สมาคมป้องกันการทารุณกรรมสัตว์แห่งประเทศไทยเริ่มก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. การแปล - สมาคมป้องกันการทารุณกรรมสัตว์แห่งประเทศไทยเริ่มก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. ไทย วิธีการพูด

สมาคมป้องกันการทารุณกรรมสัตว์แห่งปร

สมาคมป้องกันการทารุณกรรมสัตว์แห่งประเทศไทยเริ่มก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2537 โดยเข้าร่วมเป็นภาคีสมาชิกกับราชสมาคมป้องกันการทารุณสัตว์แห่งประเทศอังกฤษ ซึ่งเป็นสมาคมที่รณรงค์ป้องกันและยุติการทารุณในสัตว์ในยุคแรกเมื่อปี พ.ศ.2368 และมีเครือข่ายในทั่วโลก ถือเป็นขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมที่สำคัญในการผลักดันด้านสิทธิและสวัสดิภาพให้กับสัตว์ในสังคมไทย ความสำเร็จที่เป็นรูปธรรมคือ การประสานพลังกับกลุ่มต่าง ๆ ของผู้รักสัตว์ ผลักดันในการช่วยเหลือ ปกป้องสัตว์จากความทรมานในรูปแบบต่าง ๆ และเพื่อรักษาศีลธรรมอันดีในตัวมนุษย์ ตลอดจนเข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมืองผลักดันนโยบายด้านสิทธิและการจัดสวัสดิภาพให้กับสัตว์เป็นผลสำเร็จ ออกมาเป็นพระราชบัญญัติป้องกันการทารุณกรรมและการจัดสวัสดิภาพสัตว์ พ.ศ. 2557 ถือเป็นหลักฐานชิ้นสำคัญในการรับรองสถานะของสัตว์ในสังคมไทยว่าเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีจิตใจไม่ต่างไปจากมนุษย์
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิเคราะห์สมาคมป้องกันการทารุณกรรมสัตว์แห่งประเทศไทยในฐานะองค์กรที่เป็นขบวนการเคลื่อนไหวสังคมเพื่อสิทธิและสวัสดิภาพสัตว์ในสังคมไทย ตั้งแต่แนวคิดการจัดตั้งสมาคม และแนวทางการรวบรวมเครือข่ายผู้รักสัตว์ต่าง ๆ เพื่อนประเมินยุทธศาสตร์ ยุทธวิธีของขบวนการและผลลัพธ์เชิงนโยบายในการผลักดันกฎหมาย ผ่านกรอบแนวคิดการเคลื่อนไหวสังคมแนวใหม่และการระดมทรัพยากร โดยใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ โดยตีความจากข้อมูลเอกสาร งานศึกษาในอดีต จากแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้ และการเก็บข้อมูลภาคสนามจากการสัมภาษณ์เชิงลึกกับสมาคมฯ โดยตรง
จาการศึกษาพบว่า สาเหตุการรวมตัวของเครือข่ายผู้รักสัตว์ในประเทศไทย โดยเฉพาะสมาคมป้องกันการทารุณสัตว์แห่งประเทศไทย มาจากสถานการณ์ด้านการทารุณสัตว์ในประเทศมีความรุนแรงทั้งจากมุมมองของคนในประเทศเองเห็นได้จากสื่อต่าง ๆ และจากการกดดันจากต่างประเทศ ทั้งจากแรงกดดันโดยตรงและแรงกดดันทางอ้อม โดยอ้างเหตุผลด้านเศรษฐกิจและการค้า ถึงแม้ประเทศไทยเป็นเมืองพุทธมีแนวทางปฏิบัติที่ดีต่อสัตว์ด้วยความเมตตาและมีความเชื่อในกฎแห่งกรรม แต่หลักดังกล่าวมิได้ทำให้การใช้ประโยชน์จากสัตว์ลดลง ประกอบกับมาตรการทางกฎหมายในประเทศที่ผ่านมา มิได้ตระหนักถึงความสำคัญของสัตว์ในฐานะสิ่งมีชีวิตที่มีความรู้สึกและเป็นส่วนหนึ่งที่สำคัญต่อระบบนิเวศ TSPCA จึงได้รวมกลุ่มเครือข่ายผู้รักสัตว์ต่าง ๆ เข้าสู่กระบวนการทางการเมือง ผลักดันทางด้านกฎหมายให้เป็นรูปธรรม ด้วยความหวังว่าจะลดการทารุณกรรมในสัตว์ลงและฟื้นฟูศีลธรรมจริยธรรมอันดีในมนุษย์กลับคืนมา โดยจะเป็นประโยชน์แก่โลกธรรมชาติอย่างแท้จริง
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
สมาคมป้องกันการทารุณกรรมสัตว์แห่งประเทศไทยเริ่มก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2537 โดยเข้าร่วมเป็นภาคีสมาชิกกับราชสมาคมป้องกันการทารุณสัตว์แห่งประเทศอังกฤษซึ่งเป็นสมาคมที่รณรงค์ป้องกันและยุติการทารุณในสัตว์ในยุคแรกเมื่อปี พ.ศ.2368 และมีเครือข่ายในทั่วโลกถือเป็นขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมที่สำคัญในการผลักดันด้านสิทธิและสวัสดิภาพให้กับสัตว์ในสังคมไทยความสำเร็จที่เป็นรูปธรรมคือการประสานพลังกับกลุ่มต่างๆ ของผู้รักสัตว์ผลักดันในการช่วยเหลือปกป้องสัตว์จากความทรมานในรูปแบบต่างๆ และเพื่อรักษาศีลธรรมอันดีในตัวมนุษย์ตลอดจนเข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมืองผลักดันนโยบายด้านสิทธิและการจัดสวัสดิภาพให้กับสัตว์เป็นผลสำเร็จออกมาเป็นพระราชบัญญัติป้องกันการทารุณกรรมและการจัดสวัสดิภาพสัตว์พ.ศ. 2557 ถือเป็นหลักฐานชิ้นสำคัญในการรับรองสถานะของสัตว์ในสังคมไทยว่าเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีจิตใจไม่ต่างไปจากมนุษย์การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิเคราะห์สมาคมป้องกันการทารุณกรรมสัตว์แห่งประเทศไทยในฐานะองค์กรที่เป็นขบวนการเคลื่อนไหวสังคมเพื่อสิทธิและสวัสดิภาพสัตว์ในสังคมไทยตั้งแต่แนวคิดการจัดตั้งสมาคมและแนวทางการรวบรวมเครือข่ายผู้รักสัตว์ต่างๆ เพื่อนประเมินยุทธศาสตร์ยุทธวิธีของขบวนการและผลลัพธ์เชิงนโยบายในการผลักดันกฎหมายผ่านกรอบแนวคิดการเคลื่อนไหวสังคมแนวใหม่และการระดมทรัพยากรโดยใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพโดยตีความจากข้อมูลเอกสารงานศึกษาในอดีตจากแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้และการเก็บข้อมูลภาคสนามจากการสัมภาษณ์เชิงลึกกับสมาคมฯ โดยตรงจาการศึกษาพบว่า สาเหตุการรวมตัวของเครือข่ายผู้รักสัตว์ในประเทศไทย โดยเฉพาะสมาคมป้องกันการทารุณสัตว์แห่งประเทศไทย มาจากสถานการณ์ด้านการทารุณสัตว์ในประเทศมีความรุนแรงทั้งจากมุมมองของคนในประเทศเองเห็นได้จากสื่อต่าง ๆ และจากการกดดันจากต่างประเทศ ทั้งจากแรงกดดันโดยตรงและแรงกดดันทางอ้อม โดยอ้างเหตุผลด้านเศรษฐกิจและการค้า ถึงแม้ประเทศไทยเป็นเมืองพุทธมีแนวทางปฏิบัติที่ดีต่อสัตว์ด้วยความเมตตาและมีความเชื่อในกฎแห่งกรรม แต่หลักดังกล่าวมิได้ทำให้การใช้ประโยชน์จากสัตว์ลดลง ประกอบกับมาตรการทางกฎหมายในประเทศที่ผ่านมา มิได้ตระหนักถึงความสำคัญของสัตว์ในฐานะสิ่งมีชีวิตที่มีความรู้สึกและเป็นส่วนหนึ่งที่สำคัญต่อระบบนิเวศ TSPCA จึงได้รวมกลุ่มเครือข่ายผู้รักสัตว์ต่าง ๆ เข้าสู่กระบวนการทางการเมือง ผลักดันทางด้านกฎหมายให้เป็นรูปธรรม ด้วยความหวังว่าจะลดการทารุณกรรมในสัตว์ลงและฟื้นฟูศีลธรรมจริยธรรมอันดีในมนุษย์กลับคืนมา โดยจะเป็นประโยชน์แก่โลกธรรมชาติอย่างแท้จริง
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
พ.ศ. 2537 พ.ศ. 2368 และมีเครือข่ายในทั่วโลก ความสำเร็จที่เป็นรูปธรรมคือการประสาน พลังกับกลุ่มต่าง ๆ ของผู้รักสัตว์ผลักดันในการช่วยเหลือ ๆ พ.ศ. 2557
ตั้งแต่แนวคิดการจัดตั้งสมาคม ๆ เพื่อนประเมินยุทธศาสตร์ โดยใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพโดยตีความ จากข้อมูลเอกสารงานศึกษาในอดีตจากแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้ โดยตรง
จาหัวเรื่อง: การศึกษาเป็นพบว่าได้ ๆ และจากการกดดันจากต่างประเทศ TSPCA ๆ เข้าสู่กระบวนการทางการเมือง
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
สมาคมป้องกันการทารุณกรรมสัตว์แห่งประเทศไทยเริ่มก่อตั้งขึ้นเมื่อปีพ . ศ . 2537 โดยเข้าร่วมเป็นภาคีสมาชิกกับราชสมาคมป้องกันการทารุณสัตว์แห่งประเทศอังกฤษซึ่งเป็นสมาคมที่รณรงค์ป้องกันและยุติการทารุณในสัตว์ในยุคแรกเมื่อปีพ . ศ 2368 และมีเครือข่ายในทั่วโลกถือเป็นขบวนกา . รเคลื่อนไหวทางสังคมที่สำคัญในการผลักดันด้านสิทธิและสวัสดิภาพให้กับสัตว์ในสังคมไทยความสำเร็จที่เป็นรูปธรรมคือการประสานพลังกับกลุ่มต่างจะของผู้รักสัตว์ผลักดันในการช่วยเหลือปกป้องสัตว์จากความทรมานในรูปแบบต่างจะและเพื่อรักษาศีลธรรมอันดีในตัวมนุษย์ตลอดจ นเข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมืองผลักดันนโยบายด้านสิทธิและการจัดสวัสดิภาพให้กับสัตว์เป็นผลสำเร็จออกมาเป็นพระราชบัญญัติป้องกันการทารุณกรรมและการจัดสวัสดิภาพสัตว์พ . ศ . 2557 ถือเป็นหลักฐานชิ้นสำคัญในการรับรองสถานะของสัตว์ในสังคมไทยว่าเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีจิตใจไม่ต่างไปจากมนุษย์การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิเคราะห์สมาคมป้องกันการทารุณกรรมสัตว์แห่งประเทศไทยในฐานะองค์กรที่เป็นขบวนการเคลื่อนไหวสังคมเพื่อสิทธิและสวัสดิภาพสัตว์ในสังคมไทยตั้งแต่แนวคิดการจัดตั้งสมาคมและแนวทางการรวบรวมเครือข่ายผู้รักสัตว์ต่างจะเพื่อนปร ะเมินยุทธศาสตร์ยุทธวิธีของขบวนการและผลลัพธ์เชิงนโยบายในการผลักดันกฎหมายผ่านกรอบแนวคิดการเคลื่อนไหวสังคมแนวใหม่และการระดมทรัพยากรโดยใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพโดยตีความจากข้อมูลเอกสารงานศึกษาในอดีตจากแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้และการเก็บข้อมูลภาคสนามจากกา รสัมภาษณ์เชิงลึกกับสมาคมฯโดยตรงจาการศึกษาพบว่าสาเหตุการรวมตัวของเครือข่ายผู้รักสัตว์ในประเทศไทยโดยเฉพาะสมาคมป้องกันการทารุณสัตว์แห่งประเทศไทยมาจากสถานการณ์ด้านการทารุณสัตว์ในประเทศมีความรุนแรงทั้งจากมุมมองของคนในประเทศเองเห็นได้จากสื่อต่างจะและจากการกดดันจากต่างประเทศทั้งจากแรงก ดดันโดยตรงและแรงกดดันทางอ้อมโดยอ้างเหตุผลด้านเศรษฐกิจและการค้าถึงแม้ประเทศไทยเป็นเมืองพุทธมีแนวทางปฏิบัติที่ดีต่อสัตว์ด้วยคว
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: