ขมิ้นชันสีเหลือง ๆ เป็นพืชสมุนไพรที่คนไทยรู้จักนำมาใช้ประโยชน์กันนานแล การแปล - ขมิ้นชันสีเหลือง ๆ เป็นพืชสมุนไพรที่คนไทยรู้จักนำมาใช้ประโยชน์กันนานแล ไทย วิธีการพูด

ขมิ้นชันสีเหลือง ๆ เป็นพืชสมุนไพรที

ขมิ้นชันสีเหลือง ๆ เป็นพืชสมุนไพรที่คนไทยรู้จักนำมาใช้ประโยชน์กันนานแล้ว โดยเฉพาะการนำไปประกอบอาหาร หรือแต่งสี แต่งกลิ่นให้อาหารจานเด็ด ทั้งแกงไตปลา แกงกะหรี่ ไก่ทอด ฯลฯ อู้ย...ฟังชื่อแล้วชักหิวขึ้นมาซะงั้น

แต่ช้าก่อน...วันนี้ เราไม่ได้ชวนเพื่อน ๆ มาทำอาหารที่มีขมิ้นชันเป็นส่วนประกอบหรอกนะจ๊ะ เพราะเราจะมาพูดถึงสรรพคุณทางยาเด็ด ๆ ของขมิ้นชันกัน พอจะรู้กันไหมเอ่ย ว่า ขมิ้นชัน ช่วยรักษาอาการเจ็บป่วยอะไรได้บ้าง ถ้ายังนึกไม่ออก ตามไปรู้จักขมิ้นชันให้มากขึ้นกันดีกว่า

"ขมิ้นชัน" หรือที่คนทั่วไปรู้จักในชื่อ "ขมิ้น" คนเชียงใหม่เรียกว่า ขมิ้นแกง ขมิ้นหัว ขมิ้นหยอก คนตรัง เรียก ขี้มิ้น หรือ หมิ้น มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Curcuma longa Linn. เป็นพืชล้มลุกในวงศ์ขิงที่มีถิ่นกำเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สูงประมาณ 30-90 เซนติเมตร มีเหง้าอยู่ใต้ดิน มีแขนงรูปทรงกระบอกแตกออกมาด้านข้าง 2 ด้าน ส่วนเนื้อในของเหง้ามีสีเหลืองเข้มจนถึงสีแสดจัด มีกลิ่นหอมเฉพาะตัว

ใบเดี่ยวของขมิ้นชันจะแทงออกมาจากเหง้าเรียงเป็นวงซ้อนทับกันเป็นรูปหอก ขนาดใบกว้าง 12-15 เซนติเมตร ยาว 30-40 เซนติเมตร ดอกมีสีเหลืองอ่อน แทงออกมาจากเหง้า แทรกขึ้นมาระหว่างก้านใบ ปกติจะบานครั้งละ 3-4 ดอก รูปกลมมี 3 พู

เหง้าของขมิ้นชันมีสารสำคัญประเภทเคอร์คูมินอยด์ ซึ่งเป็นสารสีเหลืองประกอบอยู่หลายตัว ทั้ง เดสเมทอกซีเคอร์คูมิน และบิสเดส เมทอกซีเคอร์คูมิน และน้ำมันหอมระเหย ซึ่งมีสารสำคัญอย่าง เทอร์เมอโรน และซิงจิเบอรีน ซึ่งสารทั้งหมดนี้ ช่วยเพิ่มสรรพคุณทางยาให้ขมิ้นชันได้อย่างดี

ขมิ้นชัน

สรรพคุณทางยาของขมิ้นชัน

มาดูสรรพคุณทางยาของขมิ้นชันกัน ส่วนที่ใช้ก็คือ "เหง้า" ที่มีรสฝาดนั่นเอง โดยเหง้ามีฤทธิ์ฆ่าเชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา ลดการอักเสบ และมีฤทธิ์ในการขับน้ำดี ต้านอนุมูลอิสระป้องกันการเกิดมะเร็งในตับ ช่วยบำรุงตับ นอกจากนี้ ยังมีสารอาหารหลายชนิด ทั้งวิตามินเอ วิตามินซี วิตามินอี และเกลือแร่ต่าง ๆ

ส่วนน้ำมันหอมระเหยในขมิ้นชัน ก็มีสรรพคุณบรรเทาอาการปวดท้อง ท้องอืด แน่นจุกเสียดได้ด้วย จึงนิยมนำขมิ้นมาใช้สมานแผลในกระเพาะอาหาร ทำความสะอาดลำไส้ รักษาโรคกระเพาะอาหาร

การศึกษาวิจัยเพิ่มเติมยังพบว่า ขมิ้นมีสรรพคุณบำรุงร่างกายอีกหลายอย่าง ทั้งช่วยรักษาระบบทางเดินหายใจที่ผิดปกติ หืด ไอ เวียนศีรษะ รักษาอาการปวดและอักเสบเนื่องจากไขข้ออักเสบ เพิ่มภูมิคุ้มกันให้แก่ร่างกาย ช่วยขับน้ำนมสตรีหลังคลอดบุตร

อ๊ะ แต่ไม่ใช่ว่า ปลูกขมิ้นแล้วจะขุดเหง้าขึ้นมาใช้ประโยชน์ได้ทันทีเลยนะ เพราะเหง้าที่จะนำขึ้นมาใช้ประโยชน์ได้นั้น ต้องมีอายุอย่างน้อย 9-12 เดือน และต้องไม่เก็บไว้นานเกินไปด้วย ไม่เช่นนั้นน้ำมันหอมระเหยจะหายหมด ที่สำคัญต้องเก็บไว้ไม่ให้ถูกแสงแดดด้วยเช่นกัน และห้ามเก็บเกี่ยวในระยะที่ขมิ้นชันเริ่มแตกหน่อ เพราะจะทำให้สารเคอร์คิวมินในขมิ้นชันลดลง ซึ่งก็ทำให้สรรพคุณเด็ด ๆ ของขมิ้นชันหายไปด้วย

วิธีนำขมิ้นชันไปใช้รักษาโรค

หากจะนำขมิ้นชันไปรับประทาน ให้นำขมิ้นชันไปล้างน้ำให้สะอาด ไม่ต้องปอกเปลือกออก แล้วหั่นเป็นแว่นชิ้นบาง ๆ นำไปตากแดดจัด ๆ 1-2 วัน แล้วนำมาบดให้ละเอียด ผสมกับน้ำผึ้ง ปั้นเป็นเม็ดเล็ก ๆ ขนาดประมาณปลายนิ้วก้อย นำมารับประทานครั้งละ 2-3 เม็ด วันละ 3-4 ครั้ง หลังอาหารและก่อนนอน จะช่วยแก้อาการดังกล่าวได้ แต่หากใครรับประทานแล้วท้องเสีย หรือมีอาการจุกเสียดแน่นท้องให้หยุดยาทันที

นอกจากนี้ ยังสามารถนำเหง้าแก่สด ยาวประมาณ 2 นิ้ว มาขูดเปลือกออก นำไปล้างน้ำให้สะอาด แล้วตำให้ละเอียด เติมน้ำ คั้นเอาแต่น้ำมารับประทาน ครั้งละ 2 ช้อนโต๊ะ วันละ 3-4 ครั้ง

สำหรับคนที่ซื้อขมิ้นชันแบบผงมารับประทานเอง ให้ใช้สูตรคือ ขมิ้นชันผง 1 ช้อนชา ผสมน้ำ 1 แก้ว (ไม่เต็ม) แล้วรับประทาน ขมิ้นชันที่ไหลผ่านอวัยวะภายในต่าง ๆ สามารถบำรุงอวัยวะส่วนนั้นได้ด้วย คือ ผ่านลำคอ จะช่วยขับไล่ไรฝุ่นที่ลำคอ, ผ่านปอดจะช่วยดูแลปอดให้หายใจได้ดีขึ้น, ผ่านม้ามจะช่วยลดไขมัน ไม่ให้น้ำเหลืองเสีย, ผ่านกระเพาะอาหารจะช่วยรักษาแผลในกระเพาะอาหาร, ผ่านลำไส้จะช่วยสมานแผลในลำไส้ และผ่านตับก็จะช่วยบำรุงตับ ล้างไขมันในตับ

การใช้ขมิ้นชันเป็นยาทาภายนอก เพื่อรักษาอาการแพ้ แก้อักเสบ ผื่นแดง แมลงสัตว์กัดต่อย ให้นำเหง้าขมิ้นยาวประมาณ 2 นิ้ว มาฝนกับน้ำต้มสุก แล้วทาในบริเวณที่เป็น วันละ 3 ครั้ง หรือจะใช้ผงขมิ้นโรยทาบริเวณที่มีอาการผื่นคันจากแมลงสัตว์กัดต่อยก็ช่วยได้เช่นกัน

ขมิ้นชัน

อย่างไรก็ตาม เคยมีการศึกษาพบว่า หากรับประทานขมิ้นชันตามเวลาที่อวัยวะต่าง ๆ เปิดการทำงาน จะเกิดประสิทธิผลมากขึ้น เราก็เลยขอนำวิธีการรับประทานขมิ้นชันให้ได้ผลดีมาฝากกัน โดยควรรับประทานขมิ้นชันตามเวลาต่อไปนี้

เวลา 03.00-05.00 น. เป็นเวลาของปอด การรับประทานขมิ้นชันในช่วงเวลานี้จะช่วยบำรุงปอด ป้องกันการเป็นมะเร็งปอด ทำให้ปอดแข็งแรง และช่วยเรื่องภูมิแพ้ของจมูกที่หายใจไม่สะดวก และยังช่วยเสริมสร้างภูมิคุ้มกันที่ผิวหนัง

เวลา 05.00-07.00 น. เป็นเวลาของลำไส้ใหญ่ จะช่วยแก้ปัญหาลำไส้ใหญ่ ซึ่งถ้าหากคุณเคยรับประทานยาถ่ายมาเป็นเวลานาน ให้รับประทานขมิ้นชันเวลานี้ เพราะขมิ้นชันจะฟื้นฟูปลายประสาทของลำไส้ใหญ่ แต่ต้องรับประทานเป็นประจำจึงจะทำให้ลำไส้ใหญ่บีบรัดตัวเพื่อช่วยให้ขับถ่ายได้เป็นปกติ

นอกจากนี้ขมิ้นชันยังช่วยแก้ปัญหาลำไส้ใหญ่กลืนลำไส้เล็ก และปัญหาลำไส้ใหญ่ขับถ่ายน้อยหรือมากจนเกินไปได้เช่นกัน แต่ถ้าหากลำไส้ใหญ่ไม่มีปัญหา ให้รับประทานขมิ้นชันพร้อมกับสูตรโยเกิร์ต นมสด น้ำผึ้ง มะนาวหรือน้ำอุ่นก็ได้ เพื่อช่วยล้างผนังลำไส้ที่มีหนวดเป็นขนเล็ก ๆ จำนวนกว่าล้านเส้น ซึ่งขมิ้นชันจะช่วยล้างบริเวณขนนี้ให้สะอาดโดยไม่ให้มีขยะตกค้างอยู่ที่ขน และเมื่อขนสะอาดจะทำให้ไม่เกิดแก๊สพิษที่ทำให้เกิดกลิ่นตัว ป้องกันการเกิดโรคริดสีดวงทวารและโรคมะเร็งลำไส้ได้เช่นกัน

เวลา 07.00-09.00 น. เป็นเวลาของกระเพาะอาหาร จะช่วยแก้ปัญหาเรื่องกระเพาะอาหารที่เกิดจากการรับประทานอาหารไม่เป็นเวลา และยังลดอาการท้องอืด จุกแน่น ปวดเข่า ขาตึง ช่วยบำรุงสมองและป้องกันความจำเสื่อมได้

เวลา 09.00-11.00 น. เป็นเวลาของม้าม ขมิ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ขมิ้นชันสีเหลืองๆ เป็นพืชสมุนไพรที่คนไทยรู้จักนำมาใช้ประโยชน์กันนานแล้วโดยเฉพาะการนำไปประกอบอาหารหรือแต่งสีแต่งกลิ่นให้อาหารจานเด็ดทั้งแกงไตปลาแกงกะหรี่ไก่ทอดฯลฯ อู้ย... ฟังชื่อแล้วชักหิวขึ้นมาซะงั้นแต่ช้าก่อน... วันนี้เราไม่ได้ชวนเพื่อนๆ มาทำอาหารที่มีขมิ้นชันเป็นส่วนประกอบหรอกนะจ๊ะเพราะเราจะมาพูดถึงสรรพคุณทางยาเด็ดๆ ของขมิ้นชันกันพอจะรู้กันไหมเอ่ยว่าขมิ้นชันช่วยรักษาอาการเจ็บป่วยอะไรได้บ้างถ้ายังนึกไม่ออกตามไปรู้จักขมิ้นชันให้มากขึ้นกันดีกว่า"ขมิ้นชัน" หรือที่คนทั่วไปรู้จักในชื่อ "ขมิ้น" คนเชียงใหม่เรียกว่าขมิ้นแกงขมิ้นหัวขมิ้นหยอกคนตรังเรียกขี้มิ้นหรือหมิ้นมีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่าขมิ้นชันงานผลิต เป็นพืชล้มลุกในวงศ์ขิงที่มีถิ่นกำเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้สูงประมาณ 30-90 เซนติเมตรมีเหง้าอยู่ใต้ดินมีแขนงรูปทรงกระบอกแตกออกมาด้านข้าง 2 ด้านส่วนเนื้อในของเหง้ามีสีเหลืองเข้มจนถึงสีแสดจัดมีกลิ่นหอมเฉพาะตัว ใบเดี่ยวของขมิ้นชันจะแทงออกมาจากเหง้าเรียงเป็นวงซ้อนทับกันเป็นรูปหอกขนาดใบกว้าง 12-15 เซนติเมตรยาว 30-40 เซนติเมตรดอกมีสีเหลืองอ่อนแทงออกมาจากเหง้าแทรกขึ้นมาระหว่างก้านใบปกติจะบานครั้งละ 3-4 ดอกรูปกลมมี 3 พูเหง้าของขมิ้นชันมีสารสำคัญประเภทเคอร์คูมินอยด์ซึ่งเป็นสารสีเหลืองประกอบอยู่หลายตัวทั้งเดสเมทอกซีเคอร์คูมินและบิสเดสเมทอกซีเคอร์คูมินและน้ำมันหอมระเหยซึ่งมีสารสำคัญอย่างเทอร์เมอโรนและซิงจิเบอรีนซึ่งสารทั้งหมดนี้ช่วยเพิ่มสรรพคุณทางยาให้ขมิ้นชันได้อย่างดีขมิ้นชันสรรพคุณทางยาของขมิ้นชันมาดูสรรพคุณทางยาของขมิ้นชันกันส่วนที่ใช้ก็คือ "เหง้า" ที่มีรสฝาดนั่นเองโดยเหง้ามีฤทธิ์ฆ่าเชื้อแบคทีเรียเชื้อราลดการอักเสบและมีฤทธิ์ในการขับน้ำดีต้านอนุมูลอิสระป้องกันการเกิดมะเร็งในตับช่วยบำรุงตับนอกจากนี้ยังมีสารอาหารหลายชนิดทั้งวิตามินเอวิตามินซีวิตามินอีและเกลือแร่ต่างๆ ส่วนน้ำมันหอมระเหยในขมิ้นชันก็มีสรรพคุณบรรเทาอาการปวดท้องท้องอืดแน่นจุกเสียดได้ด้วยจึงนิยมนำขมิ้นมาใช้สมานแผลในกระเพาะอาหารทำความสะอาดลำไส้รักษาโรคกระเพาะอาหาร การศึกษาวิจัยเพิ่มเติมยังพบว่าขมิ้นมีสรรพคุณบำรุงร่างกายอีกหลายอย่างทั้งช่วยรักษาระบบทางเดินหายใจที่ผิดปกติหืดไอเวียนศีรษะรักษาอาการปวดและอักเสบเนื่องจากไขข้ออักเสบเพิ่มภูมิคุ้มกันให้แก่ร่างกายช่วยขับน้ำนมสตรีหลังคลอดบุตรอ๊ะแต่ไม่ใช่ว่าปลูกขมิ้นแล้วจะขุดเหง้าขึ้นมาใช้ประโยชน์ได้ทันทีเลยนะเพราะเหง้าที่จะนำขึ้นมาใช้ประโยชน์ได้นั้นต้องมีอายุอย่างน้อย 9-12 เดือนและต้องไม่เก็บไว้นานเกินไปด้วยไม่เช่นนั้นน้ำมันหอมระเหยจะหายหมดที่สำคัญต้องเก็บไว้ไม่ให้ถูกแสงแดดด้วยเช่นกันและห้ามเก็บเกี่ยวในระยะที่ขมิ้นชันเริ่มแตกหน่อเพราะจะทำให้สารเคอร์คิวมินในขมิ้นชันลดลงซึ่งก็ทำให้สรรพคุณเด็ดๆ ของขมิ้นชันหายไปด้วยวิธีนำขมิ้นชันไปใช้รักษาโรคหากจะนำขมิ้นชันไปรับประทานให้นำขมิ้นชันไปล้างน้ำให้สะอาดไม่ต้องปอกเปลือกออกแล้วหั่นเป็นแว่นชิ้นบางๆ นำไปตากแดดจัดๆ 1-2 วันแล้วนำมาบดให้ละเอียดผสมกับน้ำผึ้งปั้นเป็นเม็ดเล็กๆ ขนาดประมาณปลายนิ้วก้อยนำมารับประทานครั้งละ 2-3 เม็ดวันละ 3-4 ครั้งหลังอาหารและก่อนนอนจะช่วยแก้อาการดังกล่าวได้แต่หากใครรับประทานแล้วท้องเสียหรือมีอาการจุกเสียดแน่นท้องให้หยุดยาทันทีนอกจากนี้ยังสามารถนำเหง้าแก่สดยาวประมาณ 2 นิ้วมาขูดเปลือกออกนำไปล้างน้ำให้สะอาดแล้วตำให้ละเอียดเติมน้ำคั้นเอาแต่น้ำมารับประทานครั้งละ 2 ช้อนโต๊ะวันละ 3-4 ครั้งสำหรับคนที่ซื้อขมิ้นชันแบบผงมารับประทานเองให้ใช้สูตรคือขมิ้นชันผง 1 ช้อนชาผสมน้ำ 1 แก้ว (ไม่เต็ม) แล้วรับประทานขมิ้นชันที่ไหลผ่านอวัยวะภายในต่างๆ สามารถบำรุงอวัยวะส่วนนั้นได้ด้วยคือผ่านลำคอจะช่วยขับไล่ไรฝุ่นที่ลำคอ ผ่านปอดจะช่วยดูแลปอดให้หายใจได้ดีขึ้น ผ่านม้ามจะช่วยลดไขมันไม่ให้น้ำเหลืองเสีย ผ่านกระเพาะอาหารจะช่วยรักษาแผลในกระเพาะอาหาร ผ่านลำไส้จะช่วยสมานแผลในลำไส้และผ่านตับก็จะช่วยบำรุงตับล้างไขมันในตับการใช้ขมิ้นชันเป็นยาทาภายนอกเพื่อรักษาอาการแพ้แก้อักเสบผื่นแดงแมลงสัตว์กัดต่อยให้นำเหง้าขมิ้นยาวประมาณ 2 นิ้วมาฝนกับน้ำต้มสุกแล้วทาในบริเวณที่เป็นวันละ 3 ครั้งหรือจะใช้ผงขมิ้นโรยทาบริเวณที่มีอาการผื่นคันจากแมลงสัตว์กัดต่อยก็ช่วยได้เช่นกันขมิ้นชันอย่างไรก็ตามเคยมีการศึกษาพบว่าหากรับประทานขมิ้นชันตามเวลาที่อวัยวะต่างๆ เปิดการทำงานจะเกิดประสิทธิผลมากขึ้นเราก็เลยขอนำวิธีการรับประทานขมิ้นชันให้ได้ผลดีมาฝากกันโดยควรรับประทานขมิ้นชันตามเวลาต่อไปนี้เวลา 03.00-05.00 น.เป็นเวลาของปอดการรับประทานขมิ้นชันในช่วงเวลานี้จะช่วยบำรุงปอดป้องกันการเป็นมะเร็งปอดทำให้ปอดแข็งแรงและช่วยเรื่องภูมิแพ้ของจมูกที่หายใจไม่สะดวกและยังช่วยเสริมสร้างภูมิคุ้มกันที่ผิวหนังเวลา 05.00-07.00 น.เป็นเวลาของลำไส้ใหญ่จะช่วยแก้ปัญหาลำไส้ใหญ่ซึ่งถ้าหากคุณเคยรับประทานยาถ่ายมาเป็นเวลานานให้รับประทานขมิ้นชันเวลานี้เพราะขมิ้นชันจะฟื้นฟูปลายประสาทของลำไส้ใหญ่แต่ต้องรับประทานเป็นประจำจึงจะทำให้ลำไส้ใหญ่บีบรัดตัวเพื่อช่วยให้ขับถ่ายได้เป็นปกติ นอกจากนี้ขมิ้นชันยังช่วยแก้ปัญหาลำไส้ใหญ่กลืนลำไส้เล็กและปัญหาลำไส้ใหญ่ขับถ่ายน้อยหรือมากจนเกินไปได้เช่นกันแต่ถ้าหากลำไส้ใหญ่ไม่มีปัญหาให้รับประทานขมิ้นชันพร้อมกับสูตรโยเกิร์ตนมสดน้ำผึ้งมะนาวหรือน้ำอุ่นก็ได้เพื่อช่วยล้างผนังลำไส้ที่มีหนวดเป็นขนเล็กๆ จำนวนกว่าล้านเส้นซึ่งขมิ้นชันจะช่วยล้างบริเวณขนนี้ให้สะอาดโดยไม่ให้มีขยะตกค้างอยู่ที่ขนและเมื่อขนสะอาดจะทำให้ไม่เกิดแก๊สพิษที่ทำให้เกิดกลิ่นตัวป้องกันการเกิดโรคริดสีดวงทวารและโรคมะเร็งลำไส้ได้เช่นกันเวลา 07.00-09.00 น.เป็นเวลาของกระเพาะอาหารจะช่วยแก้ปัญหาเรื่องกระเพาะอาหารที่เกิดจากการรับประทานอาหารไม่เป็นเวลาและยังลดอาการท้องอืดจุกแน่นปวดเข่าขาตึงช่วยบำรุงสมองและป้องกันความจำเสื่อมได้เวลา 09.00-11.00 น.เป็นเวลาของม้ามขมิ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ขมิ้นชันสีเหลืองจะเป็นพืชสมุนไพรที่คนไทยรู้จักนำมาใช้ประโยชน์กันนานแล้วโดยเฉพาะการนำไปประกอบอาหารหรือแต่งสีแต่งกลิ่นให้อาหารจานเด็ดทั้งแกงไตปลาแกงกะหรี่ roast duck ฯลฯอู้ย . . . . . . .แต่ช้าก่อนฟังชื่อแล้วชักหิวขึ้นมาซะงั้น

. . . . . . .วันนี้เราไม่ได้ชวนเพื่อนจะมาทำอาหารที่มีขมิ้นชันเป็นส่วนประกอบหรอกนะจ๊ะเพราะเราจะมาพูดถึงสรรพคุณทางยาเด็ดจะของขมิ้นชันกันพอจะรู้กันไหมเอ่ยว่าขมิ้นชันช่วยรักษาอาการเจ็บป่วยอะไรได้บ้างตามไปรู้จักขมิ้นชันให้มากขึ้นกันดีกว่า

" ขมิ้นชัน " หรือที่คนทั่วไปรู้จักในชื่อ " ขมิ้น " คนเชียงใหม่เรียกว่าขมิ้นแกงขมิ้นหัวขมิ้นหยอกคนตรังเรียกขี้มิ้นค็อคหมิ้นมีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่าขมิ้นชันและเป็นพืชล้มลุกในวงศ์ขิงที่มีถิ่นกำเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้สูงประมาณ 30-90 เซนติเมตรมีเหง้าอยู่ใต้ดินมีแขนงรูปทรงกระบอกแตกออกมาด้านข้าง 2 ด้านส่วนเนื้อในของเหง้ามีสีเหลืองเข้มจนถึงสีแสดจัด

ใบเดี่ยวของขมิ้นชันจะแทงออกมาจากเหง้าเรียงเป็นวงซ้อนทับกันเป็นรูปหอกขนาดใบกว้าง 12-15 เซนติเมตรยาว 30-40 เซนติเมตรดอกมีสีเหลืองอ่อนแทงออกมาจากเหง้าแทรกขึ้นมาระหว่างก้านใบปกติจะบานครั้งละ 3-4 ดอกรูปกลมมี 3
เหง้าของขมิ้นชันมีสารสำคัญประเภทเคอร์คูมินอยด์ซึ่งเป็นสารสีเหลืองประกอบอยู่หลายตัวทั้งเดสเมทอกซีเคอร์คูมินและบิสเดสเมทอกซีเคอร์คูมินและน้ำมันหอมระเหยซึ่งมีสารสำคัญอย่างเทอร์เมอโรนและซิงจิเบอรีนช่วยเพิ่มสรรพคุณทางยาให้ขมิ้นชันได้อย่างดี





ขมิ้นชันสรรพคุณทางยาของขมิ้นชันมาดูสรรพคุณทางยาของขมิ้นชันกันส่วนที่ใช้ก็คือ " เหง้า " ที่มีรสฝาดนั่นเองโดยเหง้ามีฤทธิ์ฆ่าเชื้อแบคทีเรียเชื้อราลดการอักเสบและมีฤทธิ์ในการขับน้ำดีต้านอนุมูลอิสระป้องกันการเกิดมะเร็งในตับช่วยบำรุงตับ
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: