ประวัติของช็อกโกแลตประวัติช็อกโกแลตค้นพบมาตั้งแต่สองพันปีที่แล้ว หลังส การแปล - ประวัติของช็อกโกแลตประวัติช็อกโกแลตค้นพบมาตั้งแต่สองพันปีที่แล้ว หลังส ไทย วิธีการพูด

ประวัติของช็อกโกแลตประวัติช็อกโกแลต

ประวัติของช็อกโกแลต
ประวัติ
ช็อกโกแลตค้นพบมาตั้งแต่สองพันปีที่แล้ว หลังสมัยพระนางคลีโอพัตราแห่งอียิปต์ เป็นผลผลิตที่ได้จากเมล็ดของต้นคาเคา (cacao) ในป่าร้อนชื้นของทวีปอเมริกา จัดอยู่ในตระกูล Theobroma cacao แปลว่า "อาหารแห่งทวยเทพ"
ชนกลุ่มแรกที่รู้จักทำช็อกโกแลตเป็นอารยธรรมโบราณที่อยู่ในเม็กซิโก และอเมริกากลาง ชนกลุ่มนี้ได้แก่ชาวมายา และชาวแอซเทค แห่งอารยธรรมเมโสอเมริกา คนเหล่านี้เอาเมล็ดคาเคามาบดแล้วผสมกับเครื่องปรุงหลายชนิดเพื่อทำเป็นเครื่องดื่มที่มีรสขมเฝื่อน นอกจากใช้ประกอบอาหารแล้วช็อกโกแลตยังเกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตเชิงศาสนาและสังคมด้วย
ชาวมายา (ค.ศ. 250-900) เป็นชนชาติแรกที่มีหลักฐานชัดเจนว่าได้ค้นพบความลับของต้นคาเคา โดยพวกเขาได้นำต้นคาเคามาจากป่าฝนและปลูกไว้ที่สวนหลังบ้าน พอออกฝักก็เก็บเอาเมล็ดมาหมักบ้าง คั่วบ้าง และยังบดเป็นเนื้อเหนียว อยากชงเป็นเครื่องดื่มก็เอามาผสมน้ำ โรยพริกไทยกับแป้งข้าวโพด ก็จะได้เครื่องดื่มช็อกโกแลตรสซาบซ่ามีฟองฟ่อง
ต่อมาราวคริสต์ศตวรรษที่ 14 อาณาจักรของชาวแอซเทคครอบครองพื้นที่ส่วนใหญ่ของอารยธรรมเมโสอเมริกา โดยมีเมืองหลวงตั้งอยู่ที่เมืองปัจจุบันเรียกว่า เม็กซิโก ซิตี้ ชาวแอซเทคได้ซื้อขายเมล็ดคาเคากับชาวมายาและชนชาติอื่น และยังเรียกเก็บค่าบรรณาการจากพลเมืองของตนและเชลยเป็นเมล็ดคาเคา โดยใช้แทนค่าเงิน ชาวแอซเทคนิยมดื่มช็อกโกแลตขมเช่นเดียวกับชาวมายายุคแรก โดยปรุงรสชาติให้ซู่ซ่าขึ้นด้วยเครื่องเทศ ชาวเมโสอเมริกาสมัยนั้นยังไม่มีใครปลูกอ้อยก็เลยไม่มีใครใส่น้ำตาลกัน
เล่ากันว่า คนมายายุคคลาสสิกชอบดื่มช็อกโกแลตกันในวาระพิเศษ ขณะที่บรรดาเชื้อพระวงศ์จะนิยมดื่มกันมาก ส่วนชาวแอซเทค บรรดาผู้ปกครองระดับสูง พระ ทหารยศสูง และพ่อค้าที่มีหน้ามีตาเท่านั้นที่มีสิทธิลิ้มรสเครื่องดื่มศักดิ์สิทธิ์นี้ ช็อกโกแลตมีบทบาทสำคัญในพิธีของราชวงศ์และศาสนา เพราะใช้เมล็ดคาเคาเป็นเครื่องสักการะเทพเจ้า และดื่มในพิธีสำคัญ
สำหรับที่มาของชื่อช็อกโกแลตนั้นยังไม่มีใครอธิบายได้แจ่มชัด แต่มีความเป็นไปได้สองทาง ทางแรกเป็นคำที่ผันมาจากคำว่า "ช็อคโกลัจ" ในภาษามายา ซึ่งหมายถึง มาดื่มช็อกโกแลตด้วยกัน อีกทางหนึ่งอธิบายว่าน่าจะมาจากภาษามายาเช่นกัน คือ " chocol" แปลว่า ร้อน ผสมกับคำว่า "atl" ของแอซเทคที่แปลว่า น้ำ พอมารวมกันจึงกลายเป็นคำว่า chocolatl และมาเป็น chocolate ต่อมาในยุโรป
โดยความเชื่อของชาวแอชเต็คส์ ประเทศเม็กซิโก "เมล็ดโกโก้เป็นอาหารที่เทพเจ้ามอบให้เพื่อเป็นใบเบิกทางไปสู่สวรรค์" เมื่อประมาณ 4,000 ปีมาแล้ว ซึ่งทำให้พวกเขานำเมล็ดโกโก้มาทำเป็นเครื่องดื่มนั่นก็คือ "น้ำช็อกโกแลต" ต่อมานายเออร์นัน คอร์เตช นักสำรวจชาวสเปนแล่นเรือมาพบกับชาวแอชเต็คส์ ซึ่งเขาได้อาศัยอยู่กับชาวแอชเต็คส์และร่วมดื่มน้ำช็อกโกแลตด้วยกัน และนายคอร์เตชได้นำเมล็ดโกโก้กลับประเทศเพื่อลองทำเครื่องดื่มดูบ้าง และแต่งเติมรสให้หวานขึ้นจนเป็นเครื่องดื่มที่นิยมกันในสเปน จนในมี่สุด นายคอนราด เจ แวนฮูเตนท์ ชาวดัชได้ค้นพบการทำช็อกโกแลตแบบแท่ง เม็ด และผง

0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ประวัติของช็อกโกแลตประวัติช็อกโกแลตค้นพบมาตั้งแต่สองพันปีที่แล้วหลังสมัยพระนางคลีโอพัตราแห่งอียิปต์เป็นผลผลิตที่ได้จากเมล็ดของต้นคาเคา (โกโก้) ในป่าร้อนชื้นของทวีปอเมริกาจัดอยู่ในตระกูล Theobroma ต้นโกโก้แปลว่า "อาหารแห่งทวยเทพ"ชนกลุ่มแรกที่รู้จักทำช็อกโกแลตเป็นอารยธรรมโบราณที่อยู่ในเม็กซิโกและอเมริกากลางชนกลุ่มนี้ได้แก่ชาวมายาและชาวแอซเทคแห่งอารยธรรมเมโสอเมริกาคนเหล่านี้เอาเมล็ดคาเคามาบดแล้วผสมกับเครื่องปรุงหลายชนิดเพื่อทำเป็นเครื่องดื่มที่มีรสขมเฝื่อนนอกจากใช้ประกอบอาหารแล้วช็อกโกแลตยังเกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตเชิงศาสนาและสังคมด้วยชาวมายา (ค.ศ. 250-900) เป็นชนชาติแรกที่มีหลักฐานชัดเจนว่าได้ค้นพบความลับของต้นคาเคาโดยพวกเขาได้นำต้นคาเคามาจากป่าฝนและปลูกไว้ที่สวนหลังบ้านพอออกฝักก็เก็บเอาเมล็ดมาหมักบ้างคั่วบ้างและยังบดเป็นเนื้อเหนียวอยากชงเป็นเครื่องดื่มก็เอามาผสมน้ำโรยพริกไทยกับแป้งข้าวโพดก็จะได้เครื่องดื่มช็อกโกแลตรสซาบซ่ามีฟองฟ่องต่อมาราวคริสต์ศตวรรษที่ 14 อาณาจักรของชาวแอซเทคครอบครองพื้นที่ส่วนใหญ่ของอารยธรรมเมโสอเมริกาโดยมีเมืองหลวงตั้งอยู่ที่เมืองปัจจุบันเรียกว่าเม็กซิโกซิตี้ชาวแอซเทคได้ซื้อขายเมล็ดคาเคากับชาวมายาและชนชาติอื่นและยังเรียกเก็บค่าบรรณาการจากพลเมืองของตนและเชลยเป็นเมล็ดคาเคาโดยใช้แทนค่าเงินชาวแอซเทคนิยมดื่มช็อกโกแลตขมเช่นเดียวกับชาวมายายุคแรกโดยปรุงรสชาติให้ซู่ซ่าขึ้นด้วยเครื่องเทศชาวเมโสอเมริกาสมัยนั้นยังไม่มีใครปลูกอ้อยก็เลยไม่มีใครใส่น้ำตาลกันเล่ากันว่าคนมายายุคคลาสสิกชอบดื่มช็อกโกแลตกันในวาระพิเศษขณะที่บรรดาเชื้อพระวงศ์จะนิยมดื่มกันมากส่วนชาวแอซเทคบรรดาผู้ปกครองระดับสูงพระทหารยศสูงและพ่อค้าที่มีหน้ามีตาเท่านั้นที่มีสิทธิลิ้มรสเครื่องดื่มศักดิ์สิทธิ์นี้ช็อกโกแลตมีบทบาทสำคัญในพิธีของราชวงศ์และศาสนาเพราะใช้เมล็ดคาเคาเป็นเครื่องสักการะเทพเจ้าและดื่มในพิธีสำคัญสำหรับที่มาของชื่อช็อกโกแลตนั้นยังไม่มีใครอธิบายได้แจ่มชัดแต่มีความเป็นไปได้สองทางทางแรกเป็นคำที่ผันมาจากคำว่า "ช็อคโกลัจ" ในภาษามายาซึ่งหมายถึงมาดื่มช็อกโกแลตด้วยกันอีกทางหนึ่งอธิบายว่าน่าจะมาจากภาษามายาเช่นกันคือ "ช็อ" แปลว่าร้อนผสมกับคำว่า "atl" ของแอซเทคที่แปลว่าน้ำพอมารวมกันจึงกลายเป็นคำว่า chocolatl ช็อคโกแลและมาเป็นต่อมาในยุโรปซึ่งทำให้พวกเขานำเมล็ดโกโก้มาทำเป็นเครื่องดื่มนั่นก็คือปีมาแล้วเมื่อประมาณ 4,000 ของโดยความเชื่อของชาวแอชเต็คส์ประเทศเม็กซิโก "เมล็ดโกโก้เป็นอาหารที่เทพเจ้ามอบให้เพื่อเป็นใบเบิกทางไปสู่สวรรค์" "น้ำช็อกโกแลต" ต่อมานายเออร์นันคอร์เตชนักสำรวจชาวสเปนแล่นเรือมาพบกับชาวแอชเต็คส์ซึ่งเขาได้อาศัยอยู่กับชาวแอชเต็คส์และร่วมดื่มน้ำช็อกโกแลตด้วยกันและนายคอร์เตชได้นำเมล็ดโกโก้กลับประเทศเพื่อลองทำเครื่องดื่มดูบ้างและแต่งเติมรสให้หวานขึ้นจนเป็นเครื่องดื่มที่นิยมกันในสเปนจนในมี่สุดนายคอนราดเจแวนฮูเตนท์ชาวดัชได้ค้นพบการทำช็อกโกแลตแบบแท่งเม็ดและผง
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
(โกโก้) ในป่าร้อนชื้นของทวีปอเมริกาจัด อยู่ในตระกูล Theobroma ต้นโกโก้แปลว่า และอเมริกากลางชนกลุ่มนี้ ได้แก่ ชาว มายาและชาวแอซเทคแห่งอารยธรรมเมโสอเมริกา ( ค.ศ. 250-900) พอออกฝักก็เก็บเอาเมล็ดมา หมักบ้างคั่วบ้างและยังบดเป็นเนื้อเหนียว โรยพริกไทยกับแป้งข้าวโพด 14 เม็กซิโกซิตี้ โดยใช้แทนค่าเงิน ส่วนชาวแอซเทคบรรดาผู้ ปกครองระดับสูงพระทหารยศสูง แต่มีความเป็นไปได้สองทาง ทางแรกเป็นคำที่ผันมาจากคำว่า "ช็อคโกลัจ" ในภาษามายาซึ่งหมายถึงมา ดื่มช็อกโกแลตด้วยกัน คือ "chocol" แปลว่าร้อนผสมกับคำว่า "ATL" ของแอซเทคที่แปลว่า น้ำพอมารวมกันจึงกลายเป็นคำว่า chocolatl และมาเป็นช็อคโกแลต ประเทศเม็กซิโก เมื่อประมาณ 4,000 ปีมาแล้ว "น้ำช็อกโกแลต" ต่อมานายเออร์นันคอ ร์เตช จนในมี่สุดนายคอนราดเจ แวนฮูเตนท์ เม็ดและผง









การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ประวัติของช็อกโกแลตประวัติช็อกโกแลตค้นพบมาตั้งแต่สองพันปีที่แล้วหลังสมัยพระนางคลีโอพัตราแห่งอียิปต์เป็นผลผลิตที่ได้จากเมล็ดของต้นคาเคา ( ต้นโกโก้ Theobroma cacao ) ในป่าร้อนชื้นของทวีปอเมริกาจัดอยู่ในตระกูลแปลว่า " อาหารแห่งทวยเทพ "ชนกลุ่มแรกที่รู้จักทำช็อกโกแลตเป็นอารยธรรมโบราณที่อยู่ในเม็กซิโกและอเมริกากลางชนกลุ่มนี้ได้แก่ชาวมายาและชาวแอซเทคแห่งอารยธรรมเมโสอเมริกาคนเหล่านี้เอาเมล็ดคาเคามาบดแล้วผสมกับเครื่องปรุงหลายชนิดเพื่อทำเป็นเครื่องดื่มที่มีรสขมเฝื่อนนอกจากใช้ประกอบอาห ารแล้วช็อกโกแลตยังเกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตเชิงศาสนาและสังคมด้วยชาวมายา ( ค . ศ . 250-900 ) เป็นชนชาติแรกที่มีหลักฐานชัดเจนว่าได้ค้นพบความลับของต้นคาเคาโดยพวกเขาได้นำต้นคาเคามาจากป่าฝนและปลูกไว้ที่สวนหลังบ้านพอออกฝักก็เก็บเอาเมล็ดมาหมักบ้างคั่วบ้างและยังบดเป็นเนื้อเหนียวอยากชงเป็นเครื่องดื่มก็เอามาผสมน้ำโรยพริกไทยกับแป้งข้าวโพดก็จะได้ เครื่องดื่มช็อกโกแลตรสซาบซ่ามีฟองฟ่องต่อมาราวคริสต์ศตวรรษที่ 14 อาณาจักรของชาวแอซเทคครอบครองพื้นที่ส่วนใหญ่ของอารยธรรมเมโสอเมริกาโดยมีเมืองหลวงตั้งอยู่ที่เมืองปัจจุบันเรียกว่าเม็กซิโกซิตี้ชาวแอซเทคได้ซื้อขายเมล็ดคาเคากับชาวมายาและชนชาติอื่นและยังเรียกเก็บค่าบรรณาการจากพลเมืองของตนและเชล ยเป็นเมล็ดคาเคาโดยใช้แทนค่าเงินชาวแอซเทคนิยมดื่มช็อกโกแลตขมเช่นเดียวกับชาวมายายุคแรกโดยปรุงรสชาติให้ซู่ซ่าขึ้นด้วยเครื่องเทศชาวเมโสอเมริกาสมัยนั้นยังไม่มีใครปลูกอ้อยก็เลยไม่มีใครใส่น้ำตาลกันเล่ากันว่าคนมายายุคคลาสสิกชอบดื่มช็อกโกแลตกันในวาระพิเศษขณะที่บรรดาเชื้อพระวงศ์จะนิยมดื่มกันมากส่วนชาวแอซเทคบรรดาผู้ปกครองระดับสูงพระทหารยศสูงและพ่อค้าที่มีหน้ามีตาเท่านั้นที่มีสิทธิลิ้มรสเครื่องดื่มศักดิ์สิทธิ์นี้ช็อกโกแลตมีบทบาทสำคัญในพิธีของราช วงศ์และศาสนาเพราะใช้เมล็ดคาเคาเป็นเครื่องสักการะเทพเจ้าและดื่มในพิธีสำคัญสำหรับที่มาของชื่อช็อกโกแลตนั้นยังไม่มีใครอธิบายได้แจ่มชัดแต่มีความเป็นไปได้สองทางทาง
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: