การปักชำใบ การปักชำใบสามารถจะทำได้หลายวิธี ขึ้นอยู่กับพืชแต่ละชนิด โดย การแปล - การปักชำใบ การปักชำใบสามารถจะทำได้หลายวิธี ขึ้นอยู่กับพืชแต่ละชนิด โดย ไทย วิธีการพูด

การปักชำใบ การปักชำใบสามารถจะทำได้ห

การปักชำใบ

การปักชำใบสามารถจะทำได้หลายวิธี ขึ้นอยู่กับพืชแต่ละชนิด โดยแบ่งเป็น
2.1 การปักชำแผ่นใบ
2.2 การปักชำใบที่มีก้านใบ
2.3 การปักชำใบที่มีตาติด

การปักชำใบ

freebird_cool_1.gif 2.1 การปักชำแผ่นใบ
โดยการตัดแผ่นใบออกเป็นส่วน ๆ ต้นและรากใหม่จะเกิดจากแผ่นใบโดยตรง การปักชำมีหลายวิธีขึ้นอยู่กับชนิดของพืช คือ

2.1.1 การปักชำใบลิ้นมังกร
เลือกใบที่แก่และหนาพอสมควร ตัดเป็นท่อนยาวประมาณ 2-3 นิ้ว (อาจยาวกว่านี้ได้ ขึ้นอยู่กับปริมาณต้นที่ต้องการ) นำมาปักชำในวัสดุปักชำ (ทรายผสมขี้เถ้าแกลบอัตรา 1:1) ปักลึก ½ - ¾ ของความยาวของชิ้นใบที่ใช้ปักชำ ต้นและรากใหม่จะเกิดตรงฐานของใบที่ปักชำ (ส่วนโคนของใบ) ใบเก่าจะค่อย ๆ แห้งตายไป การปักชำควรระวังหัวท้ายของใบ

2.1.2 การปักชำใบบีโกเนียประดับหรือกล็อกซีเนีย
นำใบแก่มากรีดเส้นใบใหญ่ให้ขาดจากกัน (อาจกรีดให้ขาดเป็นส่วน ๆ หรือยังติดเป็นใบอยู่ก็ได้) การปักชำมี 2 วิธี คือ

(1) การปักชำแบบวางแผ่นใบลงบนวัสดุปักชำ กลบด้วยวัสดุปักชำบาง ๆ พอไม่ให้ใบแห้ง
(2) การปักชำแบบนำแผ่นใบแต่ละส่วนปักชำบนวัสดุปักชำ
นำกระบะปักตำตั้งไว้ในที่ร่มมีความชื้นสูงแต่ไม่แฉะ ต้นและรากใหม่จะเกิดตรงบริเวณเส้นใบที่ถูกตัดขาด ขณะเดียวกันใบเก่าจะค่อย ๆ แห้งตายไป

2.1.3 การปักชำใบโคมญี่ปุ่นหรือใบคว่ำตายหงายเป็น
ตัดใบที่แก่วางบนวัสดุปักชำที่ชื้น การปักชำควรกลบใบบางส่วน หรือพยายามทำให้ขอบใบชิดอยู่กับวัสดุปักชำเพื่อป้องกันมิให้ใบแห้ง ต้นและรากใหม่จะเกิดตรงรอยหยักของแผ่นใบ บริเวณนั้นจะมีคัพภะของแผ่นใบที่พักตัวอยู่

freebird_cool_1.gif 2.2 การปักชำใบที่มีก้านใบ
ต้นและรากใหม่จะเกิดตรงปลายของก้านใบ นิยมใช้ในการปักชำใบอัฟริกัน-ไวโอเล็ต ใบที่ปักชำควรจะเป็นใบที่อยู่ช่วงกลางของต้น ไม่ควรใช้ใบแก่ (ใบล่าง) หรือใบอ่อน (ใบยอด) ตัดใบให้มีก้านใบยาวประมาณ ½ - 1 นิ้ว ปักชำก้านใบลงในวัสดุปักชำ ควรจะปักชำให้หันหน้าไปทางเดียวกันโดยตลอดอย่างมีระเบียบ อย่าให้ขอบใบชนกัน อาจชำในกระถาง 10 นิ้วตื้น หรือกระบะเพาะเมล็ดก็ได้ การใช้ฮอร์โมนเร่งรากความเข้มข้นต่ำประมาณ 50 ppm จุ่มก้านใบก่อนปักชำ จะช่วยให้ออกรากเร็วขึ้น การให้น้ำควรให้ทางก้นกระถาง

freebird_cool_1.gif 2.3 การปักชำใบที่มีตามติด
ได้แก่ การปักชำใบที่มีแผ่นใบ ก้านใบ และกิ่งหรือลำต้นที่มีตาติดอยู่ด้วย เนื่องจากพืชพวกนี้จะออกรากใหม่ได้ดี แต่เกิดต้นใหม่ได้ช้ามาก จึงต้องให้มีตามเก่าติดไปด้วย เพื่อแตกเป็นต้นใหม่ เช่น ยางอินเดีย เปปเปอร์โรเมีย มะนาว
การปักชำควรชำส่วนของลำต้นให้ตาจมลงไปประมาณ ½ นิ้ว จะเกิดรากและยอดขึ้นมาใหม่ตรงบริเวณข้อ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
การปักชำใบ การปักชำใบสามารถจะทำได้หลายวิธีขึ้นอยู่กับพืชแต่ละชนิดโดยแบ่งเป็น 2.1 การปักชำแผ่นใบ 2.2 การปักชำใบที่มีก้านใบ 2.3 การปักชำใบที่มีตาติด การปักชำใบการปักชำแผ่นใบ freebird_cool_1.gif 2.1 โดยการตัดแผ่นใบออกเป็นส่วนๆ ต้นและรากใหม่จะเกิดจากแผ่นใบโดยตรงการปักชำมีหลายวิธีขึ้นอยู่กับชนิดของพืชคือ2.1.1 การปักชำใบลิ้นมังกร ปักลึกเลือกใบที่แก่และหนาพอสมควรตัดเป็นท่อนยาวประมาณ 2-3 นิ้ว (อาจยาวกว่านี้ได้ขึ้นอยู่กับปริมาณต้นที่ต้องการ) นำมาปักชำในวัสดุปักชำ (ทรายผสมขี้เถ้าแกลบอัตรา 1:1) ½ - ¾ของความยาวของชิ้นใบที่ใช้ปักชำต้นและรากใหม่จะเกิดตรงฐานของใบที่ปักชำ (ส่วนโคนของใบ) ใบเก่าจะค่อยๆ แห้งตายไปการปักชำควรระวังหัวท้ายของใบ2.1.2 การปักชำใบบีโกเนียประดับหรือกล็อกซีเนีย นำใบแก่มากรีดเส้นใบใหญ่ให้ขาดจากกัน (อาจกรีดให้ขาดเป็นส่วนๆ หรือยังติดเป็นใบอยู่ก็ได้) การปักชำมี 2 วิธีคือ (1) การปักชำแบบวางแผ่นใบลงบนวัสดุปักชำกลบด้วยวัสดุปักชำบางพอไม่ให้ใบแห้งๆ (2) การปักชำแบบนำแผ่นใบแต่ละส่วนปักชำบนวัสดุปักชำ นำกระบะปักตำตั้งไว้ในที่ร่มมีความชื้นสูงแต่ไม่แฉะต้นและรากใหม่จะเกิดตรงบริเวณเส้นใบที่ถูกตัดขาดขณะเดียวกันใบเก่าจะค่อยๆ แห้งตายไป2.1.3 การปักชำใบโคมญี่ปุ่นหรือใบคว่ำตายหงายเป็น ตัดใบที่แก่วางบนวัสดุปักชำที่ชื้นการปักชำควรกลบใบบางส่วนหรือพยายามทำให้ขอบใบชิดอยู่กับวัสดุปักชำเพื่อป้องกันมิให้ใบแห้งต้นและรากใหม่จะเกิดตรงรอยหยักของแผ่นใบบริเวณนั้นจะมีคัพภะของแผ่นใบที่พักตัวอยู่การปักชำใบที่มีก้านใบ freebird_cool_1.gif 2.2 ตัดใบให้มีก้านใบยาวประมาณต้นและรากใหม่จะเกิดตรงปลายของก้านใบนิยมใช้ในการปักชำใบอัฟริกัน-ไวโอเล็ตใบที่ปักชำควรจะเป็นใบที่อยู่ช่วงกลางของต้นไม่ควรใช้ใบแก่ (ใบล่าง) หรือใบอ่อน (ใบยอด) ½ - 1 นิ้วปักชำก้านใบลงในวัสดุปักชำควรจะปักชำให้หันหน้าไปทางเดียวกันโดยตลอดอย่างมีระเบียบอย่าให้ขอบใบชนกันอาจชำในกระถาง 10 นิ้วตื้นหรือกระบะเพาะเมล็ดก็ได้การใช้ฮอร์โมนเร่งรากความเข้มข้นต่ำประมาณ 50 ppm จุ่มก้านใบก่อนปักชำจะช่วยให้ออกรากเร็วขึ้นการให้น้ำควรให้ทางก้นกระถางการปักชำใบที่มีตามติด freebird_cool_1.gif 2.3 ได้แก่การปักชำใบที่มีแผ่นใบก้านใบและกิ่งหรือลำต้นที่มีตาติดอยู่ด้วยเนื่องจากพืชพวกนี้จะออกรากใหม่ได้ดีแต่เกิดต้นใหม่ได้ช้ามากจึงต้องให้มีตามเก่าติดไปด้วยเพื่อแตกเป็นต้นใหม่เช่นยางอินเดียเปปเปอร์โรเมียมะนาว จะเกิดรากและยอดขึ้นมาใหม่ตรงบริเวณข้อการปักชำควรชำส่วนของลำต้นให้ตาจมลงไปประมาณ½นิ้ว
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: