พิธีอุปสมบทการอุปสมบท(บวชนาค) แม้จะไม่หาฤกษ์งามยามดีอะไรก็ได้ เพราะเป็ การแปล - พิธีอุปสมบทการอุปสมบท(บวชนาค) แม้จะไม่หาฤกษ์งามยามดีอะไรก็ได้ เพราะเป็ ไทย วิธีการพูด

พิธีอุปสมบทการอุปสมบท(บวชนาค) แม้จะ

พิธีอุปสมบท
การอุปสมบท(บวชนาค) แม้จะไม่หาฤกษ์งามยามดีอะไรก็ได้ เพราะเป็นการหวังเข้าหาความสงบ ไม่ปรารถนาจะได้ลาภ ยศ เงินทอง อย่างใด แต่ถ้าต้องการจะให้มีฤกษ์ก็เลือกเฉพาะเพียงวันดีเท่านั้น ส่วนเดือนไม่จำเป็น ให้เป็นวันก่อนเข้าพรรษาก็แล้วกัน อนึ่ง เวลาของฤกษ์นั้นจะกำหนดมิได้ เพราะบางวันมีนาค(ผู้บวช) พร้อมๆกันหลายนาค ถึงจะกำหนดเวลาให้ไป พระเถระผู้เป็นอุปัชฌาย์ก็ปฏิบัติตามเวลานั้นมิได้ ซึ่งสุดแท้แต่ใครจะบวชก่อนบวชหลัง และสุดแต่เวลาจะเร็วช้าปานใด จึงไม่มีการถือหาอะไรกัน ข้อสำคัญของการอุปสมบท คือการซ้อมคำขานนาคให้คล่อง กับต้องมีอัฐบริขารให้ครบ เวลานาคจะเข้าโบสถ์ บิดามารดาต้องจูงมือนาค โดยมารดาอยู่ทางขวา บิดาอยู่ทางซ้าย เท่ากับนำนาคไปถวายแก่พระ ไม่ใช่นาคจูงมือบิดามารดาไปสวรรค์ ตามที่บางคนเข้าใจกัน เวลาประเคนไตรให้นาค บิดามารดาต้องประเคนพร้อมกัน บาตรก็เหมือนกัน ก่อนจะประเคนไตร นาคต้องกราบบิดามารดาก่อนแล้วจึงประเคน บางแห่งก่อนเข้าโบสถ์มีการบูชาเสมาด้วย ซึ่งหมายความว่าจะเข้าเขตของพระพุทธเจ้า ต้องบูชาเสียก่อน ก็คือบูชาพระโดยตรง

ก่อนจะถึงวันบวชหนึ่งวัน คือที่เรียกกันว่าวันสุกดิบนั้น ถ้าต้องการจะทำขวัญนาคก็กระทำกันในวันนั้น ส่วนการฉลองทำกันเมื่อบวชเป็นองค์พระแล้ว เรียกว่า “ฉลองพระ” นับว่าเป็นงานที่ควรจักกระทำเสมอไป ส่วนการทำขวัญนั้นจะตัดออกเสียไม่ต้องทำก็ได้ เท่าที่มีผู้กระทำกันก็เพื่อเป็นเกียรติและเพิ่มความครึกครื้นขึ้นอีกเท่านั้น

ส่วนพิธีการมงคลที่จะกระทำกัน โดยเฉพาะชาวไทยซึ่งเรานับว่าเป็นพุทธศาสนิกชนชั้นเอก จึงมักทำเป็นพิธีมโหฬารเต็มที่ เช่น การแห่แหนนาคไปบวช เป็นต้น

ความนิยม

ถ้าเป็นคนธรรมดาตามชนบท มักเริ่มบวชกันตั้งแต่เดือน ๔ เป็นต้นไป เพราะหมดกิจธุระทางบ้าน เช่น เสร็จกิจจากการทำไร่ทำนาแล้ว ถ้าคนในจังหวัดหรือคนที่กำลังรับราชการอยู่ ก็มักเริ่มบวชกันตั้งแต่เดือน ๗ ถึงเดือน ๘ ก่อนวันเข้าพรรษา เนื่องจากทางราชการกำหนดวันลาไว้โดยมีเขตจำกัด งานพิธีมงคลนี้มักทำกันเป็น 2 วัน คือวันต้นเป็นวันสุกดิบ วันที่สองเป็นวันแห่นาคไปวัด

กิจเบื้องต้นที่จะกระทำ บิดามารดาหรือญาติผู้เป็นเจ้าภาพจด นับ วันเดือน ปี เกิดของผู้จะบวช แล้วพาตัวไปนมัสการพระอุปัชฌาย์ ณ วัดที่ประสงค์จะบวช ขอความตกลงวันบวชแก่องค์อุปัชฌาย์ ดังจะกล่าวถึงหัวข้อที่จะต้องจัดเตรียมตามลำดับต่อไปนี้



๑.เครื่องอัฐบริขาร

เครื่องบริขารสำหรับนาคที่จะบวชนั้น จำต้องเตรียมไว้ให้ครบ ๘ อย่าง ดังนี้

๑.บาตร

๒.อันตรวาสก ได้แก่ ผ้าสบง

๓.อุตตราสงค์ ได้แก่ ผ้าจีวร

๔.สังฆาฏิ ได้แก่ ผ้าพาดบ่า(ห่มซ้อน)

๕.กายพันธน์ ได้แก่ ผ้าประคดเอว

๕.ธัมมกรก ได้แก่ หม้อกรองน้ำ

๗.กล่องด้ายเข็ม

๘.มีดโกน

ทั้ง ๘ อย่างนี้ เป็นของที่จำเป็นจะขาดมิได้ ส่วนเครื่องบริขารอื่นๆ เช่น เสื่อ ที่นอน หมอน มุ้ง แก้วน้ำ กาต้มน้ำ ปิ่นโต ย่าม ร่ม และรองเท้า ฯลฯ เหล่านี้ก็จัดหาตามควรแก่ฐานะ และควรมีสบงกับจีวรเผื่อเพิ่มเติมไว้บ้าง จะได้อาศัยใช้ผลัดนุ่งห่มได้พอเพียง



๒.ผู้ที่จะบวชควรเตรียม

ผู้ที่จะบวชเป็นพระภิกษุสงฆ์นั้น ควรหมั่นไปมาหาสู่พระผู้เป็นอุปัชฌาย์และคู่สวด เพื่อเรียนปฏิบัติระเบียบแบบแผนต่างๆของผู้แรกเริ่มเป็นสงฆ์ และควรท่องจำบทคำสวดต่างๆไว้คือ:

๑.ท่องคำขอบรรพชาอุปสมบท(คำขานนาค)

๒.ท่องคำกรวดน้ำ

๓.ท่องวิธีทำพินทุ, อธิษฐาน และวิธีวิกัปจีวร

๔.ท่องวิธีแสดงอาบัติ

๕.ท่อง ยถา, สัพพี

๖. ท่องวิธีพิจารณาปัจจัย

๗.ท่องสวดมนต์ทำวัตรเช้า-เย็น

สำหรับข้อ ๑ คำขอบรรพชาอุปสมบท(คำขานนาค) นั้น เป็นสิ่งสำคัญกว่าทั้งหมด ผู้จะบวชต้องท่องจำให้ได้ เพราะวันบวชจะต้องว่าคำขานนาคให้ดังพอ ต้องหัดว่า ตลอดจนฝึกซ้อมท่าทางต่างๆให้คล่องแคล่ว ว่าตอนไหนควรจะว่าหรือจะทำอย่างไรบ้าง ตามปรกติพระอุปัชฌาย์จะนัดวันเวลาสำหรับฝึกซ้อมหรือมอบให้พระภิกษุอื่นทำหน้าที่แทน เพื่อความสะดวกไม่เคอะเขิน กับควรศึกษาระเบียบที่จำเป็นในวันบวช คือ:

ก.ระเบียบวิธีกราบ

ข. ระเบียบวิธีกรวดน้ำ

ค.ระเบียบวิธีการรับประเคนของ

ระเบียบข้อ ก. ธรรมเนียมการกราบที่นับว่าถูกต้องดีนั้น ต้องกราบตามแบบเบญจางคประดิษฐ์ คือ ให้เข่าทั้ง ๒ จรดพื้น ให้ฝ่ามือทั้ง ๒ แผ่วางราบอยู่กับพื้น ให้หน้าผากจรดลงที่พื้น รวมเป็นองค์ ๕ เวลากราบระวังอย่าให้ตะโพกโด่งขึ้นจนดูน่าเกลียดมาก ควรกราบทอดลงไปเรียบๆพองาม ไม่โก่งตัว และไม่ทอดตัวลงไปเหมือนอย่างจะนอน ระวังอย่าลุกลนหรือล่าช้าเกินไป พึงกราบให้เป็นจังหวะ ตั้งใจรำลึกถึงพุทธบูชา ธรรมบูชา สังฆบูชา จึงจะเป็นสิริมงคลแก่ผู้กระทำยิ่งนัก



ส่วนระเบียบข้อ ข. วิธีกรวดน้ำนั้น คำว่า “กรวดน้ำ” คือการใช้น้ำมาหลั่งรินให้ไหลตกลงยังภาชนะสำหรับรองอันหนึ่ง ทั้งนี้เพื่อตั้งจิตอุทิศส่วนกุศลที่ได้กระทำไปแล้ว ให้แก่บรรดาผู้ที่ล่วงลับไป จึงควรใช้น้ำที่สะอาดบริสุทธิ์ วิธีกรวดควรหยดน้ำให้เป็นสายเดียวโดยสม่ำเสมอ ระวังหยาดลงทีละน้อยอย่าให้ดังติ๋งๆ จะขาดความคารวะ ให้เริ่มกรวดเมื่อพระท่านอนุโมทนาว่า “ยถา วาริวหา” จึงว่าคำกรวดน้ำ กับตั้งจิตแผ่ส่วนกุศลไปยังบุพการีและผู้ประสงค์จะแผ่ส่วนกุศลไปให้ ตลอดจนถึงสรรพสัตว์ทั้งปวง เมื่อพระว่าจบ “ยะถา” ก็หยุดกรวดน้ำ นั่งประนมมือฟังพระอนุโมทนาต่อไป



สำหรับวิธีการรับประเคนของตามข้อ ค. ตามธรรมเนียมของแขกผู้ที่มาในงานอุปสมบท จะมีสิ่งของมาถวายพระบวชใหม่ด้วย เมื่อเสร็จพิธีบวชเป็นองค์พระแล้ว พระบวชใหม่จะต้องออกมานั่งรับประเคนของ ถ้าผู้ถวายเป็นชาย พระบวชใหม่ก็รับประเคนต่อเนื่องด้วยมือได้ แต่ถ้าผู้ถวายเป็นหญิง จะรับประเคนต่อเนื่องด้วยมือมิได้ วิธีรับต้องใช้ต่อเนื่องด้วยของแทนกาย คือทอดผ้ากราบออกรับประเคน การจับผ้ากราบต้องจับด้วยมือทั้งสอง ให้วางนิ้วหัวแม่มือไว้บนผ้า ส่วนอีก ๔ นิ้ว ให้สอดเข้าไว้ใต้ผ้าโดยวิธีหงายฝ่ามือ ทอดสายตาจับอยู่ที่ผ้ากราบ เป็นการสำรวมอิริยาบถ



๓.ขอขมา

เมื่อใกล้วันอุปสมบท นอกจากจะส่งบัตรลาอุปสมบทไปยังผู้ที่เคารพนับถือและผู้รู้จักมักคุ้นกันมาแล้ว โดยมารยาทนิยม ผู้ที่จะบวชต้องจัดดอกไม้ธูปเทียนใส่พานไปลาญาติพี่น้องและผู้ใ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
พิธีอุปสมบทการอุปสมบท(บวชนาค)แม้จะไม่หาฤกษ์งามยามดีอะไรก็ได้เพราะเป็นการหวังเข้าหาความสงบไม่ปรารถนาจะได้ลาภยศเงินทองอย่างใดแต่ถ้าต้องการจะให้มีฤกษ์ก็เลือกเฉพาะเพียงวันดีเท่านั้นส่วนเดือนไม่จำเป็นให้เป็นวันก่อนเข้าพรรษาก็แล้วกันอนึ่งเวลาของฤกษ์นั้นจะกำหนดมิได้เพราะบางวันมีนาค(ผู้บวช)พร้อมๆกันหลายนาคถึงจะกำหนดเวลาให้ไปพระเถระผู้เป็นอุปัชฌาย์ก็ปฏิบัติตามเวลานั้นมิได้ซึ่งสุดแท้แต่ใครจะบวชก่อนบวชหลังและสุดแต่เวลาจะเร็วช้าปานใดจึงไม่มีการถือหาอะไรกันข้อสำคัญของการอุปสมบทคือการซ้อมคำขานนาคให้คล่องกับต้องมีอัฐบริขารให้ครบเวลานาคจะเข้าโบสถ์บิดามารดาต้องจูงมือนาคโดยมารดาอยู่ทางขวาบิดาอยู่ทางซ้ายเท่ากับนำนาคไปถวายแก่พระไม่ใช่นาคจูงมือบิดามารดาไปสวรรค์ตามที่บางคนเข้าใจกันเวลาประเคนไตรให้นาคบิดามารดาต้องประเคนพร้อมกันบาตรก็เหมือนกันก่อนจะประเคนไตรนาคต้องกราบบิดามารดาก่อนแล้วจึงประเคนบางแห่งก่อนเข้าโบสถ์มีการบูชาเสมาด้วยซึ่งหมายความว่าจะเข้าเขตของพระพุทธเจ้าต้องบูชาเสียก่อนก็คือบูชาพระโดยตรงก่อนจะถึงวันบวชหนึ่งวันคือที่เรียกกันว่าวันสุกดิบนั้นถ้าต้องการจะทำขวัญนาคก็กระทำกันในวันนั้นส่วนการฉลองทำกันเมื่อบวชเป็นองค์พระแล้วเรียกว่า "ฉลองพระ" นับว่าเป็นงานที่ควรจักกระทำเสมอไปส่วนการทำขวัญนั้นจะตัดออกเสียไม่ต้องทำก็ได้เท่าที่มีผู้กระทำกันก็เพื่อเป็นเกียรติและเพิ่มความครึกครื้นขึ้นอีกเท่านั้นส่วนพิธีการมงคลที่จะกระทำกันโดยเฉพาะชาวไทยซึ่งเรานับว่าเป็นพุทธศาสนิกชนชั้นเอกจึงมักทำเป็นพิธีมโหฬารเต็มที่เช่นการแห่แหนนาคไปบวชเป็นต้นความนิยมถ้าเป็นคนธรรมดาตามชนบทมักเริ่มบวชกันตั้งแต่เดือน ๔ เป็นต้นไปเพราะหมดกิจธุระทางบ้านเช่นเสร็จกิจจากการทำไร่ทำนาแล้วถ้าคนในจังหวัดหรือคนที่กำลังรับราชการอยู่ก็มักเริ่มบวชกันตั้งแต่เดือน ๗ ถึงเดือน ๘ ก่อนวันเข้าพรรษาเนื่องจากทางราชการกำหนดวันลาไว้โดยมีเขตจำกัดงานพิธีมงคลนี้มักทำกันเป็น 2 วันคือวันต้นเป็นวันสุกดิบวันที่สองเป็นวันแห่นาคไปวัดกิจเบื้องต้นที่จะกระทำบิดามารดาหรือญาติผู้เป็นเจ้าภาพจดนับวันเดือนปีเกิดของผู้จะบวชแล้วพาตัวไปนมัสการพระอุปัชฌาย์ณวัดที่ประสงค์จะบวชขอความตกลงวันบวชแก่องค์อุปัชฌาย์ดังจะกล่าวถึงหัวข้อที่จะต้องจัดเตรียมตามลำดับต่อไปนี้๑.เครื่องอัฐบริขารเครื่องบริขารสำหรับนาคที่จะบวชนั้นจำต้องเตรียมไว้ให้ครบ ๘ เชิงแบบอย่างดังนี้๑.บาตร๒.อันตรวาสกได้แก่ผ้าสบง๓.อุตตราสงค์ได้แก่ผ้าจีวร๔.สังฆาฏิได้แก่ผ้าพาดบ่า(ห่มซ้อน)๕.กายพันธน์ได้แก่ผ้าประคดเอว๕.ธัมมกรกได้แก่หม้อกรองน้ำ๗.กล่องด้ายเข็ม๘.มีดโกนทั้ง ๘ อย่างนี้เป็นของที่จำเป็นจะขาดมิได้ส่วนเครื่องบริขารอื่น ๆ เช่นเสื่อที่นอนหมอนมุ้งแก้วน้ำกาต้มน้ำปิ่นโตย่ามร่มและรองเท้าฯลฯ เหล่านี้ก็จัดหาตามควรแก่ฐานะและควรมีสบงกับจีวรเผื่อเพิ่มเติมไว้บ้างจะได้อาศัยใช้ผลัดนุ่งห่มได้พอเพียง๒.ผู้ที่จะบวชควรเตรียมผู้ที่จะบวชเป็นพระภิกษุสงฆ์นั้นควรหมั่นไปมาหาสู่พระผู้เป็นอุปัชฌาย์และคู่สวดเพื่อเรียนปฏิบัติระเบียบแบบแผนต่างๆของผู้แรกเริ่มเป็นสงฆ์และควรท่องจำบทคำสวดต่างๆไว้คือ:๑.ท่องคำขอบรรพชาอุปสมบท(คำขานนาค)๒.ท่องคำกรวดน้ำ๓.ท่องวิธีทำพินทุ อธิษฐานและวิธีวิกัปจีวร๔.ท่องวิธีแสดงอาบัติ๕.ท่องยถา สัพพี๖ . ท่องวิธีพิจารณาปัจจัย๗.ท่องสวดมนต์ทำวัตรเช้า-เย็นสำหรับข้อ ๑ คำขอบรรพชาอุปสมบท(คำขานนาค)นั้นเป็นสิ่งสำคัญกว่าทั้งหมดผู้จะบวชต้องท่องจำให้ได้เพราะวันบวชจะต้องว่าคำขานนาคให้ดังพอต้องหัดว่าตลอดจนฝึกซ้อมท่าทางต่างๆให้คล่องแคล่วว่าตอนไหนควรจะว่าหรือจะทำอย่างไรบ้างตามปรกติพระอุปัชฌาย์จะนัดวันเวลาสำหรับฝึกซ้อมหรือมอบให้พระภิกษุอื่นทำหน้าที่แทนเพื่อความสะดวกไม่เคอะเขินกับควรศึกษาระเบียบที่จำเป็นในวันบวชคือ:ก.ระเบียบวิธีกราบข. ระเบียบวิธีกรวดน้ำค.ระเบียบวิธีการรับประเคนของระเบียบข้อก. ธรรมเนียมการกราบที่นับว่าถูกต้องดีนั้นต้องกราบตามแบบเบญจางคประดิษฐ์คือให้เข่าทั้ง ๒ จรดพื้นให้ฝ่ามือทั้ง ๒ แผ่วางราบอยู่กับพื้นให้หน้าผากจรดลงที่พื้นรวมเป็นองค์ ๕ เวลากราบระวังอย่าให้ตะโพกโด่งขึ้นจนดูน่าเกลียดมากควรกราบทอดลงไปเรียบๆพองามไม่โก่งตัวและไม่ทอดตัวลงไปเหมือนอย่างจะนอนระวังอย่าลุกลนหรือล่าช้าเกินไปพึงกราบให้เป็นจังหวะตั้งใจรำลึกถึงพุทธบูชาธรรมบูชาสังฆบูชาจึงจะเป็นสิริมงคลแก่ผู้กระทำยิ่งนัก ส่วนระเบียบข้อข. วิธีกรวดน้ำนั้นคำว่า "กรวดน้ำ" คือการใช้น้ำมาหลั่งรินให้ไหลตกลงยังภาชนะสำหรับรองอันหนึ่งทั้งนี้เพื่อตั้งจิตอุทิศส่วนกุศลที่ได้กระทำไปแล้วให้แก่บรรดาผู้ที่ล่วงลับไปจึงควรใช้น้ำที่สะอาดบริสุทธิ์วิธีกรวดควรหยดน้ำให้เป็นสายเดียวโดยสม่ำเสมอระวังหยาดลงทีละน้อยอย่าให้ดังติ๋ง ๆ จะขาดความคารวะให้เริ่มกรวดเมื่อพระท่านอนุโมทนาว่า "ยถาวาริวหา" จึงว่าคำกรวดน้ำกับตั้งจิตแผ่ส่วนกุศลไปยังบุพการีและผู้ประสงค์จะแผ่ส่วนกุศลไปให้ตลอดจนถึงสรรพสัตว์ทั้งปวงเมื่อพระว่าจบ "ยะถา" ก็หยุดกรวดน้ำนั่งประนมมือฟังพระอนุโมทนาต่อไป สำหรับวิธีการรับประเคนของตามข้อค. ตามธรรมเนียมของแขกผู้ที่มาในงานอุปสมบทจะมีสิ่งของมาถวายพระบวชใหม่ด้วยเมื่อเสร็จพิธีบวชเป็นองค์พระแล้วพระบวชใหม่จะต้องออกมานั่งรับประเคนของถ้าผู้ถวายเป็นชายพระบวชใหม่ก็รับประเคนต่อเนื่องด้วยมือได้แต่ถ้าผู้ถวายเป็นหญิงจะรับประเคนต่อเนื่องด้วยมือมิได้วิธีรับต้องใช้ต่อเนื่องด้วยของแทนกายคือทอดผ้ากราบออกรับประเคนการจับผ้ากราบต้องจับด้วยมือทั้งสองให้วางนิ้วหัวแม่มือไว้บนผ้าส่วนอีก ๔ นิ้วให้สอดเข้าไว้ใต้ผ้าโดยวิธีหงายฝ่ามือทอดสายตาจับอยู่ที่ผ้ากราบเป็นการสำรวมอิริยาบถ ๓.ขอขมาเมื่อใกล้วันอุปสมบทนอกจากจะส่งบัตรลาอุปสมบทไปยังผู้ที่เคารพนับถือและผู้รู้จักมักคุ้นกันมาแล้วโดยมารยาทนิยมผู้ที่จะบวชต้องจัดดอกไม้ธูปเทียนใส่พานไปลาญาติพี่น้องและผู้ใ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
อุปสมบทพิธี
หัวเรื่อง: การอุปสมบท (บวชนาค) แม้จะไม่หาฤกษ์งามยามดี อะไรก็ได้เพราะเป็นการหวังเข้าหาความสงบไม่ปรารถนาจะได้ลาภยศเงินทองอย่างใด ส่วนเดือนไม่จำเป็นให้เป็นวันก่อน เข้าพรรษาก็แล้วกันอนึ่งเวลาของฤกษ์นั้นจะกำหนดมิได้เพราะบางวันมีนาค (ผู้บวช) พร้อม ๆ กันหลายนาคถึงจะกำหนด เวลาให้ไป ซึ่งสุดแท้ แต่ใครจะบวชก่อน บวชหลังและสุด แต่เวลาจะเร็วช้าปานใดจึงไม่มีการถือหาอะไรกันข้อสำคัญของการอุปสมบทคือการซ้อมคำขานนาคให้คล่องกับต้องมีอัฐบริขารให้ครบเวลานาคจะเข้าโบสถ์บิดา มารดาต้องจูงมือนาคโดยมารดาอยู่ทาง ขวาบิดาอยู่ทางซ้ายเท่ากับนำนาคไปถวายแก่พระไม่ใช่นาคจูงมือบิดามารดาไปสวรรค์ตามที่บางคนเข้าใจกันเวลาประเคนไตรให้นาคบิดามารดาต้องประเคนพร้อมกันบาตรก็เหมือนกันก่อนจะ ประเคนไตร ต้องบูชาเสียก่อน คือที่เรียกกันว่าวันสุกดิบนั้น เรียกว่า "ฉลองพระ" นับว่าเป็นงานที่ควรจักกระทำ เสมอไป จึงมักทำเป็นพิธีมโหฬารเต็มที่เช่นการ แห่แหนนาคไปบวช มักเริ่มบวชกันตั้งแต่เดือนที่ 4 เป็นต้นไปเพราะหมดกิจธุระทางบ้าน เช่นเสร็จกิจจากการทำไร่ทำนาแล้ว ก็มักเริ่มบวชกันตั้งแต่เดือน 7 ถึงเดือน 8 ก่อนวันเข้าพรรษา งานพิธีมงคลนี้มักทำกันเป็น 2 วันคือวันต้นเป็นวันสุกดิบ บิดามารดาหรือญาติผู้เป็นเจ้าภาพจด นับวันเดือนปีเกิดของผู้จะบวชแล้วพาตัวไปนมัสการพระอุปัชฌาย์ ณ วัดที่ประสงค์จะบวชขอความตกลงวันบวชแก่องค์อุปัชฌาย์ จำต้องเตรียมไว้ให้ครบ 8 อย่างดังนี้1. บาตร2. อันตรวาสก ได้แก่ ผ้าสบง3. อุตตราสงค์ ได้แก่ ผ้าจีวร4. สังฆาฏิ ได้แก่ ผ้าพาดบ่า (ห่มซ้อน) 5. กายพันธน์ ได้แก่ ผ้าประคดเอว5. ธัม มกรก ได้แก่ 8 อย่างนี้เป็นของที่จำเป็นจะขาด มิได้ส่วนเครื่องบริขารอื่น ๆ เช่นเสื่อที่นอนหมอนมุ้งแก้วน้ำกาต้มน้ำปิ่นโตย่ามร่มและรองเท้า ฯลฯ เหล่านี้ก็จัดหาตามควรแก่ฐานะ อธิษฐาน ยถา, สัพพี6 1 คำขอบรรพชาอุปสมบท (คำขานนาค) นั้นเป็นสิ่งสำคัญกว่าทั้งหมดผู้จะ บวชต้องท่องจำให้ได้ ต้องหัดว่า เพื่อความสะดวกไม่เคอะเขิน คือ: . ระเบียบวิธีกกราบข ก ต้องกราบตามแบบเบญจางคประดิษฐ์คือให้เข่า ทั้ง 2 จรดพื้นให้ฝ่ามือทั้ง 2 แผ่วางราบอยู่กับพื้นให้หน้าผาก จรดลงที่พื้นรวมเป็นองค์ 5 ควรกราบทอดลงไปเรียบๆพองาม ไม่โก่งตัวและไม่ทอดตัวลงไปเหมือนอย่างจะนอนระวังอย่าลุกลนหรือล่าช้าเกินไปพึงกราบให้เป็นจังหวะตั้งใจรำลึกถึงพุทธบูชาธรรมบูชาสังฆบูชา ข วิธีกรวดน้ำนั้นคำว่า "กรวดน้ำ" ให้แก่บรรดาผู้ที่ล่วงลับไปจึง ควรใช้น้ำที่สะอาดบริสุทธิ์ จะขาดความคารวะ "ยถาวาริวหา" จึงว่าคำกรวดน้ำ ตลอดจนถึงสรรพสัตว์ทั้งปวงเมื่อพระว่า จบ "ยะถา" ก็หยุดกรวดน้ำ ค จะมีสิ่งของมาถวายพระบวชใหม่ ด้วยเมื่อเสร็จพิธีบวชเป็นองค์พระแล้ว ถ้าผู้ถวายเป็นชาย แต่ถ้าผู้ถวายเป็นหญิงจะรับ ประเคนต่อเนื่องด้วยมือมิได้ คือทอดผ้ากราบออกรับประเคน ให้วางนิ้วหัวแม่มือไว้บนผ้าส่วน อีก 4 นิ้ว ทอดสายตาจับอยู่ที่ผ้ากราบ โดยมารยาทนิยม













































































การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: