บริษัท สิงห์ คอร์เปอเรชั่น จำกัดบริษัท สิงห์ คอร์เปอเรชั่น จำกัด เป็นบ การแปล - บริษัท สิงห์ คอร์เปอเรชั่น จำกัดบริษัท สิงห์ คอร์เปอเรชั่น จำกัด เป็นบ ไทย วิธีการพูด

บริษัท สิงห์ คอร์เปอเรชั่น จำกัดบริ

บริษัท สิงห์ คอร์เปอเรชั่น จำกัด
บริษัท สิงห์ คอร์เปอเรชั่น จำกัด เป็นบริษัทในเครือที่สำคัญของบริษัท บุญรอดบริวเวอรี่ จำกัด โดยก่อตั้งขึ้นเพื่อดูแลธุรกิจเครื่องดื่มของบริษัทบุญรอดบริวเวอรี่ จำกัด และรับผิดชอบในการบริหารและทำการตลาดของผลิตภัณฑ์ เบียร์ โซดา น้ำดื่ม ชาเขียวพร้อมดื่ม และเครื่องดื่มสุขภาพ ภายใต้เครื่องหมายการค้า “สิงห์” “ลีโอ” “ไทเบียร์” และ “ บีอิ้ง”
บริษัท สิงห์ คอร์เปอเรชั่น จำกัด ดำเนินการบริหารโรงเบียร์ 3 แห่ง และโรงงานผลิตโซดาและน้ำดื่มรวม 6 แห่ง ในจุดสำคัญต่างๆทั่วทุกภูมิภาค พร้อมทั้งพัฒนาความรู้ ความสามารถของผู้แทนจำหน่ายด้านการให้บริการ เพื่อรองรับความต้องการของตลาด รวมถึงตอบสนองผู้บริโภคให้ได้อย่างทั่วถึง โดยมีเครือข่ายเอเย่นต์จำนวน 300 รายจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ทั่วราชอาณาจักร และมีตัวแทนจำหน่ายในกว่า 50 ประเทศทั่วโลก และด้วยเกียรติบัตรรับรองระบบบริหารคุณภาพ ISO 9001:2008 รับรองมาตรฐาน และระบบการจัดการความปลอดภัยของอาหาร ISO 22000 : 2005 รวมทั้ง GMP & HACCP และรางวัลเหรียญทองจากประเทศต่างๆ ทำให้ผู้บริโภคทั้งในประเทศไทยและทั่วโลกมั่นใจในคุณภาพสินค้าของบริษัทฯ
ตลอดเวลาที่ผ่านมา บริษัท สิงห์ คอร์เปอเรชั่น จำกัด และบริษัทบุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของชาวไทยควบคู่ไปกับการเติบโตของบริษัทฯ โดยการส่งเสริมให้มีการกระจายรายได้สู่ท้องถิ่น ประกอบกิจกรรมทางสังคมที่เป็นการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมไทยเป็นหลัก รวมถึงการสนับสนุนทางด้านการศึกษาและกีฬาทุกประเภท เพื่อเป็นการตอบแทนสังคมที่สนับสนุนผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯด้วยดีมาตลอด

จุดกำเนิด “แบรนด์สิงห์”
การก่อกำเนิดของโรงเบียร์แห่งแรกของเมืองไทยเมื่อ พ.ศ. 2476 ในชื่อ บุญรอด บริวเวอรี่นั้น พระยาภิรมย์ภักดี ผู้เป็นต้นตระกูลภิรมย์ภักดีและผู้ให้กำเนิดเบียร์สิงห์ เป็นการแหวกกฎเกณฑ์ค่านิยมของสังคมไทยในยุคนั้นอย่างน่ายกย่อง และทำให้ปมธุรกิจของเมืองไทยไม่ใช่เป็นเรื่องราวของชาวจีนแต่เพียงล้วน ๆ บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด จึงเกิดขึ้นด้วยทุนจดทะเบียน 600,000 บาท ในเนื้อที่ 9 ไร่ ริมแม่น้ำเจ้าพระยาย่านบางกระบือ และผลิตเบียร์ออกมาขายเป็นครั้งแรกในเดือนมิถุนายน 2477 การเกิดขึ้นของโรงงานผลิตเบียร์แห่งนี้ นับเป็นการขยายลักษณะของธุรกิจจากที่เคยจำกัดอยู่แต่การพาณิชย์และบริการไปสู่การอุตสาหกรรม ถือได้ว่าเป็นพัฒนาการที่ก้าวหน้าไปอีกขั้นหนึ่งของสังคมธุรกิจยุคหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง แม้การผลิตเบียร์จะเป็นเพียงอุตสาหกรรมแปรรูปธรรมดา ๆ ที่ไม่มีขั้นตอนยุ่งยากซับซ้อน แต่เมื่อห้าสิบปีก่อนที่มีเพียงโรงสีที่พอจะจัดเป็นอุตสาหกรรมแปรรูปได้ การริเริ่มของพระยาภิรมย์ภักดีจึงเป็นก้าวใหม่ในประวัติศาสตร์ธุรกิจของเมืองไทย จึงไม่ใช่เรื่องเกินเลยและเลื่อนลอยที่จะพูดว่า พระยาภิรมย์ภักดีคือนักอุตสาหกรรมรุ่นบุกเบิกคนหนึ่งแห่งวงการอุตสาหกรรมไทย
กว่า 77 ปี บนถนนสีอำพันของตระกูล “ภิรมย์ภักดี” กับกว่า 1,000 ล้านลิตรของผลิตภัณฑ์ “เบียร์สิงห์” ที่ผ่านฝีมือการสร้างสรรค์ของลูกหลาน พระยาภิรมภักดี สู่ผู้บริโภคทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ ภายใต้อาณาจักร “บุญรอด บริวเวอร์รี่” บริษัทฯ กระจายกำลังการผลิตไปทั่วราชอาณาจักร ด้วยการสร้างโรงเบียร์ 3 แห่ง และโรงงานผลิตโซดา น้ำดื่ม อีก 6 แห่ง ความสามารถในการผลิตเบียร์ ที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวผนึกกับเครือข่ายการจัด จำหน่ายที่รองรับตลาดอย่างทั่วถึงทำให้บุญรอด ยืนผงาดอยู่ในแนวหน้าของผู้ผลิตเบียร์ตราบจนทุกวันนี้ ยิ่งบริษัทฯ ได้รับเกียรติบัตร ISO 9002 รับรองมาตรฐานการผลิต ยิ่งทำให้ผู้บริโภค มั่นใจในสินค้าของบุญรอดฯ เมื่อเห็นว่าตลาดโลกมีความต้องการสินค้าคุณภาพของบุญรอด บริษัทฯ จึงเสริมกำลังการผลิตเพิ่มขึ้นในประเทศเยอรมันด้วย โรงเบียร์อีก 2 แห่ง และร่วมทุนทำโรงเบียร์ในประเทศจีนอีก 1 แห่ง
ขณะเดียวกัน บุญรอดมีความสำนึกและภาคภูมิใจในความเป็นไทยตลอดมา จึงเน้นที่จะส่งเสริมกิจกรรมทางสังคมที่เป็นการอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีไทยเป็นหลัก นอกเหนือจากการให้ความช่วยเหลือสนับสนุนกิจกรรมที่มีคุณค่าทุกประเภท เพื่อเป็นการตอบแทนสังคมที่อุดหนุนผลิตภัณฑ์ตราสิงห์ด้วยดีตลอดมา
วิวัฒนาการที่สำคัญ
ปี 2547
ปรับเปลี่ยนระบบการบริหารงานใหม่ หันมาให้ความสำคัญกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบุคลากรเพิ่มมากขึ้น โดยร่วมกับคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดอบรมความรู้ทางด้านการบริหารหลักสูตรมินิเอ็มบีเอให้กับพนักงาน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน
ปี 2548
เดือนกุมภาพันธ์ จัดตั้งบริษัท บุญรอดเทรดดิ้ง อินเตอร์เนชั่นแนล ขึ้นเพื่อดูแลตลาดต่างประเทศโดยเฉพาะ ซึ่งในปีนี้จะใช้งบการตลาดสำหรับจัดกิจกรรมในต่างประเทศรวมไม่ต่ำกว่า 100 ล้านบาท ซึ่งเพิ่มจากปีที่ผ่านมาที่ใช้ประมาณ 50-60 ล้านบาท เพื่อเพิ่มยอดขายให้มากขึ้นจาก 22 ล้านลิตรในปี 2548 เป็น 50 ล้านลิตรในปี 2547
นอกจากนั้น ในปีนี้ ผลิตภัณฑ์ตราสิงห์ของบริษัท บุญรอด เทรดดิ้ง จำกัด เข้ามาเป็น พรีเซ็นติ้ง สปอนเซอร์ (Presenting Sponsor) เป็นเพียงรายเดียวที่เป็นสปอนเซอร์ในลักษณะนี้ ด้วยวงเงินสนับสนุนถึง 100 ล้านบาท และถือเป็นผู้สนับสนุนรายใหญ่ที่สุด โดยบุญรอดจะได้รับสิทธิประโยชน์ คือ การเผยแพร่ตราสัญลักษณ์ผลิตภัณฑ์สิงห์ผ่านการจัดทำกิจกรรมการต่างๆ โดยเฉพาะกิจกรรมหลักของทางกองประกวดไม่น้อยกว่า 12 กิจกรรมตลอดระยะเวลา 1 เดือนเต็ม และจะมีการเผยแพร่กิจกรรมดังกล่าวผ่านสื่อในประเทศและต่างประเทศในวันประกวด สำหรับผลการดำเนินงานในปีนี้พบว่า กลุ่มเบียร์ในเครือบุญรอดฯ สินค้าเครือสิงห์โดยรวมมีส่วนแบ่งตลาดเพิ่มมาอยู่ที่ 44% ขณะที่เบียร์ช้างที่มีส่วนแบ่งอยู่ที่ 46% โดยเฉพาะลีโอเบียร์มีส่วนเป็นอย่างมากในการช่วงชิงส่วนแบ่งการตลาดโดยดึงส่วนแบ่งการตลาดมาได้ถึง 25% ขณะที่ส่วนแบรนด์หลักอย่างสิงห์ กระเตื้องขึ้นเป็น 20%
ปี 2549
เปลี่ยนชื่อจาก บริษัท บุญรอดเทรดดิ้ง จำกัด ซึ่งดูแลผลิตภัณฑ์เครื่องดื่ม ทั้งที่เป็นแอลกออฮอล์ และนันแอลกอฮอล์ มาเป็น สิงห์ คอร์ปอเรชั่น แทน เนื่องจากพบว่า ชื่อสิงห์ เป็นที่รู้จักและสามารถช่วยเกื้อกูลผลิตภัณฑ์ และสามารถสื่อภาพลักษณ์ขององค์กร ให้มีความชัดเจน รวมถึงป้องกันความสับสน เพื่อก้าวขึ้นเป็นผู้นำตลาดเครื่องดื่มครบวงจรท
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
บริษัทสิงห์คอร์เปอเรชั่นจำกัดบริษัทสิงห์คอร์เปอเรชั่นจำกัดเป็นบริษัทในเครือที่สำคัญของบริษัทบุญรอดบริวเวอรี่จำกัดโดยก่อตั้งขึ้นเพื่อดูแลธุรกิจเครื่องดื่มของบริษัทบุญรอดบริวเวอรี่จำกัดและรับผิดชอบในการบริหารและทำการตลาดของผลิตภัณฑ์เบียร์โซดาน้ำดื่มชาเขียวพร้อมดื่มและเครื่องดื่มสุขภาพภายใต้เครื่องหมายการค้า "สิงห์" "ลีโอ" "ไทเบียร์" และ "บีอิ้ง"บริษัทสิงห์คอร์เปอเรชั่นจำกัดดำเนินการบริหารโรงเบียร์ 3 แห่งและโรงงานผลิตโซดาและน้ำดื่มรวม 6 แห่งในจุดสำคัญต่างๆทั่วทุกภูมิภาคพร้อมทั้งพัฒนาความรู้ความสามารถของผู้แทนจำหน่ายด้านการให้บริการเพื่อรองรับความต้องการของตลาดรวมถึงตอบสนองผู้บริโภคให้ได้อย่างทั่วถึงโดยมีเครือข่ายเอเย่นต์จำนวน 300 รายจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ทั่วราชอาณาจักรและมีตัวแทนจำหน่ายในกว่า 50 ประเทศทั่วโลกและด้วยเกียรติบัตรรับรองระบบบริหารคุณภาพ ISO 9001: 2008 รับรองมาตรฐานและระบบการจัดการความปลอดภัยของอาหาร ISO 22000:2005 รวมทั้ง GMP และ HACCP และรางวัลเหรียญทองจากประเทศต่าง ๆ ทำให้ผู้บริโภคทั้งในประเทศไทยและทั่วโลกมั่นใจในคุณภาพสินค้าของบริษัทฯตลอดเวลาที่ผ่านมาบริษัทสิงห์คอร์เปอเรชั่นจำกัดและบริษัทบุญรอดบริวเวอรี่จำกัดมีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของชาวไทยควบคู่ไปกับการเติบโตของบริษัทฯ โดยการส่งเสริมให้มีการกระจายรายได้สู่ท้องถิ่นประกอบกิจกรรมทางสังคมที่เป็นการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมไทยเป็นหลักรวมถึงการสนับสนุนทางด้านการศึกษาและกีฬาทุกประเภทเพื่อเป็นการตอบแทนสังคมที่สนับสนุนผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯด้วยดีมาตลอดจุดกำเนิด "แบรนด์สิงห์"การก่อกำเนิดของโรงเบียร์แห่งแรกของเมืองไทยเมื่อพ.ศ. 2476 ในชื่อบุญรอดบริวเวอรี่นั้นพระยาภิรมย์ภักดีผู้เป็นต้นตระกูลภิรมย์ภักดีและผู้ให้กำเนิดเบียร์สิงห์เป็นการแหวกกฎเกณฑ์ค่านิยมของสังคมไทยในยุคนั้นอย่างน่ายกย่องและทำให้ปมธุรกิจของเมืองไทยไม่ใช่เป็นเรื่องราวของชาวจีนแต่เพียงล้วนๆ บริษัทบุญรอดบริวเวอรี่จำกัดจึงเกิดขึ้นด้วยทุนจดทะเบียน 600000 บาทในเนื้อที่ 9 ไร่ริมแม่น้ำเจ้าพระยาย่านบางกระบือและผลิตเบียร์ออกมาขายเป็นครั้งแรกในเดือนมิถุนายน 2477 การเกิดขึ้นของโรงงานผลิตเบียร์แห่งนี้นับเป็นการขยายลักษณะของธุรกิจจากที่เคยจำกัดอยู่แต่การพาณิชย์และบริการไปสู่การอุตสาหกรรมถือได้ว่าเป็นพัฒนาการที่ก้าวหน้าไปอีกขั้นหนึ่งของสังคมธุรกิจยุคหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองแม้การผลิตเบียร์จะเป็นเพียงอุตสาหกรรมแปรรูปธรรมดาๆ ที่ไม่มีขั้นตอนยุ่งยากซับซ้อนแต่เมื่อห้าสิบปีก่อนที่มีเพียงโรงสีที่พอจะจัดเป็นอุตสาหกรรมแปรรูปได้การริเริ่มของพระยาภิรมย์ภักดีจึงเป็นก้าวใหม่ในประวัติศาสตร์ธุรกิจของเมืองไทยจึงไม่ใช่เรื่องเกินเลยและเลื่อนลอยที่จะพูดว่าพระยาภิรมย์ภักดีคือนักอุตสาหกรรมรุ่นบุกเบิกคนหนึ่งแห่งวงการอุตสาหกรรมไทยกว่า 77 ปีล้านลิตรของผลิตภัณฑ์กับกว่า 1000 บนถนนสีอำพันของตระกูล "ภิรมย์ภักดี" "เบียร์สิงห์" ที่ผ่านฝีมือการสร้างสรรค์ของลูกหลานพระยาภิรมภักดีสู่ผู้บริโภคทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศภายใต้อาณาจักร "บุญรอดบริวเวอร์รี่" บริษัทฯ กระจายกำลังการผลิตไปทั่วราชอาณาจักรด้วยการสร้างโรงเบียร์ 3 แห่งและโรงงานผลิตโซดาน้ำดื่มอีก 6 แห่งความสามารถในการผลิตเบียร์ที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวผนึกกับเครือข่ายการจัดจำหน่ายที่รองรับตลาดอย่างทั่วถึงทำให้บุญรอดยืนผงาดอยู่ในแนวหน้าของผู้ผลิตเบียร์ตราบจนทุกวันนี้ยิ่งบริษัทฯ ได้รับเกียรติบัตร ISO 9002 รับรองมาตรฐานการผลิตยิ่งทำให้ผู้บริโภคมั่นใจในสินค้าของบุญรอดฯ เมื่อเห็นว่าตลาดโลกมีความต้องการสินค้าคุณภาพของบุญรอดบริษัทฯ จึงเสริมกำลังการผลิตเพิ่มขึ้นในประเทศเยอรมันด้วยโรงเบียร์อีก 2 แห่งและร่วมทุนทำโรงเบียร์ในประเทศจีนอีก 1 แห่งขณะเดียวกันบุญรอดมีความสำนึกและภาคภูมิใจในความเป็นไทยตลอดมาจึงเน้นที่จะส่งเสริมกิจกรรมทางสังคมที่เป็นการอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีไทยเป็นหลักนอกเหนือจากการให้ความช่วยเหลือสนับสนุนกิจกรรมที่มีคุณค่าทุกประเภทเพื่อเป็นการตอบแทนสังคมที่อุดหนุนผลิตภัณฑ์ตราสิงห์ด้วยดีตลอดมาวิวัฒนาการที่สำคัญปี 2547ปรับเปลี่ยนระบบการบริหารงานใหม่หันมาให้ความสำคัญกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบุคลากรเพิ่มมากขึ้นโดยร่วมกับคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจัดอบรมความรู้ทางด้านการบริหารหลักสูตรมินิเอ็มบีเอให้กับพนักงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานปี 2548เดือนกุมภาพันธ์จัดตั้งบริษัทบุญรอดเทรดดิ้งอินเตอร์เนชั่นแนลขึ้นเพื่อดูแลตลาดต่างประเทศโดยเฉพาะซึ่งในปีนี้จะใช้งบการตลาดสำหรับจัดกิจกรรมในต่างประเทศรวมไม่ต่ำกว่า 100 ล้านบาทซึ่งเพิ่มจากปีที่ผ่านมาที่ใช้ประมาณ 50-60 ล้านบาทเพื่อเพิ่มยอดขายให้มากขึ้นจาก 22 ล้านลิตรในปี 2548 เป็น 50 ล้านลิตรในปี 2547นอกจากนั้นในปีนี้ผลิตภัณฑ์ตราสิงห์ของบริษัทบุญรอดเทรดดิ้งจำกัดเข้ามาเป็นพรีเซ็นติ้งสปอนเซอร์ (ผู้สนับสนุนนำเสนอ) เป็นเพียงรายเดียวที่เป็นสปอนเซอร์ในลักษณะนี้ด้วยวงเงินสนับสนุนถึง 100 ล้านบาทและถือเป็นผู้สนับสนุนรายใหญ่ที่สุดโดยบุญรอดจะได้รับสิทธิประโยชน์คือการเผยแพร่ตราสัญลักษณ์ผลิตภัณฑ์สิงห์ผ่านการจัดทำกิจกรรมการต่าง ๆ โดยเฉพาะกิจกรรมหลักของทางกองประกวดไม่น้อยกว่า 12 กิจกรรมตลอดระยะเวลา 1 เดือนเต็มและจะมีการเผยแพร่กิจกรรมดังกล่าวผ่านสื่อในประเทศและต่างประเทศในวันประกวดสำหรับผลการดำเนินงานในปีนี้พบว่ากลุ่มเบียร์ในเครือบุญรอดฯ สินค้าเครือสิงห์โดยรวมมีส่วนแบ่งตลาดเพิ่มมาอยู่ที่ 44 ขณะที่เบียร์ช้างที่มีส่วนแบ่งอยู่ที่ 46% โดยเฉพาะลีโอเบียร์มีส่วนเป็นอย่างมากในการช่วงชิงส่วนแบ่งการตลาดโดยดึงส่วนแบ่งการตลาดมาได้ถึง 25% ขณะที่ส่วนแบรนด์หลักอย่างสิงห์กระเตื้องขึ้นเป็น 20%ปี ๒๕๔๙เปลี่ยนชื่อจากบริษัทบุญรอดเทรดดิ้งจำกัดซึ่งดูแลผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มทั้งที่เป็นแอลกออฮอล์และนันแอลกอฮอล์มาเป็นสิงห์คอร์ปอเรชั่นแทนเนื่องจากพบว่าชื่อสิงห์เป็นที่รู้จักและสามารถช่วยเกื้อกูลผลิตภัณฑ์และสามารถสื่อภาพลักษณ์ขององค์กรให้มีความชัดเจนรวมถึงป้องกันความสับสนเพื่อก้าวขึ้นเป็นผู้นำตลาดเครื่องดื่มครบวงจรท
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
บริษัท สิงห์คอร์เปอเรชั่น จำกัด
บริษัท สิงห์คอร์เปอเรชั่น จำกัด บุญรอดบริวเวอรี่ จำกัด จำกัด เบียร์โซดาน้ำดื่มชาเขียวพร้อมดื่มและเครื่องดื่มสุขภาพภายใต้เครื่องหมายการค้า "สิงห์" "ลีโอ" "ไทเบียร์" และ "บีอิ้ง"
บริษัท สิงห์คอร์เปอเรชั่น จำกัด ดำเนินการบริหารโรงเบียร์ 3 แห่งและ โรงงานผลิตโซดาและน้ำดื่มรวม 6 แห่งในจุดสำคัญต่างๆทั่วทุกภูมิภาคพร้อมทั้งพัฒนาความรู้ เพื่อรองรับความต้องการของตลาด โดยมีเครือข่ายเอเย่นต์จำนวน 300 และมีตัวแทนจำหน่ายในกว่า 50 ประเทศทั่วโลก ISO 9001: 2008 รับรองมาตรฐาน ISO 22000: 2005 รวมทั้งมาตรฐาน GMP และ HACCP และรางวัลเหรียญทองจากประเทศต่างๆ
บริษัท สิงห์คอร์เปอเรชั่น จำกัด และ บริษัท บุญรอดบริวเวอรี่ จำกัด พ.ศ. 2476 ในชื่อบุญรอดบริวเวอรี่นั้นพระยาภิรมย์ภักดี ๆ บริษัท บุญรอดบริวเวอรี่ จำกัด จึงเกิดขึ้นด้วยทุนจดทะเบียน 600,000 บาทในเนื้อที่ 9 ไร่ริมแม่น้ำเจ้าพระยาย่านบางกระบือ 2477 ๆ ที่ไม่มีขั้นตอนยุ่งยากซับซ้อน 77 ปีบนถนนสีอำพันของตระกูล "ภิรมย์ภักดี" กับกว่า 1,000 ล้านลิตรของผลิตภัณฑ์ "เบียร์สิงห์" พระยาภิรมภักดี ภายใต้อาณาจักร "บุญรอดบริวเวอร์รี่" บริษัท ฯ ด้วยการสร้างโรงเบียร์ 3 แห่งและโรงงานผลิตโซดาน้ำดื่มอีก 6 แห่งความสามารถในการผลิตเบียร์ ยิ่ง บริษัท ฯ ได้รับเกียรติบัตรรับรองมาตรฐาน ISO 9002 รับรองมาตรฐานการผลิตยิ่งทำให้ผู้บริโภคมั่นใจในสินค้าของบุญรอดฯ บริษัท ฯ โรงเบียร์อีก 2 แห่ง 1 แห่งขณะเดียวกัน 2547 ปรับเปลี่ยนระบบการบริหารงานใหม่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานปี 2548 เดือนกุมภาพันธ์จัดตั้ง บริษัท บุญรอดเทรดดิ้งอินเตอร์เนชั่นแนล 100 ล้านบาท 50-60 ล้านบาทเพื่อเพิ่มยอดขายให้มากขึ้นจาก 22 ล้านลิตรในปี 2548 เป็น 50 ล้านลิตรในปี 2547 นอกจากนั้นในปีนี้ผลิตภัณฑ์ตราสิงห์ของ บริษัท บุญรอดเทรดดิ้ง จำกัด เข้ามาเป็นพรีเซ็นติ้งสปอน เซอร์ (ผู้สนับสนุนการนำเสนอ) ด้วยวงเงินสนับสนุนถึง 100 ล้านบาท โดยบุญรอดจะได้รับสิทธิประโยชน์คือ 12 กิจกรรมตลอดระยะเวลา 1 เดือนเต็ม สำหรับผลการดำเนินงานในปีนี้พบว่ากลุ่มเบียร์ในเครือบุญรอดฯ 44% 46% 25% ขณะที่ส่วนแบรนด์หลักอย่างสิงห์กระเตื้องขึ้นเป็น 20% ปี 2549 เปลี่ยนชื่อจาก บริษัท บุญรอดเทรดดิ้ง จำกัด ซึ่งดูแลผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มทั้งที่เป็นแอลกออฮอล์และนันแอลกอฮอล์มาเป็นสิงห์คอร์ปอเรชั่นแทนเนื่องจากพบ ว่าชื่อสิงห์ และสามารถสื่อภาพลักษณ์ขององค์กรให้มีความชัดเจนรวมถึงป้องกันความสับสน












การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
บริษัทสิงห์คอร์เปอเรชั่นจำกัด
บริษัทสิงห์คอร์เปอเรชั่นจำกัดเป็นบริษัทในเครือที่สำคัญของบริษัทบุญรอดบริวเวอรี่จำกัดโดยก่อตั้งขึ้นเพื่อดูแลธุรกิจเครื่องดื่มของบริษัทบุญรอดบริวเวอรี่จำกัดเบียร์โซดาน้ำดื่มชาเขียวพร้อมดื่มและเครื่องดื่มสุขภาพภายใต้เครื่องหมายการค้า " สิงห์ " ลีโอ " ไทเบียร์และ " บีอิ้ง "
"บริษัทสิงห์คอร์เปอเรชั่นจำกัดดำเนินการบริหารโรงเบียร์ 3 แห่งและโรงงานผลิตโซดาและน้ำดื่มรวม 6 แห่งในจุดสำคัญต่างๆทั่วทุกภูมิภาคพร้อมทั้งพัฒนาความรู้ความสามารถของผู้แทนจำหน่ายด้านการให้บริการรวมถึงตอบสนองผู้บริโภคให้ได้อย่างทั่วถึงโดยมีเครือข่ายเอเย่นต์จำนวน 300 รายจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ทั่วราชอาณาจักรและมีตัวแทนจำหน่ายในกว่า 50 ประเทศทั่วโลกและด้วยเกียรติบัตรรับรองระบบบริหารคุณภาพ ISO 9001 :2008 รับรองมาตรฐานและระบบการจัดการความปลอดภัยของอาหาร ISO 22000 : 2005 รวมทั้ง& GMP HACCP และรางวัลเหรียญทองจากประเทศต่างๆทำให้ผู้บริโภคทั้งในประเทศไทยและทั่วโลกมั่นใจในคุณภาพสินค้าของบริษัทฯ
ตลอดเวลาที่ผ่านมาบริษัทสิงห์คอร์เปอเรชั่นจำกัดและบริษัทบุญรอดบริวเวอรี่จำกัดมีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของชาวไทยควบคู่ไปกับการเติบโตของบริษัทฯโดยการส่งเสริมให้มีการกระจายรายได้สู่ท้องถิ่นรวมถึงการสนับสนุนทางด้านการศึกษาและกีฬาทุกประเภทเพื่อเป็นการตอบแทนสังคมที่สนับสนุนผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯด้วยดีมาตลอด
" แบรนด์สิงห์ "

จุดกำเนิดการก่อกำเนิดของโรงเบียร์แห่งแรกของเมืองไทยเมื่อพ . ศ .พ.ศ. 2476 ในชื่อบุญรอดบริวเวอรี่นั้นพระยาภิรมย์ภักดีผู้เป็นต้นตระกูลภิรมย์ภักดีและผู้ให้กำเนิดเบียร์สิงห์เป็นการแหวกกฎเกณฑ์ค่านิยมของสังคมไทยในยุคนั้นอย่างน่ายกย่องจะบริษัทบุญรอดบริวเวอรี่จำกัดจึงเกิดขึ้นด้วยทุนจดทะเบียน 600 ,000 บาทในเนื้อที่ 9 ไร่ริมแม่น้ำเจ้าพระยาย่านบางกระบือและผลิตเบียร์ออกมาขายเป็นครั้งแรกในเดือนมิถุนายนการเกิดขึ้นของโรงงานผลิตเบียร์แห่งนี้พ.ถือได้ว่าเป็นพัฒนาการที่ก้าวหน้าไปอีกขั้นหนึ่งของสังคมธุรกิจยุคหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองแม้การผลิตเบียร์จะเป็นเพียงอุตสาหกรรมแปรรูปธรรมดาจะที่ไม่มีขั้นตอนยุ่งยากซับซ้อนการริเริ่มของพระยาภิรมย์ภักดีจึงเป็นก้าวใหม่ในประวัติศาสตร์ธุรกิจของเมืองไทยจึงไม่ใช่เรื่องเกินเลยและเลื่อนลอยที่จะพูดว่าพระยาภิรมย์ภักดีคือนักอุตสาหกรรมรุ่นบุกเบิกคนหนึ่งแห่งวงการอุตสาหกรรมไทย
กว่า 77 . บนถนนสีอำพันของตระกูล " ภิรมย์ภักดี " กับกว่า 1000 ล้านลิตรของผลิตภัณฑ์ " เบียร์สิงห์ " ที่ผ่านฝีมือการสร้างสรรค์ของลูกหลานพระยาภิรมภักดีสู่ผู้บริโภคทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศภายใต้อาณาจักร " บุญรอดบริวเวอร์รี่ " บริษัทฯด้วยการสร้างโรงเบียร์ 3 แห่งและโรงงานผลิตโซดาน้ำดื่มอีก 6 แห่งความสามารถในการผลิตเบียร์ที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวผนึกกับเครือข่ายการจัดจำหน่ายที่รองรับตลาดอย่างทั่วถึงทำให้บุญรอดยิ่งบริษัทฯได้รับเกียรติบัตร ISO 9002 รับรองมาตรฐานการผลิตยิ่งทำให้ผู้บริโภคมั่นใจในสินค้าของบุญรอดฯเมื่อเห็นว่าตลาดโลกมีความต้องการสินค้าคุณภาพของบุญรอดบริษัทฯโรงเบียร์อีก 2 แห่งและร่วมทุนทำโรงเบียร์ในประเทศจีนอีกแห่ง
1ขณะเดียวกันบุญรอดมีความสำนึกและภาคภูมิใจในความเป็นไทยตลอดมาจึงเน้นที่จะส่งเสริมกิจกรรมทางสังคมที่เป็นการอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีไทยเป็นหลักเพื่อเป็นการตอบแทนสังคมที่อุดหนุนผลิตภัณฑ์ตราสิงห์ด้วยดีตลอดมา
วิวัฒนาการที่สำคัญ 2547

.ปรับเปลี่ยนระบบการบริหารงานใหม่หันมาให้ความสำคัญกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบุคลากรเพิ่มมากขึ้นโดยร่วมกับคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน
2548
.เดือนกุมภาพันธ์จัดตั้งบริษัทบุญรอดเทรดดิ้งอินเตอร์เนชั่นแนลขึ้นเพื่อดูแลตลาดต่างประเทศโดยเฉพาะซึ่งในปีนี้จะใช้งบการตลาดสำหรับจัดกิจกรรมในต่างประเทศรวมไม่ต่ำกว่า 100 ล้านบาท50-60 ล้านบาท 22 เพื่อเพิ่มยอดขายให้มากขึ้นจากล้านลิตรในปี 2548 เป็น 50 ล้านลิตรในปี 2547
นอกจากนั้นในปีนี้ผลิตภัณฑ์ตราสิงห์ของบริษัทบุญรอดเทรดดิ้งจำกัดเข้ามาเป็นพรีเซ็นติ้งสปอนเซอร์ ( เสนอสปอนเซอร์ ) เป็นเพียงรายเดียวที่เป็นสปอนเซอร์ในลักษณะนี้ด้วยวงเงินสนับสนุนถึง 100 ล้านบาทโดยบุญรอดจะได้รับสิทธิประโยชน์ความการเผยแพร่ตราสัญลักษณ์ผลิตภัณฑ์สิงห์ผ่านการจัดทำกิจกรรมการต่างๆโดยเฉพาะกิจกรรมหลักของทางกองประกวดไม่น้อยกว่า 12 กิจกรรมตลอดระยะเวลา 1 เดือนเต็มสำหรับผลการดำเนินงานในปีนี้พบว่ากลุ่มเบียร์ในเครือบุญรอดฯสินค้าเครือสิงห์โดยรวมมีส่วนแบ่งตลาดเพิ่มมาอยู่ที่ 44% ขณะที่เบียร์ช้างที่มีส่วนแบ่งอยู่ที่ 46 %25% ขณะที่ส่วนแบรนด์หลักอย่างสิงห์กระเตื้องขึ้นเป็น 20 %
2549
.เปลี่ยนชื่อจากบริษัทบุญรอดเทรดดิ้งจำกัดซึ่งดูแลผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มทั้งที่เป็นแอลกออฮอล์และนันแอลกอฮอล์มาเป็นสิงห์คอร์ปอเรชั่นแทนเนื่องจากพบว่าชื่อสิงห์และสามารถสื่อภาพลักษณ์ขององค์กรให้มีความชัดเจนรวมถึงป้องกันความสับสนเพื่อก้าวขึ้นเป็นผู้นำตลาดเครื่องดื่มครบวงจรท
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: