้านก่อ ตำบลกาบิน อำเภอกุดข้าวปุ้น จังหวัดอุบลราชธานี ตำบลกาบิน อำเภอกุดข้าวปุ้น จังหวัดอุบลราชธานี ประชากรในการวิจัย คือ คณะกรรมการบริหารกลุ่มสตรีสหกรณ์บ้านก่อ และสมาชิกกลุ่มสตรีสหกรณ์ เลือกกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยแบบเจาะจง ได้จำนวน 39 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการพรรณนาและการวิเคราะห์เนื้อหาผลการวิจัยพบว่า 1 การผลิตตุ๊กตาสัตว์ด้วยเชือกปอ ส่วนใหญ่ทำต่อเนื่องมาจากการประกอบอาชีพการผลิตตุ๊กตาสัตว์ด้วยเชือกปอของครอบครัว และทำต่อเนื่องจากบรรพบุรุษ 2 . การจำหน่ายตุ๊กตาสัตว์ด้วยเชือกปอ ส่วนใหญ่เป็นกระบวนการต่อเนื่องจากการผลิตกล่าวคือ ผู้ผลิตตุ๊กตาสัตว์ด้วยเชือกปอจะนำตุ๊กตาสัตว์ด้วยเชือกปอ จำหน่ายผ่านให้คนกลางที่มารับซื้อจากกลุ่มเพื่อนำไปจำหน่ายต่อ นอกจากนี้มีการนำไปจำหน่ายตามสถานที่จัดงานนิทรรศการ การออกร้านตามที่หน่วยงานราชการและเอกชนจัดขึ้น 3.ปัญหาและอุปสรรคของการผลิตและการจำหน่ายตุ๊กตาสัตว์ด้วยเชือกปอเกิดจากวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตตุ๊กตาสัตว์ด้วยเชือกปออยู่ไกลและหายากในบางฤดูกาลและบางรายจะมีปัญหาด้านขาดความชำนาญและทักษะในการผลิต 4การส่งเสริมของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะเป็นการให้ความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการผลิตและให้ความรู้กลุ่มสตรีสหกรณ์ในการด้านตลาดและเทคนิคทางการขาย
นางสาวชวยศ เกษมวนานิมิตวิจัยเรื่อง การผลิตและการตลาดสินค้าหัตถกรรมพื้นบ้านของกลุ่มสตรีและเยาวชนบ้านก่อสังกัดสหกรณ์การเกษตรกุดข้าวปุ้น จำกัด สังกัดสหกรณ์การเกษตรกุดข้าวปุ้นจำกัดจังหวัดอุบลราชธานีรวมทั้งการผลิตและการตลาดของสิ้นค้าหัตถกรรมพื้นบ้านและศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนของการผลิตสิ้นค้าหัตถกรรมพื้นบ้านที่สำคัญ 6 รายการความขนาดราคา 150 บาท มังกรถักจากเชือกปอ ขนาด 100 บาท และหมวกสานด้วยไม้ไผ่ โดยใช้ข้อมูลปฐมภูมิที่ได้จากการสัมภาษณ์สมาชิกกลุ่มสตรีและเยาวชนบ้านก่อ สังกัดสหกรณ์การเกษตรกุดข้าวปุ้น จำกัด จังหวัดอุบลราชธานี จำนวน 33 ราย 2548
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: