การศึกษาเรื่องอัตลักษณ์ทางเพศของกลุ่มความหลากหลายทางเพศมีจำนวนเพิ่มมาก การแปล - การศึกษาเรื่องอัตลักษณ์ทางเพศของกลุ่มความหลากหลายทางเพศมีจำนวนเพิ่มมาก ไทย วิธีการพูด

การศึกษาเรื่องอัตลักษณ์ทางเพศของกลุ

การศึกษาเรื่องอัตลักษณ์ทางเพศของกลุ่มความหลากหลายทางเพศมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นพร้อมกับจำนวนประชากรกลุ่มคนที่มีความหลากหลายทางเพศ (lesbian , gay , bisexual , transgender , questioning , queer หรือ "LGBTQ” ในภาษาอังกฤษ) ที่มีมากขึ้นในทุกสังคมในโลกปัจจุบัน จากการศึกษาอัตลักษณ์ต่างๆ ของกลุ่มคนเหล่านี้ นักวิจัยด้านสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาพบว่ากลุ่มคนเหล่านี้มีรูปแบบการใช้ชีวิตในสังคม การมีปฏิสัมพันธ์กับกลุ่มคนเพศอื่นๆ และการใช้ภาษาที่น่าสนใจ
การศึกษาวิจัยด้านอัตลักษณ์ทางเพศชี้ให้เห็นความสำคัญของการอยู่ร่วมกันในสังคม พหุวัฒนธรรมแต่ละวัฒนธรรมให้ความสำคัญเกี่ยวกับเพศแตกต่างกัน เช่น วัฒนธรรมไทยคาดหวังว่าผู้หญิงต้องเป็นแม่ศรีเรือนและทำงานบ้าน ส่วนผู้ชายออกไปทำงานนอกบ้านหาเลี้ยงครอบครัว หรือในศาสนาอิสลาม หากใครเป็นเพศที่สามถือว่าเป็นบาปเพราะว่าไม่มีความภาคภูมิใจในสิ่งที่พระเจ้าให้มา ส่วนวัฒนธรรมตะวันตกอาจมองว่าทุกคนมีสิทธิเสรีภาพอย่างเท่าเทียมกันไม่ว่าจะ เป็นทั้งชายหญิงเพศที่สาม ดังนั้น การศึกษาและวิจัยเกย์ในมิติ มุมมอง และประเด็นต่างๆ จึงแสดงให้เห็นถึงความพยายามของนักวิจัยในการสร้างความเข้าใจและหาวิธีให้เกย์อยู่ร่วมกับคนกลุ่มอื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข และให้คนทั่วไปยอมรับและไม่ตีตรา แบ่งแยกหรือตัดสินกลุ่มคนเหล่านี้ในแง่ลบ (รัตชากร หอมหวน , 2552) ดังนั้นหากคนทั่วไปเข้าใจว่าเพศสถานะสามารถเปลี่ยนแปลงได้ เช่น เข้าใจว่าการเป็นเกย์ ส่วนหนึ่งมิได้เกิดมากจากสาเหตุด้านชีววิทยาแต่เกิดจากความเปลี่ยนแปลงด้านพฤติกรรมและท่าทางที่โน้มเอียงไปในทางเดียวกันกับเพศหญิง คนจะเห็นว่าความหลากหลายทางเพศในปัจจุบัน ช่วยทำให้คนมีพื้นที่และสามารถแสดงบทบาทได้สอดคล้องกับพฤติกรรมหรือการแสดงออกทางเพศที่ตนเลือกมากกว่าที่เป็นมาในอดีต
การศึกษาภาษาที่เกย์ใช้ช่วยชี้ให้เห็นถึงวิธีคิดและความสามารถในการสร้างสรรค์วัฒนธรรมด้านต่างๆของเกย์ แม้ว่างานวิจัยด้านภาษาของผู้ใช้ภาษาที่เป็นเกย์ยังคงมีข้อกังขา เป็นต้นว่า ภาษาเกย์อาจไม่มีอยู่จริง หรือไม่อาจจัดเป็นภาษาได้ หรือภาษาเกย์ที่มีอยู่ในวัฒนธรรมต่างๆ เป็นเพียงภาษาที่กลุ่มผู้ใช้พัฒนารูปแบบทางภาษาจากภาษามาตรฐาน (สุทธิพงศ์ เพิ่มพูน อ้างถึง Adam , 1999) การศึกษาลักษณะภาษาเกย์ทำให้นักวิจัยเห็นพัฒนาการภาษาของเกย์และอิทธิพลของภาษาเกย์ที่มีผลต่อภาษามาตรฐาน อย่างไรก็ตาม แม้ว่าการศึกษาและงานวิจัยด้านภาษาเกย์จำนวนมากจะไม่สามารถชี้ชัดได้ว่าภาษาเกย์เป็นรูปแบบการใช้ภาษาเฉพาะกลุ่มและควรจัดไว้ในทำเนียบภาษาย่อย แต่งานวิจัยภาษาเกย์ส่วนมากชี้ให้เห็นลีลาการใช้ภาษาของกลุ่มคนที่เป็นเกย์ซึ่งมีลักษณะแตกต่างจากภาษาเพศชายและภาษาเพศหญิงอยู่หลายประการ
การแสดงออกและพฤติกรรมเป็นสิ่งที่บ่งชี้ถึงเพศของคนแต่ละคนมากกว่าลักษณะทางกายภาพของบุคคล จึงอาจกล่าวได้ว่า “เพศสถานะ” “เพศ” หรือ “เพศสภาพ” (gender) สามารถพิจารณาได้จากการแสดงออกทั้งทางร่างกายและคำพูด ในด้านสังคม ภาษาเกย์ (gay speak) มีบทบาทในการเติมเต็มหน้าที่ 3 รูปแบบได้แก่ 1.) เป็นภาษาลับที่ช่วยให้กลุ่มคนเพศที่สามแบบชายรักชายสามารถสื่อสารความหมายเฉพาะกลุ่ม หรือเรื่องราวเฉพาะบุคคลกับคนในกลุ่มเดียวกันในที่สาธารณะ 2.) เป็นภาษาที่ช่วยธำรงรักษา
อัตลักษณ์ของกลุ่มคนเพศที่สามแบบชายรักชายและสร้างเอกภาพในคนกลุ่มเดียวกัน ทั้งช่วยเสริมสร้างความแข็งแกร่งให้กับวัฒนธรรมย่อยเกย์อีกด้วย 3.) เป็นภาษาที่กลุ่มคนที่สามแบบชายรักชายใช้ในการเคลื่อนไหวและต่อสู้ทางการเมือง (สุทธิพงศ์ เพิ่มพูล อ้างถึง Hayes , 1981)
ในภาพรวมด้านการศึกษาภาษาศาสตร์ของกลุ่มอัตลักษณ์ทางเพศเกย์ นักภาษาศาสตร์ศึกษาการออกเสียงของเกย์ และการใช้ภาษาเป็นเครื่องมือในการบ่งบอกอัตลักษณ์ทางเพศของเกย์ และการใช้ภาษาเฉพาะเพื่อปกปิด หรือเปิดเผยอัตลักษณ์ทางเพศของตน งานวิจัยเกี่ยวกับเกย์ด้านภาษาในหน่วยงานทางภาษาศาสตร์ด้านต่างๆ เริ่มมีความหลากหลาย และการศึกษาวิเคราะห์เป็นการศึกษาเชิงลึกและมีมุมมองการศึกษาที่รอบด้านมากขึ้น ด้านการศึกษาด้านการออกเสียง นักสัทศาสตร์ส่วนหนึ่งพยายามหาหลักฐานทางเสียงและลักษณะการออกเสียงว่าลักษณะใดที่ทำให้เกย์ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง “เกย์สาว” ออกเสียงต่างจากชายหญิงทั่วไป และลักษณะเสียงใดบ้างที่เป็นลักษณะการออกเสียงหรือการใช้เสียงของเกย์ เกย์และส่วนหนึ่งพยายามเลียนแบบเสียงและลักษณะการออกเสียงของเพศหญิง เช่น ดัดเสียงให้แหลมกว่าระดับ
เสียงเพศชายปรกติ (สุทธิพงศ์ เพิ่มพูน อ้างถึง Rogers and Smyth , 2002) การออกเสียงให้ชัดและเน้นเสียงมากกว่าปรกติ การลากเสียงสระหรือพยัญชนะให้ยาว การใช้ระดับของการออกเสียง (pitch) ที่มีระดับสูง การลากเสียงเสียดแทรก (fricative sound) การออกเสียงของเกย์ที่เป็นเอกลักษณ์ด้วยลักษณะต่างๆ เหล่านี้ ทำให้คนทั่วไปสามารถแยกแยะระหว่างเสียงพูดของเพศชายและเสียงพูดของเกย์ได้ ผู้ฟังสามารถสังเกตช่วงเสียงที่กว้างกว่าปรกติของเกย์ และการเน้นเสียงพยางค์ในคำหลายพยางค์ (stress) หรือการยืดเสียงสระในพยางค์ในคำหลายพยางค์ ในประเทศไทย ยุทธนา นันทิวัธวิภา (2547) นักภาษาศาสตร์ภาษาไทยวิเคราะห์ลักษณะเฉพาะด้านการออกเสียงคำของเกย์ว่า เกย์ไทยสร้างคำและดัดแปลงเสียงแตกต่างจากเกย์ต่างชาติ โดยมักเปลี่ยนหน่วยเสียงพยัญชนะและหน่วยเสียงสระ แต่ใช้เสียงวรรณยุกต์เน้น หรือลากเสียงไม่ต่างจากเกย์ต่างชาติ ลักษณะของเสียงเกย์ในงานวิจัยของนักภาษาศาสตร์ทั้งสามทำให้ทราบว่าเกย์มีลักษณะเสียงพูดที่แตกต่างจากหญิงชายทั่วไป และคนทั่วไปส่วนหนึ่งสามารถระบุได้ว่าเสียงใดเป็นเสียงพูดของเกย์
คำและการใช้คำเป็นตัวอย่างลีลาเฉพาะของภาษาเกย์ที่เห็นได้ชัดอีกลักษณะหนึ่ง นอกเหนือจากด้านการออกเสียง เกย์ใช้คำศัพท์เฉพาะกลุ่ม ซึ่งมีทั้งคำศัพท์ที่เกี่ยวกับเรื่องเพศและคำศัพท์ทั่วไป เช่น คำนามที่ใช้อ้างถึงหรือใช้เรียกพฤติกรรม เช่น “bull” (ท่าร่วมเพศแบบหนึ่ง ในภาษาเกย์ หรือ ผลัก ดัน ขุดหรือแทรกตัวหรืออุปกรณ์บางอย่างเข้าไปอย่างแรง ในภาษามาตรฐาน) “dyke” (เกย์สาว ในภาษาเกย์ หรือ ทอม ในภาษามาตรฐาน) คำบอกอายุ เช่น “chicken” (เด็กหนุ่ม ในภาษาเกย์ หรือ ไก่หรือคนขี้ขลาด ในภาษามาตรฐาน) สถานที่ เช่น “tearoom” หรือ “cottage” หมายถึง ห้องน้ำสาธารณะที่เกย์ใช้ทำกิจกรรมทางเพศกับคนแปลกหน้า และอื่นๆ ตาม
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
การศึกษาเรื่องอัตลักษณ์ทางเพศของกลุ่มความหลากหลายทางเพศมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นพร้อมกับจำนวนประชากรกลุ่มคนที่มีความหลากหลายทางเพศ (เลสเบี้ยน เกย์ bisexual กลุ่ม การซักถาม แปลก ๆ หรือ "LGBTQ" ในภาษาอังกฤษ) ที่มีมากขึ้นในทุกสังคมในโลกปัจจุบันจากการศึกษาอัตลักษณ์ต่าง ๆ ของกลุ่มคนเหล่านี้นักวิจัยด้านสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาพบว่ากลุ่มคนเหล่านี้มีรูปแบบการใช้ชีวิตในสังคมการมีปฏิสัมพันธ์กับกลุ่มคนเพศอื่น ๆ และการใช้ภาษาที่น่าสนใจ การศึกษาวิจัยด้านอัตลักษณ์ทางเพศชี้ให้เห็นความสำคัญของการอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรมแต่ละวัฒนธรรมให้ความสำคัญเกี่ยวกับเพศแตกต่างกันเช่นวัฒนธรรมไทยคาดหวังว่าผู้หญิงต้องเป็นแม่ศรีเรือนและทำงานบ้านส่วนผู้ชายออกไปทำงานนอกบ้านหาเลี้ยงครอบครัวหรือในศาสนาอิสลามหากใครเป็นเพศที่สามถือว่าเป็นบาปเพราะว่าไม่มีความภาคภูมิใจในสิ่งที่พระเจ้าให้มาส่วนวัฒนธรรมตะวันตกอาจมองว่าทุกคนมีสิทธิเสรีภาพอย่างเท่าเทียมกันไม่ว่าจะเป็นทั้งชายหญิงเพศที่สามดังนั้นการศึกษาและวิจัยเกย์ในมิติรับและประเด็นต่าง ๆ จึงแสดงให้เห็นถึงความพยายามของนักวิจัยในการสร้างความเข้าใจและหาวิธีให้เกย์อยู่ร่วมกับคนกลุ่มอื่นในสังคมได้อย่างมีความสุขและให้คนทั่วไปยอมรับและไม่ตีตราแบ่งแยกหรือตัดสินกลุ่มคนเหล่านี้ในแง่ลบ (รัตชากรหอมหวน 2552) ดังนั้นหากคนทั่วไปเข้าใจว่าเพศสถานะสามารถเปลี่ยนแปลงได้เช่นเข้าใจว่าการเป็นเกย์ส่วนหนึ่งมิได้เกิดมากจากสาเหตุด้านชีววิทยาแต่เกิดจากความเปลี่ยนแปลงด้านพฤติกรรมและท่าทางที่โน้มเอียงไปในทางเดียวกันกับเพศหญิงคนจะเห็นว่าความหลากหลายทางเพศในปัจจุบันช่วยทำให้คนมีพื้นที่และสามารถแสดงบทบาทได้สอดคล้องกับพฤติกรรมหรือการแสดงออกทางเพศที่ตนเลือกมากกว่าที่เป็นมาในอดีต การศึกษาภาษาที่เกย์ใช้ช่วยชี้ให้เห็นถึงวิธีคิดและความสามารถในการสร้างสรรค์วัฒนธรรมด้านต่างๆของเกย์แม้ว่างานวิจัยด้านภาษาของผู้ใช้ภาษาที่เป็นเกย์ยังคงมีข้อกังขาเป็นต้นว่าภาษาเกย์อาจไม่มีอยู่จริงหรือไม่อาจจัดเป็นภาษาได้หรือภาษาเกย์ที่มีอยู่ในวัฒนธรรมต่าง ๆ เป็นเพียงภาษาที่กลุ่มผู้ใช้พัฒนารูปแบบทางภาษาจากภาษามาตรฐาน (สุทธิพงศ์เพิ่มพูนอ้างถึงอดัม 1999) การศึกษาลักษณะภาษาเกย์ทำให้นักวิจัยเห็นพัฒนาการภาษาของเกย์และอิทธิพลของภาษาเกย์ที่มีผลต่อภาษามาตรฐานอย่างไรก็ตามแม้ว่าการศึกษาและงานวิจัยด้านภาษาเกย์จำนวนมากจะไม่สามารถชี้ชัดได้ว่าภาษาเกย์เป็นรูปแบบการใช้ภาษาเฉพาะกลุ่มและควรจัดไว้ในทำเนียบภาษาย่อยแต่งานวิจัยภาษาเกย์ส่วนมากชี้ให้เห็นลีลาการใช้ภาษาของกลุ่มคนที่เป็นเกย์ซึ่งมีลักษณะแตกต่างจากภาษาเพศชายและภาษาเพศหญิงอยู่หลายประการ การแสดงออกและพฤติกรรมเป็นสิ่งที่บ่งชี้ถึงเพศของคนแต่ละคนมากกว่าลักษณะทางกายภาพของบุคคลจึงอาจกล่าวได้ว่า "เพศสถานะ" "เพศ" หรือ "เพศสภาพ" (เพศ) สามารถพิจารณาได้จากการแสดงออกทั้งทางร่างกายและคำพูดในด้านสังคมภาษาเกย์ (เกย์พูด) มีบทบาทในการเติมเต็มหน้าที่ 3 รูปแบบได้แก่ 1.) เป็นภาษาลับที่ช่วยให้กลุ่มคนเพศที่สามแบบชายรักชายสามารถสื่อสารความหมายเฉพาะกลุ่มหรือเรื่องราวเฉพาะบุคคลกับคนในกลุ่มเดียวกันในที่สาธารณะ 2) เป็นภาษาที่ช่วยธำรงรักษาอัตลักษณ์ของกลุ่มคนเพศที่สามแบบชายรักชายและสร้างเอกภาพในคนกลุ่มเดียวกันทั้งช่วยเสริมสร้างความแข็งแกร่งให้กับวัฒนธรรมย่อยเกย์อีกด้วย 3) เป็นภาษาที่กลุ่มคนที่สามแบบชายรักชายใช้ในการเคลื่อนไหวและต่อสู้ทางการเมือง (สุทธิพงศ์เพิ่มพูลอ้างถึงเฮยส์ 1981) ในภาพรวมด้านการศึกษาภาษาศาสตร์ของกลุ่มอัตลักษณ์ทางเพศเกย์นักภาษาศาสตร์ศึกษาการออกเสียงของเกย์และการใช้ภาษาเป็นเครื่องมือในการบ่งบอกอัตลักษณ์ทางเพศของเกย์และการใช้ภาษาเฉพาะเพื่อปกปิดหรือเปิดเผยอัตลักษณ์ทางเพศของตนงานวิจัยเกี่ยวกับเกย์ด้านภาษาในหน่วยงานทางภาษาศาสตร์ด้านต่าง ๆ เริ่มมีความหลากหลายและการศึกษาวิเคราะห์เป็นการศึกษาเชิงลึกและมีมุมมองการศึกษาที่รอบด้านมากขึ้นด้านการศึกษาด้านการออกเสียงนักสัทศาสตร์ส่วนหนึ่งพยายามหาหลักฐานทางเสียงและลักษณะการออกเสียงว่าลักษณะใดที่ทำให้เกย์โดยเฉพาะอย่างยิ่ง "เกย์สาว" ออกเสียงต่างจากชายหญิงทั่วไปและลักษณะเสียงใดบ้างที่เป็นลักษณะการออกเสียงหรือการใช้เสียงของเกย์เกย์และส่วนหนึ่งพยายามเลียนแบบเสียงและลักษณะการออกเสียงของเพศหญิงเช่นดัดเสียงให้แหลมกว่าระดับเสียงเพศชายปรกติ (สุทธิพงศ์ เพิ่มพูน อ้างถึง Rogers and Smyth , 2002) การออกเสียงให้ชัดและเน้นเสียงมากกว่าปรกติ การลากเสียงสระหรือพยัญชนะให้ยาว การใช้ระดับของการออกเสียง (pitch) ที่มีระดับสูง การลากเสียงเสียดแทรก (fricative sound) การออกเสียงของเกย์ที่เป็นเอกลักษณ์ด้วยลักษณะต่างๆ เหล่านี้ ทำให้คนทั่วไปสามารถแยกแยะระหว่างเสียงพูดของเพศชายและเสียงพูดของเกย์ได้ ผู้ฟังสามารถสังเกตช่วงเสียงที่กว้างกว่าปรกติของเกย์ และการเน้นเสียงพยางค์ในคำหลายพยางค์ (stress) หรือการยืดเสียงสระในพยางค์ในคำหลายพยางค์ ในประเทศไทย ยุทธนา นันทิวัธวิภา (2547) นักภาษาศาสตร์ภาษาไทยวิเคราะห์ลักษณะเฉพาะด้านการออกเสียงคำของเกย์ว่า เกย์ไทยสร้างคำและดัดแปลงเสียงแตกต่างจากเกย์ต่างชาติ โดยมักเปลี่ยนหน่วยเสียงพยัญชนะและหน่วยเสียงสระ แต่ใช้เสียงวรรณยุกต์เน้น หรือลากเสียงไม่ต่างจากเกย์ต่างชาติ ลักษณะของเสียงเกย์ในงานวิจัยของนักภาษาศาสตร์ทั้งสามทำให้ทราบว่าเกย์มีลักษณะเสียงพูดที่แตกต่างจากหญิงชายทั่วไป และคนทั่วไปส่วนหนึ่งสามารถระบุได้ว่าเสียงใดเป็นเสียงพูดของเกย์ คำและการใช้คำเป็นตัวอย่างลีลาเฉพาะของภาษาเกย์ที่เห็นได้ชัดอีกลักษณะหนึ่ง นอกเหนือจากด้านการออกเสียง เกย์ใช้คำศัพท์เฉพาะกลุ่ม ซึ่งมีทั้งคำศัพท์ที่เกี่ยวกับเรื่องเพศและคำศัพท์ทั่วไป เช่น คำนามที่ใช้อ้างถึงหรือใช้เรียกพฤติกรรม เช่น “bull” (ท่าร่วมเพศแบบหนึ่ง ในภาษาเกย์ หรือ ผลัก ดัน ขุดหรือแทรกตัวหรืออุปกรณ์บางอย่างเข้าไปอย่างแรง ในภาษามาตรฐาน) “dyke” (เกย์สาว ในภาษาเกย์ หรือ ทอม ในภาษามาตรฐาน) คำบอกอายุ เช่น “chicken” (เด็กหนุ่ม ในภาษาเกย์ หรือ ไก่หรือคนขี้ขลาด ในภาษามาตรฐาน) สถานที่ เช่น “tearoom” หรือ “cottage” หมายถึง ห้องน้ำสาธารณะที่เกย์ใช้ทำกิจกรรมทางเพศกับคนแปลกหน้า และอื่นๆ ตาม
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
(เลสเบี้ยนเกย์กะเทยแปลงเพศ, คำถาม, เกย์หรือ "LGBTQ" ในภาษาอังกฤษ) จากการศึกษาอัตลักษณ์ต่างๆของกลุ่มคนเหล่านี้
เช่น หรือในศาสนาอิสลาม เป็นทั้งชายหญิงเพศที่สามดังนั้นการศึกษาและวิจัยเกย์ในมิติมุมมองและประเด็นต่างๆ และให้คนทั่วไปยอมรับและไม่ตีตรา (รัตชากรหอมหวน, 2552) เช่นเข้าใจว่าการเป็นเกย์
เป็นต้นว่าภาษาเกย์อาจไม่มีอยู่จริงหรือไม่อาจจัดเป็นภาษาได้ (สุทธิพงศ์เพิ่มพูนอ้างถึงอดัม, 1999) อย่างไรก็ตาม
จึงอาจกล่าวได้ว่า "เพศสถานะ" "เพศ" หรือ "เพศสภาพ" (เพศ) ในด้านสังคมภาษาเกย์ (เกย์พูด) มีบทบาทในการเติมเต็มหน้าที่ 3 รูปแบบ ได้แก่ 1. ) 2. )
3. ) (สุทธิพงศ์เพิ่มพูลอ้างถึงเฮย์ส
และการใช้ภาษาเฉพาะเพื่อปกปิดหรือเปิดเผยอัตลักษณ์ทางเพศของตน เริ่มมีความหลากหลาย ด้านการศึกษาด้านการออกเสียง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง "เกย์สาว" ออกเสียงต่างจากชายหญิงทั่วไป เช่น
(สุทธิพงศ์เพิ่มพูนอ้างถึงโรเจอร์สและเบิร์นส, 2002) การลากเสียงสระหรือพยัญชนะให้ยาวการใช้ระดับของการออกเสียง (สนาม) ที่มีระดับสูงการลากเสียงเสียดแทรก (เสียงเสียดแทรก) เหล่านี้ (ความเครียด) ในประเทศไทยยุทธนานันทิวั ธ วิภา (2547) แต่ใช้เสียงวรรณยุกต์เน้น
นอกเหนือจากด้านการออกเสียงเกย์ใช้คำศัพท์เฉพาะกลุ่ม เช่น "วัว" เช่น (ท่าร่วมเพศแบบหนึ่งในภาษาเกย์หรือผลักดัน ในภาษามาตรฐาน) "เลสเบี้ยน" (เกย์สาวในภาษาเกย์หรือทอมในภาษามาตรฐาน) คำบอกอายุเช่น "ไก่" (เด็กหนุ่มในภาษาเกย์หรือไก่หรือคนขี้ขลาดในภาษามาตรฐาน) สถานที่เช่น "ร้านน้ำชา" หรือ " คอทเทจ "หมายถึง และอื่น ๆ ตาม
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
การศึกษาเรื่องอัตลักษณ์ทางเพศของกลุ่มความหลากหลายทางเพศมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นพร้อมกับจำนวนประชากรกลุ่มคนที่มีความหลากหลายทางเพศ ( เลสเบี้ยน , เกย์ , กะเทย , เพศ , การตั้งคำถามเกย์ค็อค " LGBTQ " ในภาษาอังกฤษ ) ที่มีมากขึ้นในทุกสังคมในโลกปัจจุบันจากการศึกษาอัตลักษณ์ต่างๆของกลุ่มคนเหล่านี้นักวิจัยด้านสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาพบว่ากลุ่มคนเหล่านี้มีรูปแบบการใช้ชีวิตในสังคมและการใช้ภาษาที่น่าสนใจ
การศึกษาวิจัยด้านอัตลักษณ์ทางเพศชี้ให้เห็นความสำคัญของการอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรมแต่ละวัฒนธรรมให้ความสำคัญเกี่ยวกับเพศแตกต่างกันเช่นวัฒนธรรมไทยคาดหวังว่าผู้หญิงต้องเป็นแม่ศรีเรือนและทำงานบ้านหรือในศาสนาอิสลามหากใครเป็นเพศที่สามถือว่าเป็นบาปเพราะว่าไม่มีความภาคภูมิใจในสิ่งที่พระเจ้าให้มาส่วนวัฒนธรรมตะวันตกอาจมองว่าทุกคนมีสิทธิเสรีภาพอย่างเท่าเทียมกันไม่ว่าจะเป็นทั้งชายหญิงเพศที่สามการศึกษาและวิจัยเกย์ในมิติมุมมองและประเด็นต่างๆจึงแสดงให้เห็นถึงความพยายามของนักวิจัยในการสร้างความเข้าใจและหาวิธีให้เกย์อยู่ร่วมกับคนกลุ่มอื่นในสังคมได้อย่างมีความสุขแบ่งแยกหรือตัดสินกลุ่มคนเหล่านี้ในแง่ลบ ( หอมหวนรัตชากร ,2552 ) ดังนั้นหากคนทั่วไปเข้าใจว่าเพศสถานะสามารถเปลี่ยนแปลงได้เช่นเข้าใจว่าการเป็นเกย์คนจะเห็นว่าความหลากหลายทางเพศในปัจจุบันช่วยทำให้คนมีพื้นที่และสามารถแสดงบทบาทได้สอดคล้องกับพฤติกรรมหรือการแสดงออกทางเพศที่ตนเลือกมากกว่าที่เป็นมาในอดีต
การศึกษาภาษาที่เกย์ใช้ช่วยชี้ให้เห็นถึงวิธีคิดและความสามารถในการสร้างสรรค์วัฒนธรรมด้านต่างๆของเกย์แม้ว่างานวิจัยด้านภาษาของผู้ใช้ภาษาที่เป็นเกย์ยังคงมีข้อกังขาเป็นต้นว่าภาษาเกย์อาจไม่มีอยู่จริงหรือภาษาเกย์ที่มีอยู่ในวัฒนธรรมต่างๆเป็นเพียงภาษาที่กลุ่มผู้ใช้พัฒนารูปแบบทางภาษาจากภาษามาตรฐาน ( สุทธิพงศ์เพิ่มพูนอ้างถึงอดัม
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: