แหล่งต้นตำรับอาหารเวียดนามในเมืองไทยวลัญช์ สุภากรภาพ : อนันต์ จันทรสูต การแปล - แหล่งต้นตำรับอาหารเวียดนามในเมืองไทยวลัญช์ สุภากรภาพ : อนันต์ จันทรสูต ไทย วิธีการพูด

แหล่งต้นตำรับอาหารเวียดนามในเมืองไท

แหล่งต้นตำรับอาหารเวียดนามในเมืองไทย
วลัญช์ สุภากร
ภาพ : อนันต์ จันทรสูตร

อาหารเวียดนาม เป็นอาหารประจำชาติอีกวัฒนธรรมหนึ่ง ที่นิยมถ่ายทอดในลักษณะพ่อครัวกับลูกมือเป็นการภายใน กังวาล เจริญศรี ผู้ช่วยเชฟ โรงแรมทริปเปิล ทู(222) สีลม บูติค กรุงเทพฯ ซึ่งเชี่ยวชาญการทำอาหารเวียดนาม กล่าวว่า ดูเหมือนทุกวันนี้ยังไม่มีสถาบันที่เปิดหลักสูตรสอนการเป็นพ่อครัวอาหารเวียดนามมืออาชีพสำหรับคนไทยที่อยากเป็นพ่อครัวอาหารเวียดนาม "ถ้าเราอยากเป็นพ่อครัวอาหารเวียดนาม ต้องไปดูตามร้านอาหารเวียดนาม เราต้องไปขอเป็นลูกจ้างหรือเป็นลูกมือในร้านอาหารเวียดนาม ถึงจะได้วิชา เท่าที่ได้ยินมาเป็นแบบนี้"

กล่าวได้ว่ากว่าจะเป็นพ่อครัวอาหารเวียดนามได้ก็ลำบาก คุณกังวาลเป็นพ่อครัวอาหารเวียดนามมานาน 3 ปี เริ่มต้นจากการเรียนรู้ "ทีละนิดทีละหน่อย" ที่ร้านอาหารในจังหวัดหนองคาย ซึ่งเป็นบ้านเกิดของเขา โดยเฉพาะที่ อำเภอท่าบ่อ ถือเป็นแหล่งผลิตวัตถุดิบสำคัญของการทำอาหารเวียดนามขนานแท้ในเมืองไทย เนื่องจากเป็นพื้นที่ ที่มีชาวเวียดนาม อพยพมาตั้งรกรากอยู่เป็นจำนวนมาก และสิ่งที่พวกเขานำติดตัวมาก็คือ วัฒนธรรมการทำอาหารเวียดนามแบบต้นตำรับ

"หมูยอ แป้งเปาะเปี๊ยะเวียดนามทั้งแบบทอดและแบบแป้งสดขึ้นชื่อที่สุดและส่งขายตามร้านอาหารเวียดนามทั่วกรุงเทพฯ และต่างประเทศ เส้นก๋วยจั๊บญวนที่เป็นเวียดนามแท้ๆ ล้วนมาจากอำเภอท่าบ่อ จังหวัดหนองคาย เชฟและนักชิมหลายท่านให้ความเห็นว่าถ้าอยากได้วัตถุดิบที่ดี-วัตถุดิบเวียดนามแท้ๆ ให้ไปหาที่ท่าบ่อ แหนมเนืองสูตรต้นตำรับก็มาจากหนองคายเหมือนกัน เนื่องจากมีคนญวนอยู่ที่นั่นเยอะมาก และผลิตสิ่งเหล่านี้ออกจำหน่าย" ผู้ช่วยเชฟกังวาล กล่าว

ที่คุณกังวาลบอกว่า 'เรียนรู้ทีละนิดทีละหน่อย' ก็เนื่องจากคนเวียดนามมักหวงสูตรอาหาร โดยเฉพาะการผลิตเส้นต่างๆ เช่น เส้นเฝอ เส้นก๋วยจั๊บญวน แป้งเปาะเปี๊ยะเวียดนาม เขาไม่ให้ดูขั้นตอนการทำ การผลิตก็ไม่ได้เปิดเป็นลักษณะโรงงานใหญ่ๆ แต่จะทำกันภายในบ้านและไม่ให้บุคคลภายนอกเข้าไปดู เป็นเรื่องค่อนข้างลำบากที่จะเข้าไปดูได้ ชาวหนองคายทั่วไปจะเห็นก็เมื่อออกมาเป็นเส้นสำเร็จรูปแล้ว ถ้าจะเห็นก็เห็นแค่ลักษณะการตากแป้งที่คนทำจะนำมาตากโดยพาดไว้บนตะแกรงยาวๆ

แต่เนื่องจากคุณกังวาลมีเพื่อนเป็นชาวเวียดนาม และบ้านเพื่อนคนนี้ก็เป็นบ้านที่ผลิตแป้งที่ใช้ทำเส้นต่างๆ ของอาหารเวียดนาม คุณกังวาลจึงมีโอกาสได้เข้าไปดูวิธีการทำบ้าง แต่เมื่อดูแล้วก็พบว่าในการทำแป้งของชาวเวียดนามนั้นมีเทคนิคมากมายและใช้เวลามาก เริ่มจากนำแป้งข้าวเหนียวมาใส่ส่วนผสมต่างๆ ที่เป็นสูตรเฉพาะของการทำแป้งเวียดนาม จากนั้นก็หมักแป้งข้ามวันข้ามคืนก่อนจะไปสู่ขั้นตอนอื่นๆ เช่น นำแป้งมารีด โรยแป้งให้เป็นเส้น หั่น ร่อนให้เป็นแผ่นบางๆ แล้วนำไปผึ่งอีกสองถึงสามวัน ทุกขั้นตอนล้วนทำด้วยมือ ด้วยเหตุนี้ร้านอาหารเวียดนามที่ต้องการให้บริการอาหารเวียดนามแท้ๆ จึงมักซื้อเส้นเวียดนามจาก อำเภอท่าบ่อ มากกว่าทำเอง เพื่อลดค่าใช้จ่ายและอาจไม่มีผู้เชี่ยวชาญพอที่จะทำเส้นเวียดนาม

เส้นเวียดนามแท้ๆ หลายคนเข้าใจผิดกันเยอะว่าต้องเป็นเส้นโตๆ กลมๆ ความจริงเส้นเวียดนามแท้ๆ มีลักษณะเป็นเส้นเล็กๆ กลม แต่ไม่เหมือนเส้นสปาเกตตี เนื่องจากตัวเส้นมีความหยักไม่เรียบ

เส้นเฝอมีส่วนคล้ายก๋วยเตี๋ยวเส้นเล็ก แต่คุณสมบัติต่างกัน ตรงที่เส้นเฝอมีความแข็งและหักง่าย ก่อนนำมารับประทานต้องแช่น้ำและลวกอีกครั้ง ซึ่งถ้าจะว่าไปแล้วที่อำเภอท่าบ่อ หาก๋วยเตี๋ยวกินยาก ร้านที่เปิดเหมือนร้านก๋วยเตี๋ยวมักเป็น 'เส้นเฝอ' ทั้งนั้น

ถึงไม่ได้วิชาทำแป้งมา แต่คุณกังวาลก็ได้ซึมซับและเรียนรู้เรื่องรสชาติอาหารเวียดนามที่เป็นต้นตำรับจากร้านอาหารเวียดนามในอำเภอท่าบ่อ มาปรับใช้ในการเป็นพ่อครัวอาหารเวียดนาม นักชิมอาหารเวียดนามจะรู้ว่า น้ำซุปเฝอ แตกต่างจาก "น้ำซุปก๋วยเตี๋ยว"

น้ำซุปเฝอหอมคนละอย่างกับน้ำซุปก๋วยเตี๋ยว ชาวเวียดนามปรุงความหวานของน้ำซุปเฝอด้วยไช้เท้าและแครอท เติมกลิ่นหอมสมุนไพรด้วยหอมแดงเผา อบเชย กระวาน และวิธีการทำน้ำซุปก็เน้นวิธีการทำเพื่อให้ได้น้ำซุปที่ใส น้ำซุปเฝอขนานแท้ของชาวเวียดนาม อพยพที่หนองคายใช้กระดูกซี่โครงวัวและหางวัวเผาไฟใส่น้ำตั้งไฟ ใช้ไฟอ่อนๆ เคี่ยวอย่างน้อย 5-6 ชั่วโมง ให้สารอาหารและกลิ่นหอมในซี่โครงและหางวัวค่อยๆ ละลายออกมาอยู่ในน้ำซุป แตกต่างจากการทำน้ำซุปก๋วยเตี๋ยวที่นิยมต้มน้ำซุปให้เดือด น้ำที่เดือดจัดจะผลักสารอาหารในซี่โครงออกมาอย่างรวดเร็วจนทำให้น้ำขุ่น ขณะที่น้ำซุปเฝอต้องใสแต่มีรสชาติ ส่วนก๋วยจั๊บเวียดนามนิยมใช้กระดูกไก่ในการทำน้ำซุป

เวียดนามถือว่า เฝอ เป็นสัญลักษณ์ของศิลปะการปรุงอาหารแบบเวียดนามที่นำเสนอให้โลกได้รู้จัก และในงานแถลงข่าว 'เฝอ:มรดกแห่งเวียดนาม' ซึ่งจัดโดยผู้แทนคณะกรรมาธิการยุโรปที่กรุงฮานอย ประเทศเวียดนาม เมื่อเดือนพ.ย.2545 มีการตั้งคำถามขึ้นมาเหมือนกันว่า อาหารประเภทเฝอเริ่มต้นขึ้นได้อย่างไร ซึ่งในงานนั้น นายเหงียน ดินห์ ราว (Nguyen Dinh Rao) ประธาน ยูเนสโก แกสโตรโนมี่ คลับ ในกรุงฮานอย วัย 70 ปีตอบคำถามนั้นว่า

"สถานที่ให้กำเนิดเฝอคือเมือง นัม ดินห์ (Nam Dinh) ซึ่งตั้งอยู่ทางตอนใต้ของปากแม่น้ำแดง (Red River) ในช่วงต้นศตวรรษที่ 20 เมื่อเขตอุตสาหกรรมสิ่งทอขนาดใหญ่ถูกตั้งขึ้นที่นั่น ด้วยประชากรของเมืองนัม ดินห์ ด้วยการขยายตัวของเมืองใหม่ จำนวนคนใช้แรงงานที่เพิ่มขึ้น พนักงานบริษัท เจ้าหน้าที่ทางการ ทหารฝรั่งเศส ทหารเวียดนาม กลุ่มคนเหล่านี้ต้องการอาหารที่ลดความเป็น 'พื้นบ้าน' ของอาหารประเภทซุปของชาวนาปากแม่น้ำแดงลงบ้าง และในที่สุดประชากรที่มีการผสมผสานกันทางวัฒนธรรมพื้นบ้านเวียดนามและยุโรปในช่วงเวลานั้นก็ได้ร่วมกันให้กำเนิดอาหารชื่อ เฝอ ขึ้นมา"

วิธีรับประทานเฝอให้อร่อยที่สุดคือ ควรรับประทานให้หมดภายใน 5 นาที เนื่องจากถ้าทิ้งให้เส้นเฝอแช่อยู่ในน้ำซุปร้อนๆ นานเกินไป เส้นเฝอจะพองตัว ทำให้เส้นเฝอสูญเสียผิวสัมผัสของเส้นอย่างที่เส้นเฝอควรจะเป็น ซึ่งลดทอนความอร่อย วิธีกินเฝอของชาวเวียดนามจึงนิยมยกชามเฝอขึ้นเสมอริมฝีปาก ใช้ตะเกียบพุ้ยเส้นเฝอเข้าปาก และใช้ "ช้อน" ตักน้ำซุปซด ช้อนที่ใช้ตักน้ำซุปเฝอควรเป็นช้อนกระเบื้องดินเผา ไม่แนะนำให้ใช้ช้อนโลหะ เนื่องจาก
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
แหล่งต้นตำรับอาหารเวียดนามในเมืองไทยวลัญช์สุภากรภาพ: อนันต์จันทรสูตรอาหารเวียดนามเป็นอาหารประจำชาติอีกวัฒนธรรมหนึ่งที่นิยมถ่ายทอดในลักษณะพ่อครัวกับลูกมือเป็นการภายในกังวาลเจริญศรีผู้ช่วยเชฟโรงแรมทริปเปิล ทู(222) สีลมบูติคกรุงเทพฯ ซึ่งเชี่ยวชาญการทำอาหารเวียดนามกล่าวว่าดูเหมือนทุกวันนี้ยังไม่มีสถาบันที่เปิดหลักสูตรสอนการเป็นพ่อครัวอาหารเวียดนามมืออาชีพสำหรับคนไทยที่อยากเป็นพ่อครัวอาหารเวียดนาม "ถ้าเราอยากเป็นพ่อครัวอาหารเวียดนามต้องไปดูตามร้านอาหารเวียดนามเราต้องไปขอเป็นลูกจ้างหรือเป็นลูกมือในร้านอาหารเวียดนามถึงจะได้วิชาเท่าที่ได้ยินมาเป็นแบบนี้"กล่าวได้ว่ากว่าจะเป็นพ่อครัวอาหารเวียดนามได้ก็ลำบากคุณกังวาลเป็นพ่อครัวอาหารเวียดนามมานาน 3 ปีเริ่มต้นจากการเรียนรู้ "ทีละนิดทีละหน่อย" ที่ร้านอาหารในจังหวัดหนองคายซึ่งเป็นบ้านเกิดของเขาโดยเฉพาะที่อำเภอท่าบ่อถือเป็นแหล่งผลิตวัตถุดิบสำคัญของการทำอาหารเวียดนามขนานแท้ในเมืองไทยเนื่องจากเป็นพื้นที่ที่มีชาวเวียดนามอพยพมาตั้งรกรากอยู่เป็นจำนวนมากและสิ่งที่พวกเขานำติดตัวมาก็คือวัฒนธรรมการทำอาหารเวียดนามแบบต้นตำรับ"หมูยอแป้งเปาะเปี๊ยะเวียดนามทั้งแบบทอดและแบบแป้งสดขึ้นชื่อที่สุดและส่งขายตามร้านอาหารเวียดนามทั่วกรุงเทพฯ และต่างประเทศเส้นก๋วยจั๊บญวนที่เป็นเวียดนามแท้ ๆ ล้วนมาจากอำเภอท่าบ่อจังหวัดหนองคายเชฟและนักชิมหลายท่านให้ความเห็นว่าถ้าอยากได้วัตถุดิบที่ดีวัตถุดิบเวียดนามแท้ ๆ ให้ไปหาที่ท่าบ่อแหนมเนืองสูตรต้นตำรับก็มาจากหนองคายเหมือนกันเนื่องจากมีคนญวนอยู่ที่นั่นเยอะมากและผลิตสิ่งเหล่านี้ออกจำหน่าย" ผู้ช่วยเชฟกังวาลกล่าวที่คุณกังวาลบอกว่า 'เรียนรู้ทีละนิดทีละหน่อย' ก็เนื่องจากคนเวียดนามมักหวงสูตรอาหารโดยเฉพาะการผลิตเส้นต่าง ๆ เช่นเส้นเฝอเส้นก๋วยจั๊บญวนแป้งเปาะเปี๊ยะเวียดนามเขาไม่ให้ดูขั้นตอนการทำการผลิตก็ไม่ได้เปิดเป็นลักษณะโรงงานใหญ่ ๆ แต่จะทำกันภายในบ้านและไม่ให้บุคคลภายนอกเข้าไปดูเป็นเรื่องค่อนข้างลำบากที่จะเข้าไปดูได้ชาวหนองคายทั่วไปจะเห็นก็เมื่อออกมาเป็นเส้นสำเร็จรูปแล้วถ้าจะเห็นก็เห็นแค่ลักษณะการตากแป้งที่คนทำจะนำมาตากโดยพาดไว้บนตะแกรงยาว ๆแต่เนื่องจากคุณกังวาลมีเพื่อนเป็นชาวเวียดนามและบ้านเพื่อนคนนี้ก็เป็นบ้านที่ผลิตแป้งที่ใช้ทำเส้นต่าง ๆ ของอาหารเวียดนามคุณกังวาลจึงมีโอกาสได้เข้าไปดูวิธีการทำบ้างแต่เมื่อดูแล้วก็พบว่าในการทำแป้งของชาวเวียดนามนั้นมีเทคนิคมากมายและใช้เวลามากเริ่มจากนำแป้งข้าวเหนียวมาใส่ส่วนผสมต่าง ๆ ที่เป็นสูตรเฉพาะของการทำแป้งเวียดนามจากนั้นก็หมักแป้งข้ามวันข้ามคืนก่อนจะไปสู่ขั้นตอนอื่น ๆ เช่นนำแป้งมารีดโรยแป้งให้เป็นเส้นหั่นร่อนให้เป็นแผ่นบาง ๆ แล้วนำไปผึ่งอีกสองถึงสามวันทุกขั้นตอนล้วนทำด้วยมือด้วยเหตุนี้ร้านอาหารเวียดนามที่ต้องการให้บริการอาหารเวียดนามแท้ ๆ จึงมักซื้อเส้นเวียดนามจากอำเภอท่าบ่อมากกว่าทำเองเพื่อลดค่าใช้จ่ายและอาจไม่มีผู้เชี่ยวชาญพอที่จะทำเส้นเวียดนามเส้นเวียดนามแท้ ๆ หลายคนเข้าใจผิดกันเยอะว่าต้องเป็นเส้นโต ๆ กลม ๆ ความจริงเส้นเวียดนามแท้ ๆ มีลักษณะเป็นเส้นเล็ก ๆ กลมแต่ไม่เหมือนเส้นสปาเกตตีเนื่องจากตัวเส้นมีความหยักไม่เรียบเส้นเฝอมีส่วนคล้ายก๋วยเตี๋ยวเส้นเล็กแต่คุณสมบัติต่างกันตรงที่เส้นเฝอมีความแข็งและหักง่ายก่อนนำมารับประทานต้องแช่น้ำและลวกอีกครั้งซึ่งถ้าจะว่าไปแล้วที่อำเภอท่าบ่อหาก๋วยเตี๋ยวกินยากร้านที่เปิดเหมือนร้านก๋วยเตี๋ยวมักเป็น 'เส้นเฝอ' ทั้งนั้นถึงไม่ได้วิชาทำแป้งมาแต่คุณกังวาลก็ได้ซึมซับและเรียนรู้เรื่องรสชาติอาหารเวียดนามที่เป็นต้นตำรับจากร้านอาหารเวียดนามในอำเภอท่าบ่อมาปรับใช้ในการเป็นพ่อครัวอาหารเวียดนามนักชิมอาหารเวียดนามจะรู้ว่าน้ำซุปเฝอแตกต่างจาก "น้ำซุปก๋วยเตี๋ยว"น้ำซุปเฝอหอมคนละอย่างกับน้ำซุปก๋วยเตี๋ยว ชาวเวียดนามปรุงความหวานของน้ำซุปเฝอด้วยไช้เท้าและแครอท เติมกลิ่นหอมสมุนไพรด้วยหอมแดงเผา อบเชย กระวาน และวิธีการทำน้ำซุปก็เน้นวิธีการทำเพื่อให้ได้น้ำซุปที่ใส น้ำซุปเฝอขนานแท้ของชาวเวียดนาม อพยพที่หนองคายใช้กระดูกซี่โครงวัวและหางวัวเผาไฟใส่น้ำตั้งไฟ ใช้ไฟอ่อนๆ เคี่ยวอย่างน้อย 5-6 ชั่วโมง ให้สารอาหารและกลิ่นหอมในซี่โครงและหางวัวค่อยๆ ละลายออกมาอยู่ในน้ำซุป แตกต่างจากการทำน้ำซุปก๋วยเตี๋ยวที่นิยมต้มน้ำซุปให้เดือด น้ำที่เดือดจัดจะผลักสารอาหารในซี่โครงออกมาอย่างรวดเร็วจนทำให้น้ำขุ่น ขณะที่น้ำซุปเฝอต้องใสแต่มีรสชาติ ส่วนก๋วยจั๊บเวียดนามนิยมใช้กระดูกไก่ในการทำน้ำซุปเวียดนามถือว่าเฝอเป็นสัญลักษณ์ของศิลปะการปรุงอาหารแบบเวียดนามที่นำเสนอให้โลกได้รู้จักและในงานแถลงข่าว 'เฝอ:มรดกแห่งเวียดนาม' ซึ่งจัดโดยผู้แทนคณะกรรมาธิการยุโรปที่กรุงฮานอยประเทศเวียดนาม เมื่อเดือนพ.ย.2545 มีการตั้งคำถามขึ้นมาเหมือนกันว่าอาหารประเภทเฝอเริ่มต้นขึ้นได้อย่างไรซึ่งในงานนั้นนายเหงียนดินห์ราว (เหงียน Dinh ราว) ประธานยูเนสโกแกสโตรโนมี่คลับในกรุงฮานอยวัย 70 ปีตอบคำถามนั้นว่า"สถานที่ให้กำเนิดเฝอคือเมืองนัมดินห์ (Nam Dinh) ซึ่งตั้งอยู่ทางตอนใต้ของปากแม่น้ำแดง (น้ำแดง) ในช่วงต้นศตวรรษที่ 20 เมื่อเขตอุตสาหกรรมสิ่งทอขนาดใหญ่ถูกตั้งขึ้นที่นั่นด้วยประชากรของเมืองนัมดินห์ด้วยการขยายตัวของเมืองใหม่จำนวนคนใช้แรงงานที่เพิ่มขึ้นพนักงานบริษัทเจ้าหน้าที่ทางการทหารฝรั่งเศสทหารเวียดนามกลุ่มคนเหล่านี้ต้องการอาหารที่ลดความเป็น 'พื้นบ้าน' ของอาหารประเภทซุปของชาวนาปากแม่น้ำแดงลงบ้างและในที่สุดประชากรที่มีการผสมผสานกันทางวัฒนธรรมพื้นบ้านเวียดนามและยุโรปในช่วงเวลานั้นก็ได้ร่วมกันให้กำเนิดอาหารชื่อเฝอขึ้นมา"วิธีรับประทานเฝอให้อร่อยที่สุดคือควรรับประทานให้หมดภายใน 5 นาทีเนื่องจากถ้าทิ้งให้เส้นเฝอแช่อยู่ในน้ำซุปร้อน ๆ นานเกินไปเส้นเฝอจะพองตัวทำให้เส้นเฝอสูญเสียผิวสัมผัสของเส้นอย่างที่เส้นเฝอควรจะเป็นซึ่งลดทอนความอร่อยวิธีกินเฝอของชาวเวียดนามจึงนิยมยกชามเฝอขึ้นเสมอริมฝีปากใช้ตะเกียบพุ้ยเส้นเฝอเข้าปากและใช้ "ช้อน" ตักน้ำซุปซดช้อนที่ใช้ตักน้ำซุปเฝอควรเป็นช้อนกระเบื้องดินเผาไม่แนะนำให้ใช้ช้อนโลหะเนื่องจาก
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!

สุภากร
ภาพ: อนันต์จันทรสูตรอาหารเวียดนาม กังวาลเจริญศรีผู้ช่วยเชฟโรงแรมทริปเปิลทู (222) สีลมบูติคกรุงเทพฯซึ่งเชี่ยวชาญการทำอาหารเวียดนามกล่าวว่า ต้องไปดูตามร้านอาหารเวียดนาม ถึงจะได้วิชา 3 ปีเริ่มต้นจากการเรียนรู้ "ทีละนิดทีละหน่อย" ที่ร้านอาหารในจังหวัดหนองคายซึ่งเป็นบ้านเกิดของเขาโดยเฉพาะที่อำเภอท่าบ่อ เนื่องจากเป็นพื้นที่ที่มีชาวเวียดนามอพยพมาตั้งรกรากอยู่เป็นจำนวนมากและสิ่งที่พวกเขานำติดตัวมาก็คือ และต่างประเทศ ล้วนมาจากอำเภอท่าบ่อจังหวัดหนองคาย ให้ไปหาที่ท่าบ่อ และผลิตสิ่งเหล่านี้ออกจำหน่าย "ผู้ช่วยเชฟกังวาลกล่าวที่คุณกังวาลบอกว่า 'เรียนรู้ทีละนิดทีละหน่อย' โดยเฉพาะการผลิตเส้นต่างๆเช่นเส้นเฝอเส้นก๋วยจั๊บญวนแป้งเปาะเปี๊ยะเวียดนามเขาไม่ให้ดูขั้นตอนการทำ ของอาหารเวียดนาม เช่นนำแป้งมารีดโรยแป้งให้เป็นเส้นหั่นร่อนให้เป็นแผ่นบาง ๆ แล้วนำไปผึ่งอีกสองถึงสามวันทุกขั้นตอนล้วนทำด้วยมือ จึงมักซื้อเส้นเวียดนามจากอำเภอท่าบ่อมากกว่าทำเอง กลมๆความจริงเส้นเวียดนามแท้ๆมีลักษณะเป็นเส้นเล็ก ๆ กลม แต่ไม่เหมือนเส้นสปาเกตตี แต่คุณสมบัติต่างกันตรงที่เส้นเฝอมีความแข็งและหักง่าย ซึ่งถ้าจะว่าไปแล้วที่อำเภอท่าบ่อหาก๋วยเตี๋ยวกินยาก 'เส้นเฝอ' ทั้งนั้นถึงไม่ได้วิชาทำแป้งมา นักชิมอาหารเวียดนามจะรู้ว่าน้ำซุปเฝอแตกต่างจาก เติมกลิ่นหอมสมุนไพรด้วยหอมแดงเผาอบเชยกระวาน น้ำซุปเฝอขนานแท้ของชาวเวียดนาม ใช้ไฟอ่อน ๆ เคี่ยวอย่างน้อย 5-6 ชั่วโมง ละลายออกมาอยู่ในน้ำซุป ขณะที่น้ำซุปเฝอต้องใส แต่มีรสชาติ เฝอ และในงานแถลงข่าว 'เฝอ: มรดกแห่งเวียดนาม' ประเทศเวียดนามเมื่อเดือนพ. ย. 2545 มีการตั้งคำถามขึ้นมาเหมือนกันว่า ซึ่งในงานนั้นนายเหงียนดินห์ราว (Nguyen Dinh ราว) ประธานยูเนสโกแกสโตรโนมี่คลับในกรุงฮานอยวัย 70 นัมดินห์ (น้ำ Dinh) (แม่น้ำแดง) ในช่วงต้นศตวรรษที่ 20 ด้วยประชากรของเมืองนัมดินห์ด้วยการขยายตัวของเมืองใหม่จำนวนคนใช้แรงงานที่เพิ่มขึ้นพนักงาน บริษัท เจ้าหน้าที่ทางการทหารฝรั่งเศสทหารเวียดนาม 'พื้นบ้าน' เฝอ ควรรับประทานให้หมดภายใน 5 นาที นานเกินไปเส้นเฝอจะพองตัว ซึ่งลดทอนความอร่อย ใช้ตะเกียบพุ้ยเส้นเฝอเข้าปากและใช้ "ช้อน" ตักน้ำซุปซด ไม่แนะนำให้ใช้ช้อนโลหะเนื่องจาก























การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
แหล่งต้นตำรับอาหารเวียดนามในเมืองไทย
วลัญช์สุภากรภาพอนันต์จันทรสูตร


:อาหารเวียดนามเป็นอาหารประจำชาติอีกวัฒนธรรมหนึ่งที่นิยมถ่ายทอดในลักษณะพ่อครัวกับลูกมือเป็นการภายในกังวาลเจริญศรีผู้ช่วยเชฟโรงแรมทริปเปิลทู ( 222 ) สีลมบูติคกรุงเทพฯซึ่งเชี่ยวชาญการทำอาหารเวียดนามดูเหมือนทุกวันนี้ยังไม่มีสถาบันที่เปิดหลักสูตรสอนการเป็นพ่อครัวอาหารเวียดนามมืออาชีพสำหรับคนไทยที่อยากเป็นพ่อครัวอาหารเวียดนาม " ถ้าเราอยากเป็นพ่อครัวอาหารเวียดนามต้องไปดูตามร้านอาหารเวียดนาม"
ถึงจะได้วิชาเท่าที่ได้ยินมาเป็นแบบนี้
กล่าวได้ว่ากว่าจะเป็นพ่อครัวอาหารเวียดนามได้ก็ลำบากคุณกังวาลเป็นพ่อครัวอาหารเวียดนามมานาน 3 . เริ่มต้นจากการเรียนรู้ " ทีละนิดทีละหน่อย " ที่ร้านอาหารในจังหวัดหนองคายซึ่งเป็นบ้านเกิดของเขาโดยเฉพาะที่ถือเป็นแหล่งผลิตวัตถุดิบสำคัญของการทำอาหารเวียดนามขนานแท้ในเมืองไทยเนื่องจากเป็นพื้นที่ที่มีชาวเวียดนามอพยพมาตั้งรกรากอยู่เป็นจำนวนมากและสิ่งที่พวกเขานำติดตัวมาก็คือ
" หมูยอแป้งเปาะเปี๊ยะเวียดนามทั้งแบบทอดและแบบแป้งสดขึ้นชื่อที่สุดและส่งขายตามร้านอาหารเวียดนามทั่วกรุงเทพฯและต่างประเทศเส้นก๋วยจั๊บญวนที่เป็นเวียดนามแท้ๆล้วนมาจากอำเภอท่าบ่อจังหวัดหนองคายให้ไปหาที่ท่าบ่อแหนมเนืองสูตรต้นตำรับก็มาจากหนองคายเหมือนกันเนื่องจากมีคนญวนอยู่ที่นั่นเยอะมากและผลิตสิ่งเหล่านี้ออกจำหน่าย " ผู้ช่วยเชฟกังวาลกล่าว

การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2025 I Love Translation. All reserved.

E-mail: