เศรษฐกิจพอเพียง พระราชดำรัส พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ณ ศาลาดุสิตาลัย การแปล - เศรษฐกิจพอเพียง พระราชดำรัส พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ณ ศาลาดุสิตาลัย ไทย วิธีการพูด

เศรษฐกิจพอเพียง พระราชดำรัส พระบาทส

เศรษฐกิจพอเพียง

พระราชดำรัส พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ณ ศาลาดุสิตาลัย ๔ ธันวาคม ๒๕๓๘

ความพอดีด้านสังคม
ความพอดีด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
ความพอดีด้านเทคโนโลยี
ความพอดีด้านเศรษฐกิจ

กระแสพระราชดำรัส
"ทฤษฎีใหม่นี้มีไว้สำหรับป้องกัน หรือถ้าในโอกาสปกติ ทำให้ร่ำรวยขึ้น ถ้าในโอกาสที่มีอุทกภัยก็สามารถ ที่จะฟื้น ตัวได้ โดยไม่ต้องให้ทางราชการไปช่วยมากเกินไป ทำให้ประชาชนพึ่งตนเองได้อย่างดี"
พระราชดำรัส พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ณ ศาลาดุสิตาลัย ๔ ธันวาคม ๒๕๓๘
"ขอให้ทุกคนมีความปราถนาที่จะให้เมืองไทยพออยู่พอกิน มีความสงบและทำงานตั้งอธิษฐานตั้งปณิธาน ในทางนี้ ที่จะให้เมืองไทยอยู่แบบพออยู่พอกิน ไม่ใช่ว่าจะรุ่งเรืองอย่างยอด แต่ว่ามีความพออยู่พอกิน มีความ สงบ เปรียบเทียบ กับประเทศอื่น ๆ ถ้าเรารักษาความพออยู่พอกินนี้ได้ เราก็จะยอดยิ่งยวดได้ ฉะนั้น ถ้าท่าน ซึ่งถือว่าเป็นผู้มีความคิด และมีอิทธิพลมีพลังที่จะทำให้ผู้อื่น ซึ่งมีความคิดเหมือนกัน ช่วยกันรักษาส่วนรวม ให้อยู่ดีกินดีพอสมควร ขอย้ำพอควร พออยู่พอกิน มีความสงบ ไม่ให้คนอื่นมาแย่งคุณสมบัตินี้จากเราไปได้ ก็จะเป็นของขวัญวันเกิดที่ถาวรที่จะมีคุณค่าอยู่ ตลอดกาล"


ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกิน โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่น การผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ
ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนคำนึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทำนั้น ๆ อย่างรอบคอบ
การมีภูมิคุ้มกันทีดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล
เงื่อนไข
การตัดสินใจและการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียง ต้องอาศัย ทั้งความรู้และคุณธรรมเป็นพื้นฐาน
เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ที่ เกี่ยวข้อง อย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่จะนำความรู้เหล่านั้นมาพิจารณา ให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ

เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้าง ประกอบด้วยมีความตระหนัก ในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีความอดทน มีความเพียร ใช้สติ ปัญญาในการ ดำเนินชีวิต

เศรษฐกิจพอเพียง คือ พระราชปรัชญาซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาพระราชทานแก่พสกนิกรชาวไทย เพื่อให้สังคมไทยมีชีวิตดำรงอยู่ได้ อย่างมั่นคงและยั่งยืน ไม่ว่าเมื่อต้องเผชิญกับวิกฤตการณ์ หรือ การเปลี่ยนแปลงใด ๆ บนพื้นฐานวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทยนำมาประยุกต์ใช้
"ความพอเพียง" หมายถึง ความพอประมาณอย่างมีเหตุผล โดยสร้างภูมิ คุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร เพื่อที่จะรองรับการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็ว กว้างขวาง ทั้ง ทางด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี โดย อาศัยความรอบรู้ รอบคอบ และความระมัดระวังในการนำวิชาการต่าง ๆ มาใช้ วางแผนและดำเนินการทุกขั้นตอน ควบคู่ไปกับการสร้างพื้นฐานจิตใจของคนใน ชาติทุกระดับ ให้สำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต ดำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร ความมีสติปัญญา และความรอบคอบ มีเหตุผล
โดยที่ความพอประมาณนั้น หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มาก เกินไป ไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่น การผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดับพอ ประมาณ ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของพอเพียงนั้น จะ ต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดและผลที่จะ เกิดขึ้นอย่างรอบคอบ



การนำหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้นั้น ขั้นแรก ต้องยึดหลัก "พึ่งตนเอง" คือ พยายามพึ่งตนเองให้ได้ก่อน ในแต่ละครอบครัวมีการบริหารจัดการอย่างพอดี ประหยัดไม่ฟุ่มเฟือย สมาชิกในครอบครัวแต่ละคนต้องรู้จักตนเอง เช่น ข้อมูล รายรับ-รายจ่าย ในครอบครัวของตนเอง สามารถรักษาระดับการใช้จ่ายของตน ไม่ให้เป็นหนี้ และรู้จักดึงศักยภาพในตัวเองในเรื่องของปัจจัยสี่ให้ได้ในระดับหนึ่ง
การพัฒนาตนเองให้สามารถ "อยู่ได้อย่างพอเพียง" คือ ดำเนินชีวิตโดยยึด หลักทางสายกลางให้อยู่ได้อย่างสมดุล คือ มีความสุขที่แท้ ไม่ให้รู้สึกขาดแคลน จนต้องเบียดเบียนตนเอง หรือดำเนินชีวิตอย่างเกินพอดี จนต้องเบียดเบียนผู้อื่น หรือเบียดเบียนสิ่งแวดล้อม โดย
- ยึดหลัก พออยู่ พอกิน พอใช้
- ยึดความประหยัด ตัดทอนค่าใช้จ่าย ลดความฟุ่มเฟือยในการดำรงชีพ
- ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความถูกต้องและสุจริต
- ละเลิกการแก่งแย่งผลประโยชน์และแข่งขันในการค้าขาย ประกอบอาชีพ
แบบต่อสู้กันอย่างรุนแรง
- มุ่งเน้นหาข้าวหาปลา ก่อนมุ่งเน้นหาเงินหาทอง
- ทำมาหากินก่อนทำมาค้าขาย
- ภูมิปัญญาชาวบ้านและที่ดินทำกิน คือ ทุนทางสังคม
- ตั้งสติที่มั่นคง ร่างกายที่แข็งแรง ปัญญาที่เฉียบแหลม
นำความรู้ ความเข้าใจอย่างลึกซึ้ง เพื่อปรับวิถีชีวิต
สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน





การใช้ชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงนั้น จะต้องมีความพอดี ๕ ประการคือ
ความพอดีด้านจิตใจ
- ต้องเข้มแข็ง สามารถพึงตนเองได้
- มีจิตสำนึกที่ดี
- เอื้ออาทร ประนีประนอม
- นึกถึงผลประโยชน์ส่วนรวมเป็นหลัก
- ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน
- รู้รักสามัคคี
- สร้างความเข้มแข้งให้ครอบครัวและชุมชน
- รู้จักใช้และจัดการอย่างชาญฉลาดและรอบคอบ
- เลือกใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดความยั่งยืนอย่างสูงสุด
- รู้จักใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมสอดคล้องต่อความต้องการและสภาพแวดล้อม
- พัฒนาเทคโนโลยีจากภูมิปัญญาชาวบ้านของเราเองก่อน
- ก่อให้เกิดประโยชน์กับคนหมู่มาก
- เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย ดำรงชีวิตอย่างพอควร
- พออยู่ พอกินสมควรตามอัตภาพ และฐานะของตน




เมื่อมีการกล่าวถึง เศรษฐกิจพอเพียง ในฐานะแนวความคิดหรือปรัชญา ใน
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
เศรษฐกิจพอเพียง พระราชดำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวณศาลาดุสิตาลัย ๔ ธันวาคม ๒๕๓๘ความพอดีด้านสังคมความพอดีด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมความพอดีด้านเทคโนโลยีความพอดีด้านเศรษฐกิจกระแสพระราชดำรัส "ทฤษฎีใหม่นี้มีไว้สำหรับป้องกันหรือถ้าในโอกาสปกติทำให้ร่ำรวยขึ้นถ้าในโอกาสที่มีอุทกภัยก็สามารถที่จะฟื้นตัวได้โดยไม่ต้องให้ทางราชการไปช่วยมากเกินไปทำให้ประชาชนพึ่งตนเองได้อย่างดี"พระราชดำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวณศาลาดุสิตาลัย ๔ ธันวาคม ๒๕๓๘ "ขอให้ทุกคนมีความปราถนาที่จะให้เมืองไทยพออยู่พอกินมีความสงบและทำงานตั้งอธิษฐานตั้งปณิธานในทางนี้ที่จะให้เมืองไทยอยู่แบบพออยู่พอกินไม่ใช่ว่าจะรุ่งเรืองอย่างยอดแต่ว่ามีความพออยู่พอกินมีความสงบเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ ถ้าเรารักษาความพออยู่พอกินนี้ได้เราก็จะยอดยิ่งยวดได้ฉะนั้นถ้าท่านซึ่งถือว่าเป็นผู้มีความคิดและมีอิทธิพลมีพลังที่จะทำให้ผู้อื่นซึ่งมีความคิดเหมือนกันช่วยกันรักษาส่วนรวมให้อยู่ดีกินดีพอสมควรขอย้ำพอควรพออยู่พอกินมีความสงบไม่ให้คนอื่นมาแย่งคุณสมบัตินี้จากเราไปได้ก็จะเป็นของขวัญวันเกิดที่ถาวรที่จะมีคุณค่าอยู่ตลอดกาล" ความพอประมาณหมายถึงความพอดีที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินโดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่นเช่นการผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ ความมีเหตุผลหมายถึงการตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้นจะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผลโดยพิจารณาจากปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจนคำนึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทำนั้นๆ อย่างรอบคอบ การมีภูมิคุ้มกันทีดีในตัวหมายถึงการเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกลเงื่อนไข การตัดสินใจและการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงต้องอาศัยทั้งความรู้และคุณธรรมเป็นพื้นฐาน เงื่อนไขความรู้ประกอบด้วยความรู้เกี่ยวกับวิชาการต่างๆ เกี่ยวข้องอย่างรอบด้านความรอบคอบที่จะนำความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกันเพื่อประกอบการวางแผนและความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ เงื่อนไขคุณธรรมที่จะต้องเสริมสร้างประกอบด้วยมีความตระหนักในคุณธรรมมีความซื่อสัตย์สุจริตและมีความอดทนมีความเพียรใช้สติปัญญาในการดำเนินชีวิต เศรษฐกิจพอเพียงคือพระราชปรัชญาซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาพระราชทานแก่พสกนิกรชาวไทยเพื่อให้สังคมไทยมีชีวิตดำรงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนไม่ว่าเมื่อต้องเผชิญกับวิกฤตการณ์หรือการเปลี่ยนแปลงใดๆ บนพื้นฐานวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทยนำมาประยุกต์ใช้ "ความพอเพียง" หมายถึงความพอประมาณอย่างมีเหตุผลโดยสร้างภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควรเพื่อที่จะรองรับการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วกว้างขวางทั้งทางด้านวัตถุสังคมสิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดีโดยอาศัยความรอบรู้รอบคอบและความระมัดระวังในการนำวิชาการต่างๆ มาใช้วางแผนและดำเนินการทุกขั้นตอนควบคู่ไปกับการสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติทุกระดับให้สำนึกในคุณธรรมความซื่อสัตย์สุจริตดำเนินชีวิตด้วยความอดทนความเพียรความมีสติปัญญาและความรอบคอบมีเหตุผล โดยที่ความพอประมาณนั้นหมายถึงความพอดีที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไปไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่นเช่นการผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณความมีเหตุผลหมายถึงการตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของพอเพียงนั้นจะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผลโดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดและผลที่จะเกิดขึ้นอย่างรอบคอบ การนำหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้นั้นขั้นแรกต้องยึดหลัก "พึ่งตนเอง" คือพยายามพึ่งตนเองให้ได้ก่อนในแต่ละครอบครัวมีการบริหารจัดการอย่างพอดีประหยัดไม่ฟุ่มเฟือยสมาชิกในครอบครัวแต่ละคนต้องรู้จักตนเองเช่นข้อมูลรายรับรายจ่ายในครอบครัวของตนเองสามารถรักษาระดับการใช้จ่ายของตนไม่ให้เป็นหนี้และรู้จักดึงศักยภาพในตัวเองในเรื่องของปัจจัยสี่ให้ได้ในระดับหนึ่ง การพัฒนาตนเองให้สามารถ "อยู่ได้อย่างพอเพียง" คือดำเนินชีวิตโดยยึดหลักทางสายกลางให้อยู่ได้อย่างสมดุลคือมีความสุขที่แท้ไม่ให้รู้สึกขาดแคลนจนต้องเบียดเบียนตนเองหรือดำเนินชีวิตอย่างเกินพอดีจนต้องเบียดเบียนผู้อื่นหรือเบียดเบียนสิ่งแวดล้อมโดย-ยึดหลักพออยู่พอกินพอใช้-ยึดความประหยัดตัดทอนค่าใช้จ่ายลดความฟุ่มเฟือยในการดำรงชีพ-ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความถูกต้องและสุจริต-ละเลิกการแก่งแย่งผลประโยชน์และแข่งขันในการค้าขายประกอบอาชีพ แบบต่อสู้กันอย่างรุนแรง-มุ่งเน้นหาข้าวหาปลาก่อนมุ่งเน้นหาเงินหาทอง-ทำมาหากินก่อนทำมาค้าขาย-ภูมิปัญญาชาวบ้านและที่ดินทำกินคือทุนทางสังคม-ตั้งสติที่มั่นคงร่างกายที่แข็งแรงปัญญาที่เฉียบแหลม นำความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งเพื่อปรับวิถีชีวิต สู่การพัฒนาที่ยั่งยืนการใช้ชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงนั้นจะต้องมีความพอดี ๕ ประการคือความพอดีด้านจิตใจ-ต้องเข้มแข็งสามารถพึงตนเองได้-มีจิตสำนึกที่ดี-เอื้ออาทรประนีประนอม-นึกถึงผลประโยชน์ส่วนรวมเป็นหลัก-ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน-รู้รักสามัคคี-สร้างความเข้มแข้งให้ครอบครัวและชุมชน-รู้จักใช้และจัดการอย่างชาญฉลาดและรอบคอบ-เลือกใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดความยั่งยืนอย่างสูงสุด-รู้จักใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมสอดคล้องต่อความต้องการและสภาพแวดล้อม-พัฒนาเทคโนโลยีจากภูมิปัญญาชาวบ้านของเราเองก่อน-ก่อให้เกิดประโยชน์กับคนหมู่มาก-เพิ่มรายได้ลดรายจ่ายดำรงชีวิตอย่างพอควร-พออยู่พอกินสมควรตามอัตภาพและฐานะของตน เมื่อมีการกล่าวถึงเศรษฐกิจพอเพียงในฐานะแนวความคิดหรือปรัชญาใน
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
พอเพียงเศรษฐกิจพระราชดำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ณ ศาลาดุสิตาลัย 4 ธันวาคม หรือถ้าในโอกาสปกติทำให้ร่ำรวยขึ้นถ้าในโอกาสที่มีอุทกภัยก็สามารถที่จะฟื้นตัวได้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ณ ศาลาดุสิตาลัย 4 ธันวาคม ในทางนี้ ไม่ใช่ว่าจะรุ่งเรืองอย่างยอดแต่ว่ามีความพออยู่พอกินมีความสงบเปรียบเทียบกับประเทศอื่น ๆ ถ้าเรารักษาความพออยู่พอกินนี้ได้เราก็จะยอดยิ่งยวดได้ฉะนั้นถ้าท่านซึ่งถือว่าเป็นผู้มีความคิด ซึ่งมีความคิดเหมือนกันช่วยกันรักษาส่วนรวมให้อยู่ดีกินดีพอสมควรขอย้ำพอควรพออยู่พอกินมีความสงบ ตลอดกาล "ความพอประมาณหมายถึง โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่นเช่น หมายถึง จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผลโดยพิจารณาจากปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ๆ หมายถึง ๆ ๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงต้องอาศัย ประกอบด้วยความรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ให้เชื่อมโยงกัน จะคุณต้องที่เสริมสร้างประกอบด้วยมีความตระหนักในคุณธรรมมีความซื่อสัตย์สุจริตและมีความอดทนมีความเพียรใช้สติปัญญาในหัวเรื่อง: การดำเนินชีวิตเศรษฐกิจพอเพียงคือ อย่างมั่นคงและยั่งยืนไม่ว่าเมื่อต้องเผชิญกับวิกฤตการณ์หรือการเปลี่ยนแปลงใด ๆ หมายถึงความพอประมาณอย่างมีเหตุผลโดยสร้างภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร กว้างขวางทั้งทางด้านวัตถุสังคม โดยอาศัยความรอบรู้รอบคอบ ๆ มาใช้วางแผนและดำเนินการทุกขั้นตอน ทุกระดับชาติให้สำนึกในคุณธรรมความซื่อสัตย์สุจริตดำเนินชีวิตด้วยความอดทนความเพียรมีสติปัญญาความและความรอบคอบมีเหตุผลโดยที่ความพอประมาณนั้นหมายถึงความพอดีที่ไม่น้อยตั้งขึ้นเกินไปและไม่มากเกินไปไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่นเช่น ประมาณความมีเหตุผลหมายถึง จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล ขั้นแรกต้องยึดหลัก "พึ่งตนเอง" คือพยายามพึ่งตนเองให้ได้ก่อน ประหยัดไม่ฟุ่มเฟือย เช่นข้อมูลรายรับ - รายจ่ายในครอบครัวของตนเองสามารถรักษาระดับการใช้จ่ายของตนไม่ให้เป็นหนี้ "อยู่ได้อย่างพอเพียง" คือดำเนินชีวิตโดยยึด คือมีความสุขที่แท้ไม่ให้รู้สึกขาดแคลนจนต้องเบียดเบียนตนเองหรือดำเนินชีวิตอย่างเกินพอดีจนต้องเบียดเบียนผู้อื่นหรือเบียดเบียนสิ่งแวดล้อมโดย- ยึดหลักพออยู่พอกินพอใช้- ยึดความประหยัดตัดทอนค่าใช้จ่ายลดความฟุ่มเฟือยในการ ดำรงชีพ- มุ่งเน้นหาข้าวหาปลาก่อนมุ่งเน้นหาเงินหาทอง- ทำมาหากินก่อนทำมาค้าขาย- ภูมิปัญญาชาวบ้านและที่ดินทำกินคือทุนทางสังคม- ตั้งสติที่มั่นคงร่างกายที่แข็งแรงปัญญาที่เฉียบแหลมนำความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้ง จะต้องมีความพอดีคือ 5 ประการความพอดีด้านจิตใจ- ต้องเข้มแข็งสามารถพึงตนเองได้- มีจิตสำนึกที่ดี- เอื้ออาทรประนีประนอม- นึกถึงผลประโยชน์ส่วนรวมเป็นหลัก- ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน- รู้รักสามัคคี- ก่อให้เกิดประโยชน์กับคนหมู่มาก- เพิ่มรายได้ลดรายจ่ายดำรงชีวิตอย่างพอควร- ขณะนี้พอพอกินสมควรตามอัตภาพและฐานะของตนเมื่อมีหัวเรื่อง: การกล่าวถึงเศรษฐกิจพอเพียงในฐานะแนวความคิดหรือปรัชญาใน



































































การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: