มาตรฐานการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องรหัส 2300
• การระบุสารสนเทศ (หลักฐานที่ต้องการ)
• การวิเคราะห์และประเมินหลักฐานที่ได้
• การบันทึกสารสนเทศ (หลักฐาน) หรือจัดทำกระดาษทำการ
• การกำกับควบคุมภารกิจงานตรวจสอบ
ความสงสัยเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพ
ในการรวบรวมหลักฐาน ผู้ตรวจสอบจะต้องใช้หลักความสงสัยเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพ โดยต้องยึดหลัก
• ต้องพิจารณาทุกเรื่องที่ได้ยินและได้เห็น
• ต้องเปิดใจให้กว้างสรุปความเห็นตามหลักฐานที่ตรวจ
คุณสมบัติของหลักฐานในการตรวจ
• ความเพียงพอ สรุปผลการตรวจสอบได้ตรงกัน
• ความเชื่อถือได้ ความน่าเชื่อถือของแหล่งที่มา
o เอกสารที่มีลายลักษณ์อักษร > วาจา
o ข้อมูลของผู้ตรวจสอบภายใน > หน่วยรับการตรวจ
o IC ดี > IC ไม่ดี
o แหล่งข้อมูลภายนอก > แหล่งข้อมูลภายใน
• ความเกี่ยวข้อง ตรงกับวัตถุประสงค์ที่ตรวจ
• ประโยชน์ เพื่อความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ขององค์กร
o ทันเวลา
o มีสาระสำคัญ เป็นตัวเงินและไม่เป็นตัวเงิน
เทคนิคการตรวจสอบ
เทคนิคการตรวจสอบ หมายถึง วิธีการตรวจสอบที่ดีที่สุดเพื่อที่จะได้เป็นข้อสรุปผลการตรวจตามวัตถุประสงค์การตรวจ
ประเภทของเทคนิคการตรวจสอบ
• เทคนิคสื่อสารและมนุษย์สัมพันธ์
เทคนิคสัมภาษณ์
เทคนิคสอบถาม
เทคนิคประชุม
เทคนิคนำเสนอ
เทคนิครายงาน
• เทคนิคการรวบรวมหลักฐานการตรวจ
การวิเคราะห์เปรียบเทียบ
วิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน
วิเคราะห์ความสัมพันธ์ยอดบัญชีที่เกี่ยวข้องกัน
วิเคราะห์แนวโน้มการพยากรณ์
วิเคราะห์ต้นทุนกับผลประโยชน์
วิเคราะห์กิจการผู้นำ
วิธีการตรวจในรายละเอียด
การตรวจนับทางกายภาพ
การตรวจเอกสาร
การตรวจรายการผิดปกติ
การวิเคราะห์
การสังเกตการณ์
การคำนวณ
การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการตรวจสอบ
วิธการทำข้อมูลทดสอบ
การใช้โปรแกรมสำเร็จรูป
การฝังคำสั่งตรวจ
ความเสี่ยงในการตรวจสอบ
• ความเสี่ยงจากการสุ่มตัวอย่าง
• ความเสี่ยงที่ไม่ได้เกิดจากการสุ่มตัวอย่าง เช่น ตรวจผิด สรุปผลผิด
ความผิดในการสรุปผลการทดสอบสมมุติฐานทางสถิติ มี 2ประเภท
• ความเสี่ยงในการปฏิเสธสิ่งที่ถูก ทำให้ความเสี่ยงสูงไป
• ความเสี่ยงในการปฏิเสธสิ่งที่ผิด ทำให้ความเสี่ยงต่ำไป
วิธีการสุ่มตัวอย่างทางสถิติเพื่อทดสอบกิจกรรมการควบคุม
1. การสุ่มตัวอย่างเพื่อทดสอบลักษณะ
2. การสุ่มตัวอย่างแบบแยกกลุ่มตามระดับชั้น
3. การสุ่มตัว