บทที่ 1  บทนำ1.1แนวคิด ที่มา และความสำคัญ  ดนตรีก่อเกิดเพราะการได้ยินเ การแปล - บทที่ 1  บทนำ1.1แนวคิด ที่มา และความสำคัญ  ดนตรีก่อเกิดเพราะการได้ยินเ ไทย วิธีการพูด

บทที่ 1 บทนำ1.1แนวคิด ที่มา และควา

บทที่ 1
บทนำ

1.1แนวคิด ที่มา และความสำคัญ
ดนตรีก่อเกิดเพราะการได้ยินเสียงจากธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมรอบตัวของมนุษย์ มีการรับรู้ เลียนแบบ ศึกษาจังหวะ ระดับเสียง ความดัง-เบา ความกลมกลืนและแตกต่างของเสียงแต่ละประเภท จากใกล้ตัวที่สุดคือชีพจรการเต้นของหัวใจ การเคลื่อนไหวร่างกาย ไปถึงเสียงจากธรรมชาติและสัตว์นานา

ดนตรีไทย เป็นแบบอย่างมาจากอินเดียโบราณ ที่สันนิษฐานกันอย่างนี้คงเป็นเพราะ ในสมัยสุโขทัยเรา ได้รับอิทธิพล ทางศาสนา ภาษา ศิลปะ วัฒนธรรมด้านนาฏศิลป์และการละครมาจากอินเดีย จึงเกิดความ เชื่อว่าเราคงได้รับอิทธิพล ทางดนตรีมาด้วย ทั้งนี้เพราะการศึกษาเรื่องราวของดนตรี เป็นการค้นหา หลักฐานสืบประวัติได้ยากที่สุด เพราะดนตรี เป็นการเลียนเสียงธรรมชาติ จึงเป็นการยากที่จะใช้เครื่องมือต่างๆ บันทึกเสียง ดนตรีเหล่านั้นไว้เป็นหลักฐาน และใน สมัยก่อนยังไม่มีผู้ประดิษฐ์เครื่องบันทึกเสียงขึ้น นอกจากจะมีผู้จดจำ ทำนองเพลงต่างๆขึ้นแล้วยอมถ่ายทอดให้คนอื่น ได้ฟังเพลงนั้นบ้าง โดยเฉพาะ ดนตรีไทยเพิ่งมีการบันทึกเป็นโน๊ตตัวเลขเป็นครั้งแรก เมื่อสมัยรัชกาลที่ 6 นี้เองโดยการคิดขึ้นของหลวงประดิษฐ์ไพเราะในเรื่องของการถ่ายทอดเพลง ถ้าไม่ใช่ศิษย์รักจริงๆ ครูก็ไม่ถ่ายทอดให้ ในที่สุดเพลงนั้นก็ตายไปกับครู เพลงที่เหลืออยู่ก็ มักไม่ปรากฏหลักฐานแน่
ไทยมีดนตรีประจำชาติที่ประดิษฐ์ขึ้นใช้เองจากทรัพยากรธรรมชาติซึ่งมีอยู่อย่าง อุดมสมบูรณ์ในท้องถิ่น เช่นไม้ไผ่ ไม้ เขาสัตว์ หนังสัตว์ ฯลฯ เครื่องดนตรีดั้งเดิมของไทยมีชื่อเรียกตาม สำเนียงเสียง ของเครื่องดนตรีนั้นๆ โดยบัญญัติคำที่มีลักษณะเป็นคำไทยคือ คำโดด เช่น เกราะ โกร่ง ฆ้อง กลอง กรับ ฉาบ ฉิ่ง ปี่ ขลุ่ย เพียะ ซอ และแคน ต่อมามีการประดิษฐ์คิดเพิ่มเติมขึ้นเรื่อยๆ เช่นเอาไม้มาทำอย่างเดียวกับกรับ แล้วเอาวาง เรียงกันไปหลายๆ อันโดยทำให้มีเสียงสูงต่ำไล่กันไปตามลำดับ แล้วเอาเชือกมา ร้อยหัวท้ายของกรับให้ติดกันเป็นพืด ขึงบนรางไม้ เราเรียกว่า "ระนาด" เป็นต้น



เมื่อชนชาวไทยอพยพลงมาตั้งถิ่นฐานทางใต้ ได้มาพบเครื่องดนตรีของอินเดียซึ่งชนชาติมอญ เขมร รับไว้ก่อนจึงรับเอาดนตรีแบบอินเดียผสมกับแบบมอญ เขมร เข้ามาปะปนกับเครื่องดนตรีไทย ทำให้เกิดเครื่องดนตรีชนิดใหม่ขึ้นหลายอย่างเช่น พิณ สังข์ ปี่ไฉน บัณเฑาะว์ กระจับปี่ จะเข้ และโทน ทับ เป็นต้น ต่อมาเมื่อมีความสัมพันธ์กับประเทศเพื่อนบ้านและประเทศตะวันตก ได้มีการนำเครื่องดนตรีของประเทศ เหล่านั้นมาผสมเล่นกับวงดนตรีของไทยด้วย เป็นการผสมกลมกลืนความแปลกใหม่เพิ่มรสชาติเพิ่มขึ้นอีก เช่น กลองแขก แงชวา กลองแขกของมลายู เปิงมางของมอญ กลอง ไวโอลิน ออร์แกน และเปียโน เป็นต้น

1.2 วัตถุประสงค์
1.2.1 เพื่อให้รู้เกี่ยวกับเครื่องดนตรีสากล
1.2.2 เพื่อบอกประโยชน์ของเครื่องดนตรีสากล
1.2.3 บอกวิธีการเล่นของเครื่องดนตรีสากล

1.3 ขอบเขตของโครงงาน
เพื่อให้ได้ผลการศึกษาที่น่าเชื่อถือ นักเรียนต้องกําหนดขอบเขตการทําโครงงานซึ่งได้แก่ การกําหนดประชากรว่าเป็นสิ่งมีชีวิต หรือสิ่งไม่มีชีวิต ระบุชื่อ กลุ่ม ประเภท แหล่งที่อยู่/ผลิต และช่วงเวลาที่ทําการทดลอง เช่น เดือน ปี รวมทั้งกําหนดกลุ่มตัวอย่างที่มีขนาดเหมาะสมเป็นตัวแทนของประชากรที่สนใจศึกษา และกําหนดตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรใดที่ศึกษาเป็นตัวแปรต้น ตัวแปรใดที่ศึกษาเป็นตัวแปรตาม และตัวแปรใดบ้างเป็นตัวแปรควบคุมเพื่อเป็นแนวทางการออกแบบการทดลอง ตลอดจนมีผลต่อการเขียนรายงานการทําโครงงานฯ ที่ถูกต้อง สื่อความหมายให้ผู้ฟังและผู้อ่านเข้าใจตรงกัน

1.4 ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.4.1 ได้รู้จักการเล่นเครื่องดนตรีสากลอย่างถูกวิธี
1.4.2 ได้รู้จักประโยชน์ของดนตรีสากล



0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
บทที่ 1 บทนำ1.1แนวคิด ที่มาและความสำคัญ ดนตรีก่อเกิดเพราะการได้ยินเสียงจากธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมรอบตัวของมนุษย์มีการรับรู้เลียนแบบศึกษาจังหวะระดับเสียงความดังเบาความกลมกลืนและแตกต่างของเสียงแต่ละประเภทจากใกล้ตัวที่สุดคือชีพจรการเต้นของหัวใจการเคลื่อนไหวร่างกายไปถึงเสียงจากธรรมชาติและสัตว์นานา ดนตรีไทยเป็นแบบอย่างมาจากอินเดียโบราณที่สันนิษฐานกันอย่างนี้คงเป็นเพราะในสมัยสุโขทัยเราได้รับอิทธิพลทางศาสนาภาษาศิลปะวัฒนธรรมด้านนาฏศิลป์และการละครมาจากอินเดียจึงเกิดความเชื่อว่าเราคงได้รับอิทธิพลทางดนตรีมาด้วยทั้งนี้เพราะการศึกษาเรื่องราวของดนตรีเป็นการค้นหาหลักฐานสืบประวัติได้ยากที่สุดเพราะดนตรีเป็นการเลียนเสียงธรรมชาติจึงเป็นการยากที่จะใช้เครื่องมือต่าง ๆ บันทึกเสียงดนตรีเหล่านั้นไว้เป็นหลักฐานและในสมัยก่อนยังไม่มีผู้ประดิษฐ์เครื่องบันทึกเสียงขึ้นนอกจากจะมีผู้จดจำทำนองเพลงต่างๆขึ้นแล้วยอมถ่ายทอดให้คนอื่นได้ฟังเพลงนั้นบ้างโดยเฉพาะดนตรีไทยเพิ่งมีการบันทึกเป็นโน๊ตตัวเลขเป็นครั้งแรกเมื่อสมัยรัชกาลที่ 6 นี้เองโดยการคิดขึ้นของหลวงประดิษฐ์ไพเราะในเรื่องของการถ่ายทอดเพลงถ้าไม่ใช่ศิษย์รักจริง ๆ ครูก็ไม่ถ่ายทอดให้ในที่สุดเพลงนั้นก็ตายไปกับครูเพลงที่เหลืออยู่ก็มักไม่ปรากฏหลักฐานแน่ ไทยมีดนตรีประจำชาติที่ประดิษฐ์ขึ้นใช้เองจากทรัพยากรธรรมชาติซึ่งมีอยู่อย่างอุดมสมบูรณ์ในท้องถิ่นเช่นไม้ไผ่ไม้เขาสัตว์หนังสัตว์ฯลฯ เครื่องดนตรีดั้งเดิมของไทยมีชื่อเรียกตามสำเนียงเสียงของเครื่องดนตรีนั้น ๆ โดยบัญญัติคำที่มีลักษณะเป็นคำไทยคือคำโดดเช่นเกราะโกร่งฆ้องกลองกรับฉาบฉิ่งปี่ขลุ่ยเพียะซอและแคนต่อมามีการประดิษฐ์คิดเพิ่มเติมขึ้นเรื่อย ๆ เช่นเอาไม้มาทำอย่างเดียวกับกรับแล้วเอาวางเรียงกันไปหลาย ๆ อันโดยทำให้มีเสียงสูงต่ำไล่กันไปตามลำดับแล้วเอาเชือกมาร้อยหัวท้ายของกรับให้ติดกันเป็นพืดขึงบนรางไม้เราเรียกว่า "ระนาด" เป็นต้น เมื่อชนชาวไทยอพยพลงมาตั้งถิ่นฐานทางใต้ได้มาพบเครื่องดนตรีของอินเดียซึ่งชนชาติมอญเขมรรับไว้ก่อนจึงรับเอาดนตรีแบบอินเดียผสมกับแบบมอญเขมรเข้ามาปะปนกับเครื่องดนตรีไทยทำให้เกิดเครื่องดนตรีชนิดใหม่ขึ้นหลายอย่างเช่นพิณสังข์ปี่ไฉนบัณเฑาะว์กระจับปี่จะเข้และโทนทับเป็นต้นต่อมาเมื่อมีความสัมพันธ์กับประเทศเพื่อนบ้านและประเทศตะวันตกได้มีการนำเครื่องดนตรีของประเทศเหล่านั้นมาผสมเล่นกับวงดนตรีของไทยด้วยเป็นการผสมกลมกลืนความแปลกใหม่เพิ่มรสชาติเพิ่มขึ้นอีกเช่นกลองแขกแงชวากลองแขกของมลายูเปิงมางของมอญกลองไวโอลินออร์แกนและเปียโนเป็นต้น 1.2 วัตถุประสงค์ 1.2.1 เพื่อให้รู้เกี่ยวกับเครื่องดนตรีสากล 1.2.2 เพื่อบอกประโยชน์ของเครื่องดนตรีสากล 1.2.3 บอกวิธีการเล่นของเครื่องดนตรีสากล 1.3 ขอบเขตของโครงงาน เพื่อให้ได้ผลการศึกษาที่น่าเชื่อถือนักเรียนต้องกําหนดขอบเขตการทําโครงงานซึ่งได้แก่การกําหนดประชากรว่าเป็นสิ่งมีชีวิตหรือสิ่งไม่มีชีวิตระบุชื่อกลุ่มประเภทแหล่งที่อยู่/ผลิตและช่วงเวลาที่ทําการทดลองเช่นเดือนปีรวมทั้งกําหนดกลุ่มตัวอย่างที่มีขนาดเหมาะสมเป็นตัวแทนของประชากรที่สนใจศึกษาและกําหนดตัวแปรที่ศึกษาตัวแปรใดที่ศึกษาเป็นตัวแปรต้นตัวแปรใดที่ศึกษาเป็นตัวแปรตามและตัวแปรใดบ้างเป็นตัวแปรควบคุมเพื่อเป็นแนวทางการออกแบบการทดลองตลอดจนมีผลต่อการเขียนรายงานการทําโครงงานฯ ที่ถูกต้องสื่อความหมายให้ผู้ฟังและผู้อ่านเข้าใจตรงกัน1.4 ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.4.1 ได้รู้จักการเล่นเครื่องดนตรีสากลอย่างถูกวิธี1.4.2 ได้รู้จักประโยชน์ของดนตรีสากล
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
บทที่ 1
บทนำ1.1 แนวคิดที่มา มีการรับรู้เลียนแบบศึกษาจังหวะ ระดับเสียงความดัง - เบา การเคลื่อนไหวร่างกาย เป็นแบบอย่างมาจากอินเดียโบราณ ในสมัยสุโขทัยเราได้รับอิทธิพลทาง ศาสนาภาษาศิลปะ จึงเกิดความเชื่อว่าเราคงได้ รับอิทธิพลทางดนตรีมาด้วย เป็นการค้นหาหลักฐานสืบประวัติได้ยากที่สุด เพราะดนตรีเป็นการเลียนเสียงธรรมชาติ บันทึกเสียงดนตรีเหล่านั้นไว้เป็นหลักฐาน และใน นอกจากจะมีผู้จดจำ ได้ฟังเพลงนั้นบ้างโดยเฉพาะ เมื่อสมัยรัชกาลที่ 6 ถ้าไม่ใช่ศิษย์รักจริงๆครูก็ไม่ ถ่ายทอดให้ในที่สุดเพลงนั้นก็ตายไปกับครูเพลงที่เหลืออยู่ก็ อุดมสมบูรณ์ในท้องถิ่นเช่นไม้ไผ่ไม้เขา สัตว์หนังสัตว์ ฯลฯ สำเนียงเสียงของเครื่องดนตรีนั้น ๆ คำโดดเช่นเกราะโกร่งฆ้องกลองก รับฉาบฉิ่งปี่ขลุ่ยเพียะซอและแคน เช่นเอาไม้มาทำอย่างเดียวกับ กรับแล้วเอาวางเรียงกันไปหลาย ๆ แล้วเอาเชือกมา ขึงบนรางไม้เราเรียกว่า "ระนาด" เขมร เขมรเข้ามาปะปนกับเครื่องดนตรีไทย พิณสังข์ปี่ไฉนบัณเฑาะว์กระจับปี่จะเข้และโทน ทับเป็นต้น ได้มีการนำเครื่องดนตรีของประเทศ เช่นกลองแขกแงชวากลองแขกของ มลายูเปิงมางของมอญกลองไวโอลินออร์แกนและเปียโนเป็นต้น 1.2 วัตถุประสงค์1.2.1 หรือสิ่งไม่มีชีวิตระบุชื่อกลุ่มประเภท แหล่งที่อยู่ / ผลิตและช่วงเวลาที่ทําการทดลอง เช่นเดือนปี และกําหนดตัวแปรที่ศึกษาตัวแปร ใดที่ศึกษาเป็นตัวแปรต้นตัวแปรใดที่ศึกษาเป็นตัวแปรตาม ที่ถูกต้อง ผลที่คาดว่าจะได้รับ1.4.1 ได้รู้จักประโยชน์ของดนตรีสากล

























การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: