วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ( Scientific Method ) มีรายละเอียดดังนี้ 1. ชั้น การแปล - วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ( Scientific Method ) มีรายละเอียดดังนี้ 1. ชั้น ไทย วิธีการพูด

วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ( Scientific

วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ( Scientific Method ) มีรายละเอียดดังนี้
1. ชั้นสังเกตและระบุปัญหา สำคัญที่ว่าการแก้ปัญหา จะต้องคำนึงว่าปัญหาเกิดขึ้นได้อย่างไร ปัญหาเกิดจากการสังเกต การสังเกตเป็นคุณสมบัติของนักวิทยาศาสตร์ การสังเกตอาจจะเริ่มจากสิ่งแวดล้อมรอบตัวเรา อาจจะเป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติ หรือการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต แม้แต่ อเลกซานเดอร์เฟลมมิง
(Alexander Fleming) ได้สังเกตเกี่ยวกับการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรียในจานเพาะเชื้อ พบว่าถ้ามีราเพนนิซิลเลียม (Penicilliumnotatum) อยู่ในจานเพาะเลี้ยงเชื้อแบคทีเรียจะไม่เจริญดี ผลของการสังเกตของ อเลกซานเดอร์ เฟลมมิง นำไปสู่ประโยชน์มหาศาลในวงการแพทย์ การสังเกตจึงเป็นขั้นแรกที่สำคัญนำไปสู่ข้อเท็จจริงบางประการ และมีส่วนให้เกิดปัญหา การสังเกตจึงควรสังเกตอย่างรอบคอบ ละเอียดถี่ถ้วน ดังนั้น ในการตั้งปัญหาที่ดี ควรจะอยู่ในลักษณะที่น่าจะเป็นไปได้ สามารถตรวจสอบหาคำตอบได้ง่าย และยึดข้อเท็จจริงต่าง ๆ ที่รวบรวมมาได้ ตัวอย่างการสังเกต "ต้นหญ้าใต้ต้นไม้ใหญ่ หรือต้นหญ้าที่อยู่ใต้หลังคามักจะไม่งอกงาม ส่วนต้นหญ้าในบริเวณใกล้เคียงกันที่ได้รับแสงเจริญงอกงามดี" ตัวอย่างการตั้งปัญหา "แสงแดดมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเจริญงอกงามของต้นหญ้าหรือไม่" การตั้งปัญหานั้นสำคัญกว่าการแก้ปัญหา" เพราะ การตั้งปัญหาที่ดีและชัดเจนจะทำให้ผู้ตั้งปัญหาเกิดความเข้าใจและมองเห็นลู่ทางของการค้นหาคำตอบเพื่อแก้ปัญหาที่ตั้งขึ้น ดังนั้นจึงต้องหมั่นฝึกการสังเกตสิ่งที่สังเกตนั้น:
เป็นอะไร?
เกิดขึ้นเมื่อไร?
เกิดขึ้นที่ไหน?
เกิดขึ้นได้อย่างไร?
ทำไมจึงเป็นเช่นนั้น?
2. ขั้นตั้งสมมติฐาน สมมติฐานมีคำตอบที่อาจเป็นไปได้ และคำตอบที่ยอมรับว่าถูกต้องเชื่อถือได้ เมื่อมีการพิสูจน์ หรือตรวจสอบหลาย ๆ ครั้ง ลักษณะสมมติฐานที่ดีควรมีลักษณะ ดังนี้
- เป็นสมมติฐานที่เข้าใจได้ง่าย
- เป็นสมมติฐานที่แนะลู่ทางที่จะตรวจสอบได้
- เป็นสมมติฐานที่ตรวจได้โดยการทดลอง
- เป็นสมมติฐานที่สอดคล้อง และอยู่ในขอบเขตของข้อเท็จจริงที่ได้จากการสังเกตและสัมพันธ์กับปัญหาที่ตั้งไว้
การตั้งสมมติฐานต้องยึดปัญหาเป็นหลักเสมอ ควรตั้งหลาย ๆ สมมติฐานเพื่อมีแนวทางของคำตอบหลาย ๆ อย่าง แต่ไม่ยึดสมมุติฐานใด สมมุติฐานหนึ่ง เป็นคำตอบ ก่อนที่จะพิสูจน์ตรวจสอบสมมติฐานหลาย ๆ วิธี และหลายครั้ง ๆ
3. ขั้นทำการทดลอง ทดสอบสมมติฐาน (ขั้นเก็บรวบรวมข้อมูล) เมื่อตั้งสมมติฐานแล้ว หรือคาดเดาคำตอบหลาย ๆ คำตอบไว้แล้ว กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ขั้นต่อไป คือ ตรวจสอบสมมติฐาน ในการตรวจสอบสมมติฐานจะต้องยึดข้อกำหนดสมมติฐานไว้เป็นหลักเสมอ เนื่องจากสมมติฐานที่ดีได้แนะลู่ทางการตรวจสอบและการออกแบบการตรวจสอบไว้แล้ว วิธีการตรวจสอบสมมติฐาน ได้แก่ การสังเกต และรวบรวมข้อเท็จจริงต่าง ๆ ที่เกิดจาก ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ อีกวิธีหนึ่ง โดยการทดลอง ซึ่งเป็นวิธีการที่นิยมใช้มากที่สุด เพื่อทำการค้นคว้าหาข้อมูล รวบรวมข้อมูลเพื่อตรวจสอบดูว่าสมมติฐานข้อใดเป็นคำตอบที่ถูกต้องที่สุด ในการตรวจสอบโดยการทดลองนั้น ควรจะระบุกระบวนการทดลองที่จะปฏิบัติจริง ควรจะมีการวางแผนลำดับขั้นตอน การทดลองก่อนหลัง ออกแบบการทดลองให้ได้ผลอย่างดี การใช้วัสดุอุปกรณ์ สารเคมี และเครื่องมือ มีการควบคุมดูแล ระมัดระวัง ในการวิเคราะห์ข้อมูลควรจะวิเคราะห์เพื่อหาข้อสรุปได้อย่างไร กระบวนการทดลองทางวิทยาศาสตร์ ผู้ทดลองทางวิทยาศาสตร์ ผู้ทดลองจะต้องควบคุมปัจจัยที่มีผลต่อการทดลอง เรียกว่า ตัวแปร (Variable) คือสิ่งที่มีอิทธิพลต่อการทดลอง ซึ่งควรจะมีตัวแปรน้อยที่สุด ตัวแปรแบ่งออกเป็น 3 ชนิด คือ
1) ตัวแปรต้น ( ตัวแปรอิสระ) (Independent variable) คือ ตัวแปรที่ต้องศึกษาทำการตรวจสอบและดูผลของมัน เป็นตัวแปรที่เรากำหนดขึ้นมา เป็นตัวแปรที่ไม่อยู่ในความควบคุมของตัวแปรใด ๆ
2) ตัวแปรตาม (Dependent variable) คือ ตัวแปรที่ไม่มีความเป็นอิสระในตัวมันเอง เปลี่ยนแปลงไปตามตัวแปรอิสระ เพราะเป็นผลของตัวแปรอิสระ
3) ตัวแปรควบคุม (Controlled variable) หมายถึง สิ่งอื่น ๆ นอกจากตัวแปรต้น ที่ทำให้ผลการทดลองคลาดเคลื่อนแต่เราควบคุมให้คงที่ตลอดการทดลอง เนื่องจากยังไม่ต้องการศึกษา
ในการตรวจสอบสมมติฐาน นอกจากจะควบคุมปัจจัยที่มีผลต่อการทดลอง จะต้องแบ่งชุดของการ
ทดลองเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม
- กลุ่มทดลอง หมายถึง กลุ่มที่เราใช้ศึกษาผลของตัวแปรอิสระ
- กลุ่มควบคุม หมายถึง ชุดของการทดลองที่ใช้เป็นมาตรฐานอ้างอิง เพื่อเปรียบเทียบข้อมูลที่ได้จากการทดลอง กลุ่มควบคุมจะแตกต่างจากกลุ่มทดลองเพียง 1 ตัวแปรเท่านั้น คือ ตัวแปรที่เราจะตรวจสอบหรือตัวแปรอิสระ ในขั้นตอนนี้ จะต้องมีการบันทึกข้อมูลที่ได้จากการสังเกตหรือการทดลอง แล้วนำข้อมูลทื่ได้มาจัดกระทำข้อมูลและสื่อความหมาย ซึ่งจะต้องมีการออกแบบการบันทึกข้อมูลให้อ่านเข้าใจง่ายอาจจะบันทึกในรูปตำราง กราฟ แผนภูมิ หรือ แผนภาพ
4. ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล เป็นขั้นที่นำข้อมูลที่ได้จากการสังเกต การค้นคว้า การทดลอง หรือการรวบรวมข้อมูลหรือข้อเท็จจริง มาทำการวิเคราะห์ผล อธิบายความหมายของข้อเท็จจริง แล้วนำไปเปรียบเทียบกับสมมติฐานที่ตั้งไว้ ว่าสอดคล้องกับสมมติฐานข้อใดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
5. ขั้นสรุปผล เป็นขั้นสรุปผลที่ได้จากการทดลอง การค้นคว้ารวบรวมข้อมูล สรุปข้อมูลที่ได้จากการสังเกตหรือการทดลองว่าสมมติฐานข้อใดถูก พร้อมทั้งสร้างทฤษฎีที่จะใช้เป็นแนวทางสำหรับอธิบายปรากฏการณ์ อื่น ๆ ที่คล้ายกัน และนำไปใช้ปรับปรุงชีวิตความเป็นอยู่ของมนุษย์ให้ดีขึ้น สรุปผลได้ว่า แสงแดดมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเจริญงอกงามของต้นหญ้าและสามารถนำผลสรุปในเรื่องนี้ไปใช้ในการปลูกพืช นั่นคือ เมื่อจะปลูกพืชควรปลูกในบริเวณที่แสงแดดส่องถึง จึงจะทำให้พืชเจริญงอกงามดี


0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
มีรายละเอียดดังนี้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (วิทยาศาสตร์) 1. ชั้นสังเกตและระบุปัญหาสำคัญที่ว่าการแก้ปัญหาจะต้องคำนึงว่าปัญหาเกิดขึ้นได้อย่างไรปัญหาเกิดจากการสังเกตการสังเกตเป็นคุณสมบัติของนักวิทยาศาสตร์การสังเกตอาจจะเริ่มจากสิ่งแวดล้อมรอบตัวเราอาจจะเป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติหรือการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิตแม้แต่อเลกซานเดอร์เฟลมมิง (อเล็กซานเดอร์เฟลมมิง) ได้สังเกตเกี่ยวกับการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรียในจานเพาะเชื้อพบว่าถ้ามีราเพนนิซิลเลียม (Penicilliumnotatum) อยู่ในจานเพาะเลี้ยงเชื้อแบคทีเรียจะไม่เจริญดีผลของการสังเกตของอเลกซานเดอร์เฟลมมิงนำไปสู่ประโยชน์มหาศาลในวงการแพทย์การสังเกตจึงเป็นขั้นแรกที่สำคัญนำไปสู่ข้อเท็จจริงบางประการและมีส่วนให้เกิดปัญหาการสังเกตจึงควรสังเกตอย่างรอบคอบละเอียดถี่ถ้วนดังนั้นในการตั้งปัญหาที่ดีควรจะอยู่ในลักษณะที่น่าจะเป็นไปได้สามารถตรวจสอบหาคำตอบได้ง่ายและยึดข้อเท็จจริงต่างๆ ที่รวบรวมมาได้ตัวอย่างการสังเกต "ต้นหญ้าใต้ต้นไม้ใหญ่หรือต้นหญ้าที่อยู่ใต้หลังคามักจะไม่งอกงามส่วนต้นหญ้าในบริเวณใกล้เคียงกันที่ได้รับแสงเจริญงอกงามดี" ตัวอย่างการตั้งปัญหา "แสงแดดมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเจริญงอกงามของต้นหญ้าหรือไม่" การตั้งปัญหานั้นสำคัญกว่าการแก้ปัญหา"เพราะการตั้งปัญหาที่ดีและชัดเจนจะทำให้ผู้ตั้งปัญหาเกิดความเข้าใจและมองเห็นลู่ทางของการค้นหาคำตอบเพื่อแก้ปัญหาที่ตั้งขึ้นดังนั้นจึงต้องหมั่นฝึกการสังเกตสิ่งที่สังเกตนั้น:เป็นอะไร เกิดขึ้นเมื่อไร เกิดขึ้นที่ไหน เกิดขึ้นได้อย่างไร ทำไมจึงเป็นเช่นนั้น 2. ขั้นตั้งสมมติฐานสมมติฐานมีคำตอบที่อาจเป็นไปได้และคำตอบที่ยอมรับว่าถูกต้องเชื่อถือได้เมื่อมีการพิสูจน์หรือตรวจสอบหลายๆ ครั้งลักษณะสมมติฐานที่ดีควรมีลักษณะดังนี้ -เป็นสมมติฐานที่เข้าใจได้ง่าย -เป็นสมมติฐานที่แนะลู่ทางที่จะตรวจสอบได้ -เป็นสมมติฐานที่ตรวจได้โดยการทดลอง -เป็นสมมติฐานที่สอดคล้องและอยู่ในขอบเขตของข้อเท็จจริงที่ได้จากการสังเกตและสัมพันธ์กับปัญหาที่ตั้งไว้ การตั้งสมมติฐานต้องยึดปัญหาเป็นหลักเสมอควรตั้งหลายๆ สมมติฐานเพื่อมีแนวทางของคำตอบหลายๆ เชิงแบบอย่างทางแต่ไม่ยึดสมมุติฐานใดสมมุติฐานหนึ่งเป็นคำตอบก่อนที่จะพิสูจน์ตรวจสอบสมมติฐานหลายๆ วิธีและหลายครั้งๆ 3. ขั้นทำการทดลอง ทดสอบสมมติฐาน (ขั้นเก็บรวบรวมข้อมูล) เมื่อตั้งสมมติฐานแล้ว หรือคาดเดาคำตอบหลาย ๆ คำตอบไว้แล้ว กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ขั้นต่อไป คือ ตรวจสอบสมมติฐาน ในการตรวจสอบสมมติฐานจะต้องยึดข้อกำหนดสมมติฐานไว้เป็นหลักเสมอ เนื่องจากสมมติฐานที่ดีได้แนะลู่ทางการตรวจสอบและการออกแบบการตรวจสอบไว้แล้ว วิธีการตรวจสอบสมมติฐาน ได้แก่ การสังเกต และรวบรวมข้อเท็จจริงต่าง ๆ ที่เกิดจาก ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ อีกวิธีหนึ่ง โดยการทดลอง ซึ่งเป็นวิธีการที่นิยมใช้มากที่สุด เพื่อทำการค้นคว้าหาข้อมูล รวบรวมข้อมูลเพื่อตรวจสอบดูว่าสมมติฐานข้อใดเป็นคำตอบที่ถูกต้องที่สุด ในการตรวจสอบโดยการทดลองนั้น ควรจะระบุกระบวนการทดลองที่จะปฏิบัติจริง ควรจะมีการวางแผนลำดับขั้นตอน การทดลองก่อนหลัง ออกแบบการทดลองให้ได้ผลอย่างดี การใช้วัสดุอุปกรณ์ สารเคมี และเครื่องมือ มีการควบคุมดูแล ระมัดระวัง ในการวิเคราะห์ข้อมูลควรจะวิเคราะห์เพื่อหาข้อสรุปได้อย่างไร กระบวนการทดลองทางวิทยาศาสตร์ ผู้ทดลองทางวิทยาศาสตร์ ผู้ทดลองจะต้องควบคุมปัจจัยที่มีผลต่อการทดลอง เรียกว่า ตัวแปร (Variable) คือสิ่งที่มีอิทธิพลต่อการทดลอง ซึ่งควรจะมีตัวแปรน้อยที่สุด ตัวแปรแบ่งออกเป็น 3 ชนิด คือ 1) ตัวแปรต้น (ตัวแปรอิสระ) (ตัวแปรอิสระ) คือตัวแปรที่ต้องศึกษาทำการตรวจสอบและดูผลของมันเป็นตัวแปรที่เรากำหนดขึ้นมาเป็นตัวแปรที่ไม่อยู่ในความควบคุมของตัวแปรใดๆ 2) ตัวแปรตาม (ขึ้นอยู่กับตัวแปร) คือตัวแปรที่ไม่มีความเป็นอิสระในตัวมันเองเปลี่ยนแปลงไปตามตัวแปรอิสระเพราะเป็นผลของตัวแปรอิสระ 3) ตัวแปรควบคุม (ตัวแปรควบคุม) หมายถึงสิ่งอื่นๆ นอกจากตัวแปรต้นที่ทำให้ผลการทดลองคลาดเคลื่อนแต่เราควบคุมให้คงที่ตลอดการทดลองเนื่องจากยังไม่ต้องการศึกษา ในการตรวจสอบสมมติฐานนอกจากจะควบคุมปัจจัยที่มีผลต่อการทดลองจะต้องแบ่งชุดของการทดลองเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม -กลุ่มทดลองหมายถึงกลุ่มที่เราใช้ศึกษาผลของตัวแปรอิสระ -กลุ่มควบคุมหมายถึงชุดของการทดลองที่ใช้เป็นมาตรฐานอ้างอิงเพื่อเปรียบเทียบข้อมูลที่ได้จากการทดลองกลุ่มควบคุมจะแตกต่างจากกลุ่มทดลองเพียง 1 ตัวแปรเท่านั้นคือตัวแปรที่เราจะตรวจสอบหรือตัวแปรอิสระในขั้นตอนนี้จะต้องมีการบันทึกข้อมูลที่ได้จากการสังเกตหรือการทดลองแล้วนำข้อมูลทื่ได้มาจัดกระทำข้อมูลและสื่อความหมายซึ่งจะต้องมีการออกแบบการบันทึกข้อมูลให้อ่านเข้าใจง่ายอาจจะบันทึกในรูปตำรางกราฟแผนภูมิหรือแผนภาพ 4. ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล เป็นขั้นที่นำข้อมูลที่ได้จากการสังเกต การค้นคว้า การทดลอง หรือการรวบรวมข้อมูลหรือข้อเท็จจริง มาทำการวิเคราะห์ผล อธิบายความหมายของข้อเท็จจริง แล้วนำไปเปรียบเทียบกับสมมติฐานที่ตั้งไว้ ว่าสอดคล้องกับสมมติฐานข้อใดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 5. ขั้นสรุปผล เป็นขั้นสรุปผลที่ได้จากการทดลอง การค้นคว้ารวบรวมข้อมูล สรุปข้อมูลที่ได้จากการสังเกตหรือการทดลองว่าสมมติฐานข้อใดถูก พร้อมทั้งสร้างทฤษฎีที่จะใช้เป็นแนวทางสำหรับอธิบายปรากฏการณ์ อื่น ๆ ที่คล้ายกัน และนำไปใช้ปรับปรุงชีวิตความเป็นอยู่ของมนุษย์ให้ดีขึ้น สรุปผลได้ว่า แสงแดดมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเจริญงอกงามของต้นหญ้าและสามารถนำผลสรุปในเรื่องนี้ไปใช้ในการปลูกพืช นั่นคือ เมื่อจะปลูกพืชควรปลูกในบริเวณที่แสงแดดส่องถึง จึงจะทำให้พืชเจริญงอกงามดี
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (วิธีการทางวิทยาศาสตร์) มีรายละเอียดดังนี้
1 ชั้นสังเกตและระบุปัญหาสำคัญที่ว่าการแก้ปัญหา ปัญหาเกิดจากการสังเกต อาจจะเป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติหรือการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิตแม้แต่อเลกซานเดอร์เฟลมมิง
(อเล็กซานเดเฟลมมิ่ง) พบว่าถ้ามีราเพนนิซิลเลียม (Penicilliumnotatum) ผลของการสังเกตของอเลกซานเดอร์เฟลมมิงนำไปสู่ประโยชน์มหาศาลในวงการแพทย์ และมีส่วนให้เกิดปัญหาการสังเกตจึงควรสังเกตอย่างรอบคอบละเอียดถี่ถ้วนดังนั้นในการตั้งปัญหาที่ดี สามารถตรวจสอบหาคำตอบได้ง่ายและยึดข้อเท็จจริงต่าง ๆ ที่รวบรวมมาได้ตัวอย่างการสังเกต "ต้นหญ้าใต้ต้นไม้ใหญ่ ตัวอย่างการตั้งปัญหา เพราะ ขั้นตั้งสมมติฐานสมมติฐานมีคำตอบที่อาจเป็นไปได้ เมื่อมีการพิสูจน์หรือตรวจสอบหลาย ๆ ครั้งลักษณะสมมติฐานที่ดีควรมีลักษณะดังนี้ - เป็นสมมติฐานที่เข้าใจได้ง่าย- เป็นสมมติฐานที่ตรวจได้โดยการทดลอง- เป็นสมมติฐานที่สอดคล้อง ควรตั้งหลาย ๆ สมมติฐานเพื่อมีแนวทางของคำตอบหลาย ๆ อย่าง แต่ไม่ยึดสมมุติฐานใดสมมุติฐานหนึ่งเป็นคำตอบ ๆ วิธีและหลายครั้ง ๆ3. ขั้นทำการทดลองทดสอบสมมติฐาน (ขั้นเก็บรวบรวมข้อมูล) เมื่อตั้งสมมติฐานแล้วหรือคาดเดาคำตอบหลาย ๆ คำตอบไว้แล้วกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นต่อไปคือตรวจสอบสมมติฐาน วิธีการตรวจสอบสมมติฐาน ได้แก่ การสังเกตและรวบรวมข้อเท็จจริงต่าง ๆ ที่เกิดจากปรากฏการณ์ทางธรรมชาติอีกวิธีหนึ่งโดยการทดลอง เพื่อทำการค้นคว้าหาข้อมูล ในการตรวจสอบโดยการทดลองนั้น ควรจะมีการวางแผนลำดับขั้นตอนการทดลองก่อนหลังออกแบบการทดลองให้ได้ผลอย่างดีการใช้วัสดุอุปกรณ์สารเคมีและเครื่องมือมีการควบคุมดูแลระมัดระวัง กระบวนการทดลองทางวิทยาศาสตร์ผู้ทดลองทางวิทยาศาสตร์ เรียกว่าตัวแปร (Variable) คือสิ่งที่มีอิทธิพลต่อการทดลองซึ่งควรจะมีตัวแปรน้อยที่สุดตัวแปรแบ่งออกเป็น 3 ชนิดคือ1) ตัวแปรต้น (ตัวแปรอิสระ) (ตัวแปรอิสระ) คือ เป็นตัวแปรที่เรากำหนดขึ้นมา ๆ2) ตัวแปรตาม (ขึ้นอยู่กับตัวแปร) คือ เปลี่ยนแปลงไปตามตัวแปรอิสระเพราะเป็นผลของตัวแปรอิสระ3) ตัวแปรควบคุม (ตัวแปรควบคุม) หมายถึงสิ่งอื่น ๆ นอกจากตัวแปรต้น กลุ่มทดลองหมายถึง กลุ่มควบคุมหมายถึง 1 ตัวแปรเท่านั้นคือ ในขั้นตอนนี้ กราฟแผนภูมิหรือแผนภาพ4. ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล การค้นคว้าการทดลอง มาทำการวิเคราะห์ผลอธิบายความหมายของข้อเท็จจริง ขั้นสรุปผลเป็นขั้นสรุปผลที่ได้จากการทดลองการค้นคว้ารวบรวมข้อมูล อื่น ๆ ที่คล้ายกัน สรุปผลได้ว่า นั่นคือ จึงจะทำให้พืชเจริญงอกงามดี























การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ( กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ) มีรายละเอียดดังนี้
1ชั้นสังเกตและระบุปัญหาสำคัญที่ว่าการแก้ปัญหาจะต้องคำนึงว่าปัญหาเกิดขึ้นได้อย่างไรปัญหาเกิดจากการสังเกตการสังเกตเป็นคุณสมบัติของนักวิทยาศาสตร์การสังเกตอาจจะเริ่มจากสิ่งแวดล้อมรอบตัวเราหรือการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิตแม้แต่อเลกซานเดอร์เฟลมมิง
( Alexander Fleming ) ได้สังเกตเกี่ยวกับการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรียในจานเพาะเชื้อพบว่าถ้ามีราเพนนิซิลเลียม ( penicilliumnotatum ) อยู่ในจานเพาะเลี้ยงเชื้อแบคทีเรียจะไม่เจริญดีผลของการสังเกตของอเลกซานเดอร์เฟลมมิงการสังเกตจึงเป็นขั้นแรกที่สำคัญนำไปสู่ข้อเท็จจริงบางประการและมีส่วนให้เกิดปัญหาการสังเกตจึงควรสังเกตอย่างรอบคอบละเอียดถี่ถ้วนดังนั้นในการตั้งปัญหาที่ดีควรจะอยู่ในลักษณะที่น่าจะเป็นไปได้และยึดข้อเท็จจริงต่างจะที่รวบรวมมาได้ตัวอย่างการสังเกต " ต้นหญ้าใต้ต้นไม้ใหญ่หรือต้นหญ้าที่อยู่ใต้หลังคามักจะไม่งอกงามส่วนต้นหญ้าในบริเวณใกล้เคียงกันที่ได้รับแสงเจริญงอกงามดี " ตัวอย่างการตั้งปัญหาการตั้งปัญหานั้นสำคัญกว่าการแก้ปัญหา " เพราะการตั้งปัญหาที่ดีและชัดเจนจะทำให้ผู้ตั้งปัญหาเกิดความเข้าใจและมองเห็นลู่ทางของการค้นหาคำตอบเพื่อแก้ปัญหาที่ตั้งขึ้น
เป็นอะไร ?
เกิดขึ้นเมื่อไร ?
เกิดขึ้นที่ไหน ?
เกิดขึ้นได้อย่างไร ?
ทำไมจึงเป็นเช่นนั้น ?
2 .ขั้นตั้งสมมติฐานสมมติฐานมีคำตอบที่อาจเป็นไปได้และคำตอบที่ยอมรับว่าถูกต้องเชื่อถือได้เมื่อมีการพิสูจน์หรือตรวจสอบหลายจะครั้งลักษณะสมมติฐานที่ดีควรมีลักษณะดังนี้
-
เป็นสมมติฐานที่เข้าใจได้ง่าย- เป็นสมมติฐานที่แนะลู่ทางที่จะตรวจสอบได้
-

- เป็นสมมติฐานที่สอดคล้องและอยู่ในขอบเขตของข้อเท็จจริงที่ได้จากการสังเกตและสัมพันธ์กับปัญหาที่ตั้งไว้เป็นสมมติฐานที่ตรวจได้โดยการทดลอง
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: