จากอิทธิพลของแนวความคิดเสรีนิยมใหม่(neo-liberalism)ได้ปฏิวัติระบบกลไกข การแปล - จากอิทธิพลของแนวความคิดเสรีนิยมใหม่(neo-liberalism)ได้ปฏิวัติระบบกลไกข ไทย วิธีการพูด

จากอิทธิพลของแนวความคิดเสรีนิยมใหม่

จากอิทธิพลของแนวความคิดเสรีนิยมใหม่(neo-liberalism)ได้ปฏิวัติระบบกลไกของตลาดสินค้าและบริการอย่างสิ้นเชิงทั้งการเกิดขึ้นและระบบการทำงานของตลาด โดยตลาดไม่ได้เกิดโดยธรรมชาติจากระบบกลไกตลาดตามแนวคิดของAdam Smith หากแต่การเกิดขึ้นของตลาดสินค้าและบริการในระดับระหว่างประเทศในปัจจุบันนั้นเกิดขึ้นจากข้อกำหนดของข้อตกลงระหว่างประเทศต่างๆ ทั้งแบบพหุภาคีและทวิภาคี ข้อตกลงระหว่างประเทศที่เกิดขึ้นมากมายเหล่านี้ได้สร้างตลาดสินค้าและบริการให้เกิดขึ้นในสังคมระหว่างประเทศ
ข้อตกลงระหว่างประเทศในเรื่องสินค้าและบริการเหล่านี้เองที่ส่งผลให้รัฐจำต้องกำหนดนโยบายการบริหารและการดำเนินการทางด้านเศรษฐกิจตามพันธะหรือตามข้อตกลง ซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงต่ออำนาจอธิปไตยของรัฐในอันที่จะเลือกและดำเนินนโยบายสาธารณะที่เหมาะสมต่อความเป็นลักษณะเฉพาะของแต่ละรัฐและก่อให้เกิดการพัฒนาอย่างราบรื่นต่อไป
ประเด็นแรกที่สำคัญที่เป็นผลพวงซึ่งได้รับอิทธิพลมาจากระบบเสรีนิยมใหม่ก็คือแนวคิดในการเปิดเสรีทางการค้า โดยมุ่งเน้นให้นโยบายของรัฐต่างๆตอบสนองต่อการเปิดเสรีทางการค้า โดยเฉพาะภาคการค้าและการบริการ มีกระบวนการเคลื่อนย้ายทุนและเทคโนโลยี การจัดทำนโยบายสาธารณะหรือนโยบายต่างๆมุ่งเน้นไปเพื่อการตอบสนองต่อกระบวนการเปิดเสรีทางการค้าและการลงทุน
โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อพิจารณาถึงประเทศไทยเองแล้ว เราเองกำหนดนโยบายสาธารณะโดยมุ่งเน้นไปที่การเกื้อหนุน ตอบสนองและอำนวยความสะดวกต่อนักลงทุนต่างชาติ เพื่อที่จะแสวงหาและทำกำไร(marginalization)ให้มากที่สุดมากกว่าที่จะมาพิจารณาถึงสภาพปัญหาและความเป็นจริงของสังคมเศรษฐกิจและระดับการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจของประเทศไทยเอง คือแทนที่ภาครัฐจะมุ่งไปที่ความต้องการและปัญหาของประชาชนภายในประเทศ รัฐกลับพยายามอย่างยิ่งยวดที่จะดึงเม็ดเงินจากนักลงทุนต่างชาติให้เข้ามาลงทุนในประเทศ ซึ่งผลที่ตามมาก็คือการดำเนินนโยบายอย่างเข้าไปผูกพันกับข้อตกลงระหว่างประเทศและพยายามเปลี่ยนสิ่งที่เป็นสมบัติสาธารณะ(public goods)ให้เป็นสินค้า(commodities)ภายใต้การแปรรูปรัฐวิสาหกิจหรือการเปิดเสรีในการลงทุน มีการปรับเปลี่ยนนโยบายสาธารณะและโครงสร้างการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้เป็นไปตามความต้องการของกลุ่มผู้ลงทุน
ซึ่งเป็นการมุ่งที่จะพัฒนาแบบก้าวกระโดดเพื่อให้ทัดเทียมกับประเทศอื่นๆโดยไม่คำนึงถึงศักยภาพของตน และความต้องการที่แท้จริงของประชาชน เห็นกรณีตัวอย่างได้ชัดเจนจากการทำ FTA กับหลายประเทศที่ไทยไม่มีการศึกษาถึงผลได้-ผลเสียที่ดีพอก่อนที่จะเปิดเสรีด้วย ขาดการเตรียมการรองรับผลกระทบรอบด้านอย่างเพียงพอ
และเมื่อเกิดปัญหาผู้ที่ได้รับผลกระทบและต้องแบกรับภาระด็คือภาคประชาชน ทั้งที่ความจริงแล้วหลักการที่ใกล้ตัวที่เราควรนำมาเป็นหลักก็คือ แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง คือมองว่าเรามีศักยภาพอะไร ถนัดด้านไหนก็มุ่งพัฒนาให้ถูกด้าน โดยที่ไม่ต้องไปพยายามให้มีให้เป็นอย่างประเทศมหาอำนาจ ขอแค่การขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจให้ไหลลื่น ไม่ติดขัด และนำความเป็นอยู่ที่ดีมาสู่ภาคประชาชน
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
จากอิทธิพลของแนวความคิดเสรีนิยมใหม่(neo-liberalism) ได้ปฏิวัติระบบกลไกของตลาดสินค้าและบริการอย่างสิ้นเชิงทั้งการเกิดขึ้นและระบบการทำงานของตลาด โดยตลาดไม่ได้เกิดโดยธรรมชาติจากระบบกลไกตลาดตามแนวคิดของAdam สมิธหากแต่การเกิดขึ้นของตลาดสินค้าและบริการในระดับระหว่างประเทศในปัจจุบันนั้นเกิดขึ้นจากข้อกำหนดของข้อตกลงระหว่างประเทศต่าง ๆ ทั้งแบบพหุภาคีและทวิภาคีข้อตกลงระหว่างประเทศที่เกิดขึ้นมากมายเหล่านี้ได้สร้างตลาดสินค้าและบริการให้เกิดขึ้นในสังคมระหว่างประเทศ ข้อตกลงระหว่างประเทศในเรื่องสินค้าและบริการเหล่านี้เองที่ส่งผลให้รัฐจำต้องกำหนดนโยบายการบริหารและการดำเนินการทางด้านเศรษฐกิจตามพันธะหรือตามข้อตกลงซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงต่ออำนาจอธิปไตยของรัฐในอันที่จะเลือกและดำเนินนโยบายสาธารณะที่เหมาะสมต่อความเป็นลักษณะเฉพาะของแต่ละรัฐและก่อให้เกิดการพัฒนาอย่างราบรื่นต่อไป ประเด็นแรกที่สำคัญที่เป็นผลพวงซึ่งได้รับอิทธิพลมาจากระบบเสรีนิยมใหม่ก็คือแนวคิดในการเปิดเสรีทางการค้าโดยมุ่งเน้นให้นโยบายของรัฐต่างๆตอบสนองต่อการเปิดเสรีทางการค้าโดยเฉพาะภาคการค้าและการบริการมีกระบวนการเคลื่อนย้ายทุนและเทคโนโลยีการจัดทำนโยบายสาธารณะหรือนโยบายต่างๆมุ่งเน้นไปเพื่อการตอบสนองต่อกระบวนการเปิดเสรีทางการค้าและการลงทุน ให้มากที่สุดมากกว่าที่จะมาพิจารณาถึงสภาพปัญหาและความเป็โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อพิจารณาถึงประเทศไทยเองแล้วเราเองกำหนดนโยบายสาธารณะโดยมุ่งเน้นไปที่การเกื้อหนุนตอบสนองและอำนวยความสะดวกต่อนักลงทุนต่างชาติเพื่อที่จะแสวงหาและทำกำไร (marginalization)นจริงของสังคมเศรษฐกิจและระดับการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจของประเทศไทยเองคือแทนที่ภาครัฐจะมุ่งไปที่ความต้องการและปัญหาของประชาชนภายในประเทศรัฐกลับพยายามอย่างยิ่งยวดที่จะดึงเม็ดเงินจากนักลงทุนต่างชาติให้เข้ามาลงทุนในประเทศซึ่งผลที่ตามมาก็คือการดำมีการปรับเปลี่ยนนโยบายสาธารณะและโครงสร้างการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้เป็นไปตามความต้องการของกลุ่มผู้ลงทุนภายใต้การแปรรูปรัฐวิสาหกิจหรือการเปิดเสรีในการลงทุนให้เป็นสินค้า (สินค้าโภคภัณฑ์) เนินนโยบายอย่างเข้าไปผูกพันกับข้อตกลงระหว่างประเทศและพยายามเปลี่ยนสิ่งที่เป็นสมบัติสาธารณะ (สินค้าสาธารณะ) ซึ่งเป็นการมุ่งที่จะพัฒนาแบบก้าวกระโดดเพื่อให้ทัดเทียมกับประเทศอื่นๆโดยไม่คำนึงถึงศักยภาพของตนและความต้องการที่แท้จริงของประชาชนเห็นกรณีตัวอย่างได้ชัดเจนจากการทำเขตการค้าเสรีกับหลายประเทศที่ไทยไม่มีการศึกษาถึงผลได้ผลเสียที่ดีพอก่อนที่จะเปิดเสรีด้วยขาดการเตรียมการรองรับผลกระทบรอบด้านอย่างเพียงพอ และเมื่อเกิดปัญหาผู้ที่ได้รับผลกระทบและต้องแบกรับภาระด็คือภาคประชาชนทั้งที่ความจริงแล้วหลักการที่ใกล้ตัวที่เราควรนำมาเป็นหลักก็คือแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงคือมองว่าเรามีศักยภาพอะไรถนัดด้านไหนก็มุ่งพัฒนาให้ถูกด้านโดยที่ไม่ต้องไปพยายามให้มีให้เป็นอย่างประเทศมหาอำนาจขอแค่การขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจให้ไหลลื่นไม่ติดขัดและนำความเป็นอยู่ที่ดีมาสู่ภาคประชาชน
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
จากอิทธิพลของแนวความคิดเสรีนิยมใหม่(neo-liberalism)ได้ปฏิวัติระบบกลไกของตลาดสินค้าและบริการอย่างสิ้นเชิงทั้งการเกิดขึ้นและระบบการทำงานของตลาด โดยตลาดไม่ได้เกิดโดยธรรมชาติจากระบบกลไกตลาดตามแนวคิดของAdam Smith หากแต่การเกิดขึ้นของตลาดสินค้าและบริการในระดับระหว่างประเทศในปัจจุบันนั้นเกิดขึ้นจากข้อกำหนดของข้อตกลงระหว่างประเทศต่างๆ ทั้งแบบพหุภาคีและทวิภาคี ข้อตกลงระหว่างประเทศที่เกิดขึ้นมากมายเหล่านี้ได้สร้างตลาดสินค้าและบริการให้เกิดขึ้นในสังคมระหว่างประเทศ
ข้อตกลงระหว่างประเทศในเรื่องสินค้าและบริการเหล่านี้เองที่ส่งผลให้รัฐจำต้องกำหนดนโยบายการบริหารและการดำเนินการทางด้านเศรษฐกิจตามพันธะหรือตามข้อตกลง ซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงต่ออำนาจอธิปไตยของรัฐในอันที่จะเลือกและดำเนินนโยบายสาธารณะที่เหมาะสมต่อความเป็นลักษณะเฉพาะของแต่ละรัฐและก่อให้เกิดการพัฒนาอย่างราบรื่นต่อไป
ประเด็นแรกที่สำคัญที่เป็นผลพวงซึ่งได้รับอิทธิพลมาจากระบบเสรีนิยมใหม่ก็คือแนวคิดในการเปิดเสรีทางการค้า โดยมุ่งเน้นให้นโยบายของรัฐต่างๆตอบสนองต่อการเปิดเสรีทางการค้า โดยเฉพาะภาคการค้าและการบริการ มีกระบวนการเคลื่อนย้ายทุนและเทคโนโลยี การจัดทำนโยบายสาธารณะหรือนโยบายต่างๆมุ่งเน้นไปเพื่อการตอบสนองต่อกระบวนการเปิดเสรีทางการค้าและการลงทุน
โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อพิจารณาถึงประเทศไทยเองแล้ว เราเองกำหนดนโยบายสาธารณะโดยมุ่งเน้นไปที่การเกื้อหนุน ตอบสนองและอำนวยความสะดวกต่อนักลงทุนต่างชาติ เพื่อที่จะแสวงหาและทำกำไร(marginalization)ให้มากที่สุดมากกว่าที่จะมาพิจารณาถึงสภาพปัญหาและความเป็นจริงของสังคมเศรษฐกิจและระดับการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจของประเทศไทยเอง คือแทนที่ภาครัฐจะมุ่งไปที่ความต้องการและปัญหาของประชาชนภายในประเทศ รัฐกลับพยายามอย่างยิ่งยวดที่จะดึงเม็ดเงินจากนักลงทุนต่างชาติให้เข้ามาลงทุนในประเทศ ซึ่งผลที่ตามมาก็คือการดำเนินนโยบายอย่างเข้าไปผูกพันกับข้อตกลงระหว่างประเทศและพยายามเปลี่ยนสิ่งที่เป็นสมบัติสาธารณะ(public goods)ให้เป็นสินค้า(commodities)ภายใต้การแปรรูปรัฐวิสาหกิจหรือการเปิดเสรีในการลงทุน มีการปรับเปลี่ยนนโยบายสาธารณะและโครงสร้างการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้เป็นไปตามความต้องการของกลุ่มผู้ลงทุน
ซึ่งเป็นการมุ่งที่จะพัฒนาแบบก้าวกระโดดเพื่อให้ทัดเทียมกับประเทศอื่นๆโดยไม่คำนึงถึงศักยภาพของตน และความต้องการที่แท้จริงของประชาชน เห็นกรณีตัวอย่างได้ชัดเจนจากการทำ FTA กับหลายประเทศที่ไทยไม่มีการศึกษาถึงผลได้-ผลเสียที่ดีพอก่อนที่จะเปิดเสรีด้วย ขาดการเตรียมการรองรับผลกระทบรอบด้านอย่างเพียงพอ
และเมื่อเกิดปัญหาผู้ที่ได้รับผลกระทบและต้องแบกรับภาระด็คือภาคประชาชน ทั้งที่ความจริงแล้วหลักการที่ใกล้ตัวที่เราควรนำมาเป็นหลักก็คือ แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง คือมองว่าเรามีศักยภาพอะไร ถนัดด้านไหนก็มุ่งพัฒนาให้ถูกด้าน โดยที่ไม่ต้องไปพยายามให้มีให้เป็นอย่างประเทศมหาอำนาจ ขอแค่การขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจให้ไหลลื่น ไม่ติดขัด และนำความเป็นอยู่ที่ดีมาสู่ภาคประชาชน
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
จากอิทธิพลของแนวความคิดเสรีนิยมใหม่ ( เสรีนิยมใหม่ ) ได้ปฏิวัติระบบกลไกของตลาดสินค้าและบริการอย่างสิ้นเชิงทั้งการเกิดขึ้นและระบบการทำงานของตลาดโดยตลาดไม่ได้เกิดโดยธรรมชาติจากระบบกลไกตลาดตามแนวคิดของอดัม สมิธทั้งแบบพหุภาคีและทวิภาคีข้อตกลงระหว่างประเทศที่เกิดขึ้นมากมายเหล่านี้ได้สร้างตลาดสินค้าและบริการให้เกิดขึ้นในสังคมระหว่างประเทศ
ข้อตกลงระหว่างประเทศในเรื่องสินค้าและบริการเหล่านี้เองที่ส่งผลให้รัฐจำต้องกำหนดนโยบายการบริหารและการดำเนินการทางด้านเศรษฐกิจตามพันธะหรือตามข้อตกลงประเด็นแรกที่สำคัญที่เป็นผลพวงซึ่งได้รับอิทธิพลมาจากระบบเสรีนิยมใหม่ก็คือแนวคิดในการเปิดเสรีทางการค้าโดยมุ่งเน้นให้นโยบายของรัฐต่างๆตอบสนองต่อการเปิดเสรีทางการค้าโดยเฉพาะภาคการค้าและการบริการการจัดทำนโยบายสาธารณะหรือนโยบายต่างๆมุ่งเน้นไปเพื่อการตอบสนองต่อกระบวนการเปิดเสรีทางการค้าและการลงทุน
โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อพิจารณาถึงประเทศไทยเองแล้วเราเองกำหนดนโยบายสาธารณะโดยมุ่งเน้นไปที่การเกื้อหนุนตอบสนองและอำนวยความสะดวกต่อนักลงทุนต่างชาติคือแทนที่ภาครัฐจะมุ่งไปที่ความต้องการและปัญหาของประชาชนภายในประเทศรัฐกลับพยายามอย่างยิ่งยวดที่จะดึงเม็ดเงินจากนักลงทุนต่างชาติให้เข้ามาลงทุนในประเทศสินค้าให้เป็นสินค้า ( สินค้าโภคภัณฑ์ ) ภายใต้การแปรรูปรัฐวิสาหกิจหรือการเปิดเสรีในการลงทุนมีการปรับเปลี่ยนนโยบายสาธารณะและโครงสร้างการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้เป็นไปตามความต้องการของกลุ่มผู้ลงทุน
ซึ่งเป็นการมุ่งที่จะพัฒนาแบบก้าวกระโดดเพื่อให้ทัดเทียมกับประเทศอื่นๆโดยไม่คำนึงถึงศักยภาพของตนและความต้องการที่แท้จริงของประชาชนเห็นกรณีตัวอย่างได้ชัดเจนจากการทำเอฟทีเอขาดการเตรียมการรองรับผลกระทบรอบด้านอย่างเพียงพอ
และเมื่อเกิดปัญหาผู้ที่ได้รับผลกระทบและต้องแบกรับภาระด็คือภาคประชาชนทั้งที่ความจริงแล้วหลักการที่ใกล้ตัวที่เราควรนำมาเป็นหลักก็คือแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงคือมองว่าเรามีศักยภาพอะไรโดยที่ไม่ต้องไปพยายามให้มีให้เป็นอย่างประเทศมหาอำนาจขอแค่การขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจให้ไหลลื่นไม่ติดขัดและนำความเป็นอยู่ที่ดีมาสู่ภาคประชาชน
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: