ประวัติ พระอาจารย์เสาร์ กันตสีโล  ประวัติพระอาจารย์เสาร์ กันตสีโล (หลว การแปล - ประวัติ พระอาจารย์เสาร์ กันตสีโล  ประวัติพระอาจารย์เสาร์ กันตสีโล (หลว ไทย วิธีการพูด

ประวัติ พระอาจารย์เสาร์ กันตสีโล ป

ประวัติ พระอาจารย์เสาร์ กันตสีโล
ประวัติพระอาจารย์เสาร์ กันตสีโล (หลวงปู่เสาร์ กันตสีโล)

หลวงปู่เสาร์ กันตสีโล นามเดิม เสาร์ เกิดวันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2502 ที่บ้านข่าโคม ตำบลหนองขอน อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี (ประวัติเกี่ยวกับบิดา-มารดาไม่มีบันทึกไว้)การศึกษาได้ศึกษาอักษรธรรม อักษรขอม อักษรไทยน้อย และหนังสือไทยด้วย อุปสมบทที่วัดใต้ ต่อมาภายหลังท่านได้ญัตติเป็นพระฝ่ายธรรมยุต ที่วัดศรีทอง (วัดศรีอุบลรัตนาราม) อ.เมือง จ.อุบลราชธานี โดยมี พระครูฑา โชติปาโล เป็นพระอุปัชฌาย์ เจ้าอธิการสีทา ชยเสโน เป็นพระกรรมวาจารย์

เมื่อจุลศักราช 1210 (พ.ศ. 2391 ) ปีวอก เอกศก เดือน สิบสอง ขึ้น 10 ค่ำ วันพฤหัสบดี หลวงพ่อทิพย์ เสนา ฉายา ทิพพเสโน นามสกุล แท่นทิพย์ ได้ก่อตั้งวัดเลียบ เดิมเป็นสำนักสงฆ์(สำนักวิปัสสนา) เมื่อหลวงพ่อทิพย์เสนาได้มรณภาพลงเป็นเหตุให้สำนักสงฆ์(สำนักวิปัสสนา) ตั้งไว้ 44 ปี วัดเลียบจึงเป็นวัดร้าง จนมาถึงจุลศักราช 1254 (พ.ศ. 2435 ) พระอาจารย์เสาร์ ได้มาเป็นเจ้าอาวาสวัดเลียบ เมื่อวันอังคาร เดือน เมษายน ขึ้น 1 ค่ำปีมะเส็ง ท่านได้บุกเบิกเสริมสร้างวัดเลียบ พระอาจารย์เสาร์ พร้อมด้วย พระอุบลการประชานิจ (บุญชู) และพระสุรพล ชยากร (อุ่น) ได้ดำเนินการก่อสร้างถาวรวัตถุ มีศาลาการเปรียญ และพระอาจารย์เสารท่านได้ลงมือก่อสร้างพระพุทธรูปก่ออิฐถือปูน หน้าตักกว้าง 2.50 เมตร สูงจากฐานถึงยอดเกศ 3 เมตร ปัจจุบันประดิษฐานภายในอุโบสถวัดเลียบ มีพระนามว่า "พระพุทธจอมเมือง" พระอาจารย์เสาร์ กนฺสีโล ได้ก่อสร้างอุโบสถขึ้นเพื่อประกอบพิธีกรรมทางศาสนา ก่อสร้างด้วยไม้ มีเฉลียงโดย รอบ หลังคามุงสังกะสีมีความกว้าง 8 เมตร ความยาว 12 เมตร เมื่อ พ.ศ. 2439 พระอาจารย์เสาร์ กนฺสีโล พร้อมด้วยท่ายสิทธิสารและเพี้ยเมืองจัน ได้กราบบังคมทูลขอพระราชทานวิสุงคามสีมา ตามพระราชโองการที่ 84/303 ตั้งแต่วันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2439 ร.ศ. 115 ตรงกับปีที่ 29 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชการที่ 5 และได้ผูกพัทธสีมา

เมื่อพุทธศักราช 2445 เป็นเวลา 10 ปี ที่พระอาจารย์เสาร์ กนฺตสีโล ได้บุกเบิกสำนักวัดเลียบ และท่านก็ได้ออกธุดงค์ไปในสถานที่ต่างๆ พระอาจารย์เสาร์ ท่านเป็นพระสงฆ์ฝ่ายผู้อาวุโส และเป็นบุคคลที่พูดน้อย ท่านไม่ค่อยจะคลุกคลีกับหมู่คณะเป็นที่ยำเกรงของทุกคนจึงทำให้ขาดการเรียบ เรียงไป พระอาจารย์ กนฺสีโล เป็นพระที่สงบเสงี่ยม กิริยามารยาทอ่อนน้อมสุขุมพูดน้อย จิตใจมีแต่ความเมตตา

อยู่ป่าดงดีกว่า

พระอาจารย์ผู้สอนกรรมฐานให้แก่พระอาจารย์เสาร์ ไม่ปรากฎนามในประวัติท่าน แต่ได้ปฏิบัติภาวนาได้ไม่นาน ทำให้พระอาจารย์เสาร์ หันมาสนใจในการปฏิบัติอย่างมาก เพราะการปฏิบัติสมาธิดภาวนาเป็นชื่อแห่งความเพียร ที่นักปฏิบัติทั้งหลายในบวรพระพุทธศานาได้ถือเป็นข้อปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ เป็นอย่างยิ่งซึ่งไม่มีข้อปฏิบัติอื่นดียิ่งกว่าพระอาจารย์เสาร์ กนฺสีโล มีความรู้ความเข้าใจขึ้นโดยลำดับแห่งองค์ภาวนา ก็ยิ่งมีความชอบมีความพอใจเป็นพิเศษ ต่อมาท่านมีความคิดอยู่ว่า การที่ท่านปฏิบัติภาวนา อยู่นี้ก็ได้ผลเป็นที่น่าพอใจ แต่ทางที่ดีควรออกไปอยู่ป่าดงหาสถานาที่สงบระงับจากผู้คนพลุกพล่าน จิตใจคงจะสงบลงได้ยิ่งกว่านี้เป็นแน่ ดังนั้นท่านได้ออกธุดงค์มุ่งสู่ป่าทันทีในวันรุ่งขึ้น ความปรารถนาของพระอาจารย์เสาร์ ในการออกป่าดงเพื่อภาวนาและพิจารณาสมาธิธรรมในครั้งนี้ ถ้าแม้เป็นไปจริงดังคำตั้งใจแล้ว เมื่อกลับเข้ามาสู่วัดท่านจะนำความรู้ที่เกิดจากจิตใจเหล่านั้นมาเผยแพร่ฝึกสอนลูกศิษย์ลูกหาที่หวังความพ้นทุกข์อีกต่อไป

สำนักวัดเลียบ

ภายหลังที่ท่านพระอาจารย์ เสาร์ กนฺตสีโล ไปอยู่ดงอยู่ป่า เป็นเวลาอันควรแล้ว ท่านได้กลับออกมาและเปิดสำนักปฏิบัติธรรม ณ วัดเลียบ อำเภอเมืองอุบลฯ เมื่อ พ.ศ. 2435 ในชีวิตพระอาจารย์เสาร์ ท่านได้ฝากจิตใจไว้กับพระพุทธเจ้ามาโดยตลอด ท่านพยายามรวบรวมเขียนหนังสือไว้เล่มหนึ่งชื่อว่า "จตุรารักข์ " เป็นหนังสือที่พระอาจารย์เสาร์ กนฺตสีโล ได้บรรจงแต่งไว้เพื่อพวกเรา ที่เป็นพุทธบริษัทควรได้ศึกษา โดยท่านได้แสดงไว้ดังนี้

1. ให้มนุษย์เราทุกคนรู้จักระลึกถึงคุณพระพุทธเจ้า คือให้เจริญ พุทธานุสสติ
2. ให้มนุษย์เราทุกคน เมื่อเกิดมาแล้วเข้าใจตนเองว่านับถือพระพุทธศาสนาแล้ว จงให้เจริญเมตตา กรุณา มุฑิตา อุเบกขา เป็นนุสติ
3. ให้มนุษย์เราทุกคน จงรู้ว่าเมื่อเกิดมาแล้วจงรู้กฎของ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ซึ่งหนีสิ่งเหล่านี้ไปไม่ได้ คือ การเกิด แก่ เจ็บ ตาย จึง ให้เจริญความไม่เที่ยง มีความทุกข์ และไม่ใช่ตัวตนของเรา ฉะนั้นจงเจริญอสุภานุสติ
4. มนุษย์เราทุกคน จงพิจารณากองทุกข์นับตั้งแต่เกิดมาจนวาระสุดท้าย คือ ความตาย เพราะเราหนีความตายไปไม่ได้จงให้เจริญมรณานุสติ

ท่านได้ย้ำไว้ในหนังสืออีกว่า " เรื่องของกรรมคนเรานี้ย่อมมีกรรมเป็นของๆตน มีกรรมเป็นผู้ให้ผล มีกรรมเป็นแดนเกิด มีกรรมเป็นผู้ติดตาม มีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัย เราทำกรรมใดไว้ เป็นบุญหรือเป็นบาป เมื่อยังมีชีวิตอยู่กรรมนั้นจักเป็นทายาท ให้เราได้รับผลของกรรมนั้นสืบต่อๆไป " นี่เป็นความหมายที่ท่านพระอาจารย์เสาร์ กล่าวเป็นนัยสืบมา

ภายหลังที่ท่านได้เปิดสำนักปฏิบัติธรรมที่วัดเลียบ อำเภอเมืองอุบลฯ ได้ไม่นาน โคมทองแห่งพระพุทธศาสนาได้ถูกจุดขึ้น เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2436 พระอาจารย์มั่น ภูริทตฺโต ได้อุปสมบทเป็นพระภิกษุในพระพุทธศาสนา ณ พัทธสีมาวัดเลียบ อำเภอเมืองอุบลฯ โดยมีพระอริยกวี (อ่อน) เป็นพระอุปัชฌาย์ เจ้าอธิการสีทา ชยเสโน เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระครูประจักษ์อุบลคุณ (สุ้ย) เป็นพระอนุสาวนาจารย์ หลังจากนั้นได้ถวายตัวเป็นศิษย์ และได้อยู่จำพรรษากับพระอาจารย์เสาร์ ได้นำอุบายอันควรให้พระอาจารย์มั่น ภูริทตฺโต น้อมนำจิตใจ บังเกิดความสงบ คือ พุท-โธ และคำบริกรรมนี้ตรงกับจริตของพระอาจารย์มั่นยิ่งนัก ท่านได้ถือเป็นนิสัยที่ชอบกว่าบรรดาบทธรรมอื่นๆและได้บ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ประวัติพระอาจารย์เสาร์กันตสีโล ประวัติพระอาจารย์เสาร์กันตสีโล (หลวงปู่เสาร์กันตสีโล) หลวงปู่เสาร์กันตสีโลนามเดิมเสาร์เกิดวันที่ 2 พฤศจิกายนพ.ศ. 2502 ที่บ้านข่าโคมตำบลหนองขอนอำเภอเมืองจังหวัดอุบลราชธานี (ประวัติเกี่ยวกับบิดามารดาไม่มีบันทึกไว้) การศึกษาได้ศึกษาอักษรธรรมอักษรขอมอักษรไทยน้อยและหนังสือไทยด้วยอุปสมบทที่วัดใต้ต่อมาภายหลังท่านได้ญัตติเป็นพระฝ่ายธรรมยุตที่วัดศรีทอง (วัดศรีอุบลรัตนาราม) ศูนย์จ.อุบลราชธานีโดยมีพระครูฑาโชติปาโลเป็นพระอุปัชฌาย์เจ้าอธิการสีทาชยเสโนเป็นพระกรรมวาจารย์ เมื่อจุลศักราชปีวอก (พ.ศ. 2391) 1210 เอกศกเดือนสิบสองขึ้น 10 ค่ำวันพฤหัสบดีหลวงพ่อทิพย์เสนาฉายาทิพพเสโนนามสกุลแท่นทิพย์ได้ก่อตั้งวัดเลียบเดิมเป็นสำนักสงฆ์(สำนักวิปัสสนา)เมื่อหลวงพ่อทิพย์เสนาได้มรณภาพลงเป็นเหตุให้สำนักสงฆ์(สำนักวิปัสสนา)ตั้งไว้ 44 ปีวัดเลียบจึงเป็นวัดร้างจนมาถึงจุลศักราช 1254 (พ.ศ. 2435) พระอาจารย์เสาร์ได้มาเป็นเจ้าอาวาสวัดเลียบเมื่อวันอังคารเดือนเมษายนขึ้น 1 ค่ำปีมะเส็งท่านได้บุกเบิกเสริมสร้างวัดเลียบพระอาจารย์เสาร์พร้อมด้วยพระอุบลการประชานิจ (บุญชู) และพระสุรพลชยากร (อุ่น) ได้ดำเนินการก่อสร้างถาวรวัตถุมีศาลาการเปรียญและพระอาจารย์เสารท่านได้ลงมือก่อสร้างพระพุทธรูปก่ออิฐถือปูนหน้าตักกว้าง 2.50 เมตรสูงจากฐานถึงยอดเกศ 3 เมตรปัจจุบันประดิษฐานภายในอุโบสถวัดเลียบมีพระนามว่า "พระพุทธจอมเมือง" พระอาจารย์เสาร์กนฺสีโลได้ก่อสร้างอุโบสถขึ้นเพื่อประกอบพิธีกรรมทางศาสนาก่อสร้างด้วยไม้มีเฉลียงโดยรอบหลังคามุงสังกะสีมีความกว้าง 8 เมตรความยาว 12 เมตรเมื่อพ.ศ. 2439 พระอาจารย์เสาร์กนฺสีโลพร้อมด้วยท่ายสิทธิสารและเพี้ยเมืองจันได้กราบบังคมทูลขอพระราชทานวิสุงคามสีมาตามพระราชโองการที่ 84/303 ตั้งแต่วันที่ 26 มีนาคมพ.ศ. 2439 ร.ศ. 115 ตรงกับปีที่ 29 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชการที่ 5 และได้ผูกพัทธสีมา เมื่อพุทธศักราช 2445 เป็นเวลา 10 ปีที่พระอาจารย์เสาร์กนฺตสีโลได้บุกเบิกสำนักวัดเลียบและท่านก็ได้ออกธุดงค์ไปในสถานที่ต่าง ๆ พระอาจารย์เสาร์ท่านเป็นพระสงฆ์ฝ่ายผู้อาวุโสและเป็นบุคคลที่พูดน้อยท่านไม่ค่อยจะคลุกคลีกับหมู่คณะเป็นที่ยำเกรงของทุกคนจึงทำให้ขาดการเรียบเรียงไปพระอาจารย์กนฺสีโลเป็นพระที่สงบเสงี่ยมกิริยามารยาทอ่อนน้อมสุขุมพูดน้อยจิตใจมีแต่ความเมตตาอยู่ป่าดงดีกว่า พระอาจารย์ผู้สอนกรรมฐานให้แก่พระอาจารย์เสาร์ไม่ปรากฎนามในประวัติท่านแต่ได้ปฏิบัติภาวนาได้ไม่นานทำให้พระอาจารย์เสาร์หันมาสนใจในการปฏิบัติอย่างมากเพราะการปฏิบัติสมาธิดภาวนาเป็นชื่อแห่งความเพียรที่นักปฏิบัติทั้งหลายในบวรพระพุทธศานาได้ถือเป็นข้อปฏิบัติดีปฏิบัติชอบเป็นอย่างยิ่งซึ่งไม่มีข้อปฏิบัติอื่นดียิ่งกว่าพระอาจารย์เสาร์กนฺสีโลมีความรู้ความเข้าใจขึ้นโดยลำดับแห่งองค์ภาวนาก็ยิ่งมีความชอบมีความพอใจเป็นพิเศษต่อมาท่านมีความคิดอยู่ว่าการที่ท่านปฏิบัติภาวนาอยู่นี้ก็ได้ผลเป็นที่น่าพอใจแต่ทางที่ดีควรออกไปอยู่ป่าดงหาสถานาที่สงบระงับจากผู้คนพลุกพล่านจิตใจคงจะสงบลงได้ยิ่งกว่านี้เป็นแน่ดังนั้นท่านได้ออกธุดงค์มุ่งสู่ป่าทันทีในวันรุ่งขึ้นความปรารถนาของพระอาจารย์เสาร์ในการออกป่าดงเพื่อภาวนาและพิจารณาสมาธิธรรมในครั้งนี้ถ้าแม้เป็นไปจริงดังคำตั้งใจแล้วเมื่อกลับเข้ามาสู่วัดท่านจะนำความรู้ที่เกิดจากจิตใจเหล่านั้นมาเผยแพร่ฝึกสอนลูกศิษย์ลูกหาที่หวังความพ้นทุกข์อีกต่อไป สำนักวัดเลียบ ภายหลังที่ท่านพระอาจารย์เสาร์กนฺตสีโลไปอยู่ดงอยู่ป่าเป็นเวลาอันควรแล้วท่านได้กลับออกมาและเปิดสำนักปฏิบัติธรรมณวัดเลียบอำเภอเมืองอุบลฯ เมื่อพ.ศ. 2435 ในชีวิตพระอาจารย์เสาร์ท่านได้ฝากจิตใจไว้กับพระพุทธเจ้ามาโดยตลอดท่านพยายามรวบรวมเขียนหนังสือไว้เล่มหนึ่งชื่อว่า "จตุรารักข์" เป็นหนังสือที่พระอาจารย์เสาร์กนฺตสีโลได้บรรจงแต่งไว้เพื่อพวกเราที่เป็นพุทธบริษัทควรได้ศึกษาโดยท่านได้แสดงไว้ดังนี้ 1. ให้มนุษย์เราทุกคนรู้จักระลึกถึงคุณพระพุทธเจ้าคือให้เจริญพุทธานุสสติ 2. ให้มนุษย์เราทุกคนเมื่อเกิดมาแล้วเข้าใจตนเองว่านับถือพระพุทธศาสนาแล้วจงให้เจริญเมตตากรุณามุฑิตาอุเบกขาเป็นนุสติ 3. ให้มนุษย์เราทุกคนจงรู้ว่าเมื่อเกิดมาแล้วจงรู้กฎของอนิจจังทุกขังอนัตตาซึ่งหนีสิ่งเหล่านี้ไปไม่ได้คือการเกิดแก่เจ็บตายจึงให้เจริญความไม่เที่ยงมีความทุกข์และไม่ใช่ตัวตนของเราฉะนั้นจงเจริญอสุภานุสติ 4. มนุษย์เราทุกคนจงพิจารณากองทุกข์นับตั้งแต่เกิดมาจนวาระสุดท้ายคือความตายเพราะเราหนีความตายไปไม่ได้จงให้เจริญมรณานุสติ ท่านได้ย้ำไว้ในหนังสืออีกว่า "เรื่องของกรรมคนเรานี้ย่อมมีกรรมเป็นของๆตนมีกรรมเป็นผู้ให้ผลมีกรรมเป็นแดนเกิดมีกรรมเป็นผู้ติดตามมีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัยเราทำกรรมใดไว้เป็นบุญหรือเป็นบาปเมื่อยังมีชีวิตอยู่กรรมนั้นจักเป็นทายาทให้เราได้รับผลของกรรมนั้นสืบต่อๆไป" นี่เป็นความหมายที่ท่านพระอาจารย์เสาร์กล่าวเป็นนัยสืบมา ภายหลังที่ท่านได้เปิดสำนักปฏิบัติธรรมที่วัดเลียบอำเภอเมืองอุบลฯ ได้ไม่นานโคมทองแห่งพระพุทธศาสนาได้ถูกจุดขึ้นเมื่อวันที่ 12 มิถุนายนพ.ศ. 2436 พระอาจารย์มั่นภูริทตฺโตได้อุปสมบทเป็นพระภิกษุในพระพุทธศาสนาณพัทธสีมาวัดเลียบอำเภอเมืองอุบลฯ โดยมีพระอริยกวี (อ่อน) เป็นพระอุปัชฌาย์เจ้าอธิการสีทาชยเสโนเป็นพระกรรมวาจาจารย์พระครูประจักษ์อุบลคุณ (สุ้ย) เป็นพระอนุสาวนาจารย์หลังจากนั้นได้ถวายตัวเป็นศิษย์และได้อยู่จำพรรษากับพระอาจารย์เสาร์ได้นำอุบายอันควรให้พระอาจารย์มั่นภูริทตฺโตน้อมนำจิตใจบังเกิดความสงบคือท่านได้ถือเป็นนิสัยที่ชอบกว่าบรรดาบทธรรมอื่นๆและได้บและคำบริกรรมนี้ตรงกับจริตของพระอาจารย์มั่นยิ่งนักพุทโธ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ที่คุณพระอาจารย์ประวัติสินค้าเมื่อกันตสีโล
ประวัติที่คุณพระอาจารย์สินค้าเมื่อกันตสีโล (หลวงปู่เสาร์กันตสีโล)

หลวงปู่เสาร์กันตสีโลนาม เดิมเสาร์เกิดวันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2502 ที่บ้านข่าโคมตำบลหนองขอนอำเภอ เมืองจังหวัดอุบลราชธานี อักษรขอมอักษรไทยน้อยและหนังสือ ไทยด้วยอุปสมบทที่วัดใต้ ที่วัดศรีทอง (วัดศรีอุบลรัตนาราม) อ. เมืองจ. โดยมีอุบลราชธานีพระครูฑาโชติปาโลเป็นที่คุณพระอุปัชฌาย์เจ้าอธิการสีทาชยเสโนเป็นที่คุณพระกรรมวาจารย์เมื่อจุลศักราช 1210 ( พ.ศ. 2391) ปีวอก เอกศกเดือนสิบสองขึ้น 10 ค่ำวันพฤหัสบดีหลวงพ่อทิพย์เสนาฉายา ทิพพเสโนนามสกุลแท่นทิพย์ได้ก่อตั้งวัดเลียบเดิมเป็นสำนักสงฆ์ (สำนักวิปัสสนา) ตั้งไว้ 44 ปีวัดเลียบจึงเป็นวัดร้างจน มาถึงจุลศักราช 1254 ( พ.ศ. 2435) พระอาจารย์เสาร์ได้มาเป็นเจ้าอาวาสวัด เลียบเมื่อวันอังคารเดือนเมษายนขึ้น 1 ค่ำปีมะเส็งท่านได้บุกเบิกเสริมสร้าง วัดเลียบพระอาจารย์ เสาร์พร้อมด้วยพระอุบลการประชานิจ (บุญชู) และพระสุรพลชยากร (อุ่น) ได้ดำเนินการก่อสร้างถาวรวัตถุมีศาลาการเปรียญ หน้าตักกว้าง 2.50 เมตรสูงจากฐานถึงยอดเกศ 3 เมตร มีพระนามว่า "พระพุทธจอมเมือง" พระอาจารย์เสาร์กนฺสีโล ก่อสร้างด้วยไม้มีเฉลียงโดยรอบหลังคา มุงสังกะสีมีความกว้าง 8 เมตรความยาว 12 เมตรเมื่อ พ.ศ. 2439 พระอาจารย์เสาร์กนฺสีโล ตามพระราชโองการที่ 84/303 ตั้งแต่วันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2439 ร.ศ. 115 ตรงกับปีที่ 29 รัชการที่ 5 ได้ผูกพัทธสีมาและเมื่อพุทธศักราช 2445 เป็นเวลา 10 ปีที่พระอาจารย์เสาร์กนฺต สีโลได้บุกเบิกสำนักวัดเลียบ พระอาจารย์เสาร์ท่านเป็นพระสงฆ์ฝ่าย ผู้อาวุโสและเป็นบุคคลที่พูดน้อย เรียงไปพระอาจารย์กนฺสีโล เป็นพระที่สงบเสงี่ยมกิริยามารยาทอ่อนน้อมสุขุมพูดน้อย ไม่ปรากฎนามในประวัติท่าน แต่ ได้ปฏิบัติภาวนาได้ไม่นานทำให้พระอาจารย์เสาร์หันมาสนใจในการปฏิบัติอย่างมาก ปฏิบัติชอบ กนฺสีโล ต่อมาท่านมีความคิดอยู่ว่า การที่ท่านปฏิบัติภาวนาอยู่นี้ก็ได้ผลเป็นที่น่าพอใจ ความปรารถนาของพระอาจารย์เสาร์ ถ้าแม้เป็นไปจริงดังคำตั้งใจ แล้ว เสาร์กนฺตสีโลไปอยู่ ดงอยู่ป่าเป็นเวลาอันควรแล้ว ณ วัดเลียบอำเภอเมืองอุบลฯ เมื่อ พ.ศ. 2435 ในชีวิตพระอาจารย์เสาร์ "จตุรารักข์" เป็นหนังสือที่พระอาจารย์เสาร์กนฺ ตสีโลได้บรรจงแต่งไว้เพื่อพวกเราที่เป็นพุทธ บริษัท ควรได้ศึกษาโดยท่านได้แสดงไว้ดังนี้ 1 คือให้เจริญพุทธานุส สติ 2 ให้มนุษย์เราทุกคน จงให้เจริญเมตตากรุณามุฑิตา อุเบกขาเป็นนุสติ 3 ให้มนุษย์เราทุกคนจงรู้ว่า เมื่อเกิดมาแล้วจงรู้กฎของอนิจจังทุกขังอนัตตาซึ่งหนีสิ่งเหล่านี้ไปไม่ได้คือการเกิดแก่เจ็บตายจึงให้เจริญความไม่เที่ยงมีความทุกข์และไม่ใช่ตัวตนของเราฉะนั้น จงเจริญอสุภานุสติ4 มนุษย์เราทุกคน คือความตาย " มีกรรมเป็นผู้ให้ผลมีกรรม เป็นแดนเกิดมีกรรมเป็นผู้ติดตามมีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัยเราทำกรรมใดไว้เป็นบุญหรือเป็นบาป " อำเภอเมืองอุบลฯ ได้ไม่นาน เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2436 พระอาจารย์มั่นภูริทตฺโต ณ พัทธสีมาวัดเลียบอำเภอเมืองอุบลฯ โดยมีพระอริยกวี (อ่อน) เป็นพระอุปัชฌาย์เจ้าอธิการสีทาชย เสโนเป็นพระกรรมวาจาจารย์พระครูประจักษ์อุบลคุณ (สุ้ย) เป็นพระอนุสาวนาจารย์หลังจาก นั้นได้ถวายตัวเป็นศิษย์ ได้นำอุบายอันควรให้พระอาจารย์ มั่นภูริทตฺโตน้อมนำจิตใจบังเกิดความสงบคือพุท - โธ




















การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2025 I Love Translation. All reserved.

E-mail: