ประเพณีการรับประทานอาหารของคนไทยสมัยโบราณ ครอบครัวไทยนั่งรับประทานอาหา การแปล - ประเพณีการรับประทานอาหารของคนไทยสมัยโบราณ ครอบครัวไทยนั่งรับประทานอาหา ไทย วิธีการพูด

ประเพณีการรับประทานอาหารของคนไทยสมั

ประเพณีการรับประทานอาหารของคนไทย

สมัยโบราณ ครอบครัวไทยนั่งรับประทานอาหารกับพื้น ใช้ผ้าสะอาดหรือเสื่อปูลาดบนพื้นบ้าน ผู้ที่จะรับประทานนั่งล้อมวงกัน ตักข้าวจากโถใส่จานอาหาร จัดมาเป็นสำรับ วางสำรับไว้ตรงกลางวง มีช้อนกลางสำหรับตักกับข้าว ใส่จานของตน และเปิบอาหารด้วยมือ บางบ้านจะมีขันหรือจอกตักน้ำ และกระโถนเตรียมไว้ เพื่อรองน้ำล้างมือด้วย

ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประเทศไทยได้ติดต่อกับประเทศทางซีกโลกตะวันตกมากยิ่งขึ้น วัฒนธรรมตะวันตกได้แพร่เข้ามา ทำให้วิธีรับประทานอาหารของคนไทยเปลี่ยนไป โดยดัดแปลงให้เหมาะสมกับอาหารไทย เช่น ใช้ช้อนส้อมแทนมีดและส้อมแบบตะวันตก เป็นต้น การนั่งรับประทานอาหารกับพื้นก็เลิกไป เปลี่ยนมาเป็นนั่งรับประทานอาหารกับโต๊ะแทน แต่ยังคงวางอาหารทุกอย่างไว้กลางโต๊ะ มีช้อนกลางสำหรับตักอาหาร และมีถ้วยเล็กๆ สำหรับผู้ร่วมวงแต่ละคน เพื่อใส่กับข้าวที่แบ่งจากกลางวง เมื่อรับประทานอาหารคาวเสร็จแล้ว ก็จะถอนของคาวออกหมด และแจกของหวาน สำหรับทุกคนต่อไป

การรับประทานอาหารของคนไทยภาคต่างๆ

ภาคกลาง

ในประเทศไทย ภาคกลางนับว่า เป็นภาคที่มีความเจริญรุ่งเรืองสูงสุดในทุกๆ ด้าน เป็นแหล่งให้ความรู้ และวิทยาการที่ทันสมัยที่สุด โดยเฉพาะอย่างยิ่งเป็นที่รวมของวัฒนธรรม และความก้าวหน้าของประชาชนในประเทศ

คนไทยภาคกลางนิยมกินอาหารด้วยช้อน ส้อม และใช้ช้อนกลางสำหรับตักอาหาร ในครอบครัวที่มีฐานะร่ำรวย ก็นิยมมีผ้าเช็ดปากวางอยู่บนโต๊ะ อาจจะพับแบบธรรมดา หรือพับเป็นรูปต่างๆ ก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความมีระเบียบแบบแผน ที่สืบทอดกันมาของบุคคลในตระกูลนั้นๆ การจัดอาหารบนโต๊ะ บางบ้านจะวางไว้หมดทุกอย่าง เพียงแต่มีผู้เสิร์ฟคอยเติมอาหารที่หมด และในบางบ้านอาจมีคนคอยเสิร์ฟอาหารยืนระวังอยู่ข้างๆ โต๊ะ พร้อมที่จะเสิร์ฟอาหาร น้ำ และเติมอาหารด้วย สำหรับครอบครัวที่มีฐานะปานกลาง ไม่มีผู้เสิร์ฟ แต่จะกินอาหารบนโต๊ะด้วยช้อนส้อม และใช้ช้อนกลาง ถ้าเป็นครอบครัวที่มีฐานะยากจน อย่างน้อยที่สุด ก็กินอาหารด้วยช้อน ไม่มีช้อนกลาง

ภาคใต้

แต่เดิมคนไทยในภาคใต้นิยมนั่งรับประทานอาหารกับพื้น โดยปูเสื่อบนพื้นบ้าน แล้วตักอาหารใส่ถ้วย วางลงไปเป็นวงกลม ผู้รับประทานเปิบข้าวกับอาหารด้วยมือ อิ่มแล้วดื่มน้ำด้วยขันหรือจอก แต่ปัจจุบันนี้ คนไทยในภาคใต้ส่วนใหญ่หันมารับประทานอาหารกันด้วยช้อนส้อม และนั่งเก้าอี้กันแล้ว คงมีบางส่วนยังคงรักษาเอกลักษณ์นั่งกับพื้น กับเปิบข้าวด้วยมืออยู่

ภาคเหนือ

คนไทยในภาคเหนือส่วนใหญ่ ยังคงรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีอย่างเคร่งครัด ด้วยการจัดอาหารใส่ถ้วยเล็กๆ วางลงไปบนโตก ลักษณะโตกอาจทำด้วยไม้ มุก หรือทองเหลือง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับเศรษฐกิจของเจ้าของบ้าน เรียกว่า สำรับอาหารคาว ข้างโตกยังมีข้าวเหนียว ใส่ในกระติบทรงสูง ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของภาค เหนือ นอกโตกยังมีคนโทดินใส่น้ำเย็น มีขันเงิน สำหรับใส่น้ำดื่ม หลังอาหารคาว จะมีโตกอาหารว่างตามมา แล้วต่อด้วยบุหรี่พื้นเมือง คือ บุหรี่ไชโย จึงนับว่า เสร็จจากการรับประทานอาหารในมื้อนั้น

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

คนไทยในภาคนี้ ส่วนใหญ่ยังคงนิยมจัดอาหารใส่ถาดสังกะสี ซึ่งมีลายเป็นดอกโตๆ ตักอาหารใส่ถ้วยวางลงบนถาด แล้วรับประทานพร้อมข้าวเหนียวในกระติบทรงเตี้ย อันเป็นสัญลักษณ์ของคนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีอาหารหวานรอเสิร์ฟอยู่ข้างๆ ขนมที่นิยมทำคือ ขนมพื้นเมืองชื่อ ข้าวเหนียวหัวหงอก นางเล็ด เป็นต้น
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ประเพณีการรับประทานอาหารของคนไทยสมัยโบราณครอบครัวไทยนั่งรับประทานอาหารกับพื้นใช้ผ้าสะอาดหรือเสื่อปูลาดบนพื้นบ้านผู้ที่จะรับประทานนั่งล้อมวงกันตักข้าวจากโถใส่จานอาหารจัดมาเป็นสำรับวางสำรับไว้ตรงกลางวงมีช้อนกลางสำหรับตักกับข้าวใส่จานของตนและเปิบอาหารด้วยมือบางบ้านจะมีขันหรือจอกตักน้ำและกระโถนเตรียมไว้เพื่อรองน้ำล้างมือด้วยในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวประเทศไทยได้ติดต่อกับประเทศทางซีกโลกตะวันตกมากยิ่งขึ้นวัฒนธรรมตะวันตกได้แพร่เข้ามาทำให้วิธีรับประทานอาหารของคนไทยเปลี่ยนไปโดยดัดแปลงให้เหมาะสมกับอาหารไทยเช่นใช้ช้อนส้อมแทนมีดและส้อมแบบตะวันตกเป็นต้นการนั่งรับประทานอาหารกับพื้นก็เลิกไปเปลี่ยนมาเป็นนั่งรับประทานอาหารกับโต๊ะแทนแต่ยังคงวางอาหารทุกอย่างไว้กลางโต๊ะมีช้อนกลางสำหรับตักอาหารและมีถ้วยเล็ก ๆ สำหรับผู้ร่วมวงแต่ละคนเพื่อใส่กับข้าวที่แบ่งจากกลางวงเมื่อรับประทานอาหารคาวเสร็จแล้วก็จะถอนของคาวออกหมดและแจกของหวานสำหรับทุกคนต่อไปการรับประทานอาหารของคนไทยภาคต่าง ๆภาคกลาง ในประเทศไทยภาคกลางนับว่าเป็นภาคที่มีความเจริญรุ่งเรืองสูงสุดในทุก ๆ ด้านเป็นแหล่งให้ความรู้และวิทยาการที่ทันสมัยที่สุดโดยเฉพาะอย่างยิ่งเป็นที่รวมของวัฒนธรรมและความก้าวหน้าของประชาชนในประเทศคนไทยภาคกลางนิยมกินอาหารด้วยช้อนส้อมและใช้ช้อนกลางสำหรับตักอาหารในครอบครัวที่มีฐานะร่ำรวยก็นิยมมีผ้าเช็ดปากวางอยู่บนโต๊ะอาจจะพับแบบธรรมดาหรือพับเป็นรูปต่าง ๆ ก็ได้ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความมีระเบียบแบบแผนที่สืบทอดกันมาของบุคคลในตระกูลนั้น ๆ การจัดอาหารบนโต๊ะบางบ้านจะวางไว้หมดทุกอย่างเพียงแต่มีผู้เสิร์ฟคอยเติมอาหารที่หมดและในบางบ้านอาจมีคนคอยเสิร์ฟอาหารยืนระวังอยู่ข้าง ๆ โต๊ะพร้อมที่จะเสิร์ฟอาหารน้ำและเติมอาหารด้วยสำหรับครอบครัวที่มีฐานะปานกลางไม่มีผู้เสิร์ฟแต่จะกินอาหารบนโต๊ะด้วยช้อนส้อมและใช้ช้อนกลางถ้าเป็นครอบครัวที่มีฐานะยากจนอย่างน้อยที่สุดก็กินอาหารด้วยช้อนไม่มีช้อนกลางภาคใต้ แต่เดิมคนไทยในภาคใต้นิยมนั่งรับประทานอาหารกับพื้นโดยปูเสื่อบนพื้นบ้านแล้วตักอาหารใส่ถ้วยวางลงไปเป็นวงกลมผู้รับประทานเปิบข้าวกับอาหารด้วยมืออิ่มแล้วดื่มน้ำด้วยขันหรือจอกแต่ปัจจุบันนี้คนไทยในภาคใต้ส่วนใหญ่หันมารับประทานอาหารกันด้วยช้อนส้อมและนั่งเก้าอี้กันแล้วคงมีบางส่วนยังคงรักษาเอกลักษณ์นั่งกับพื้นกับเปิบข้าวด้วยมืออยู่ ภาคเหนือ คนไทยในภาคเหนือส่วนใหญ่ยังคงรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีอย่างเคร่งครัดด้วยการจัดอาหารใส่ถ้วยเล็ก ๆ วางลงไปบนโตกลักษณะโตกอาจทำด้วยไม้มุกหรือทองเหลืองทั้งนี้ขึ้นอยู่กับเศรษฐกิจของเจ้าของบ้านเรียกว่าสำรับอาหารคาวข้างโตกยังมีข้าวเหนียวใส่ในกระติบทรงสูงซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของภาคเหนือนอกโตกยังมีคนโทดินใส่น้ำเย็นมีขันเงินสำหรับใส่น้ำดื่มหลังอาหารคาวจะมีโตกอาหารว่างตามมาแล้วต่อด้วยบุหรี่พื้นเมืองคือบุหรี่ไชโยจึงนับว่าเสร็จจากการรับประทานอาหารในมื้อนั้น ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คนไทยในภาคนี้ส่วนใหญ่ยังคงนิยมจัดอาหารใส่ถาดสังกะสีซึ่งมีลายเป็นดอกโต ๆ ตักอาหารใส่ถ้วยวางลงบนถาดแล้วรับประทานพร้อมข้าวเหนียวในกระติบทรงเตี้ยอันเป็นสัญลักษณ์ของคนภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีอาหารหวานรอเสิร์ฟอยู่ข้าง ๆ ขนมที่นิยมทำคือขนมพื้นเมืองชื่อข้าวเหนียวหัวหงอกนางเล็ดเป็นต้น
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ผู้ที่จะรับประทานนั่งล้อมวงกันตักข้าวจากโถใส่จานอาหารจัดมาเป็นสำรับวางสำรับไว้ตรงกลางวงมีช้อนกลางสำหรับตักกับข้าวใส่จานของตนและเปิบอาหารด้วยมือบางบ้านจะมีขันหรือจอกตักน้ำและกระโถน เตรียมไว้ วัฒนธรรมตะวันตกได้แพร่เข้ามา โดยดัดแปลงให้เหมาะสมกับอาหารไทยเช่น เป็นต้น มีช้อนกลางสำหรับตักอาหารและมีถ้วยเล็ก ๆ สำหรับผู้ร่วมวงแต่ละคนเพื่อใส่กับข้าวที่แบ่งจากกลางวงเมื่อรับประทานอาหารคาวเสร็จแล้วก็จะถอนของคาวออกหมดและแจกของหวาน ภาคกลางนับว่า ด้านเป็นแหล่งให้ความรู้และวิทยาการที่ทันสมัยที่สุด ส้อมและใช้ช้อนกลางสำหรับตักอาหารในครอบครัวที่มีฐานะร่ำรวยก็นิยมมีผ้าเช็ดปากวางอยู่บนโต๊ะอาจจะพับแบบธรรมดาหรือพับเป็นรูปต่างๆก็ได้ การจัดอาหารบนโต๊ะบางบ้านจะวางไว้หมดทุกอย่าง โต๊ะพร้อมที่จะเสิร์ฟอาหารน้ำและเติมอาหารด้วยสำหรับครอบครัวที่มีฐานะปานกลางไม่มีผู้เสิร์ฟ แต่จะกินอาหารบนโต๊ะด้วยช้อนส้อมและใช้ช้อนกลางถ้าเป็นครอบครัวที่มีฐานะยากจนอย่างน้อยที่สุดก็กินอาหารด้วยช้อน โดยปูเสื่อบนพื้นบ้านแล้วตักอาหารใส่ถ้วยวางลงไปเป็นวงกลม อิ่มแล้วดื่มน้ำด้วยขันหรือจอก แต่ปัจจุบันนี้ และนั่งเก้าอี้กันแล้ว ด้วยการจัดอาหารใส่ถ้วยเล็ก ๆ วางลงไปบนโตกลักษณะโตกอาจทำด้วยไม้มุกหรือทองเหลือง เรียกว่าสำรับอาหารคาวข้างโตกยังมีข้าวเหนียวใส่ในกระติบทรงสูงซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของภาคเหนือนอกโตกยังมีคนโทดินใส่น้ำเย็นมีขันเงินสำหรับใส่น้ำดื่มหลังอาหารคาวจะมีโตกอาหารว่างตามมา แล้วต่อด้วยบุหรี่พื้นเมืองคือบุหรี่ไชโยจึงนับว่า ซึ่งมีลายเป็นดอกโต ๆ ตักอาหารใส่ถ้วยวางลงบนถาด มีอาหารหวานรอเสิร์ฟอยู่ข้างๆขนมที่นิยมทำคือขนมพื้นเมืองชื่อข้าวเหนียวหัวหงอกนางเล็ดเป็นต้น























การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ประเพณีการรับประทานอาหารของคนไทย

สมัยโบราณครอบครัวไทยนั่งรับประทานอาหารกับพื้นใช้ผ้าสะอาดหรือเสื่อปูลาดบนพื้นบ้านผู้ที่จะรับประทานนั่งล้อมวงกันตักข้าวจากโถใส่จานอาหารจัดมาเป็นสำรับวางสำรับไว้ตรงกลางวงมีช้อนกลางสำหรับตักกับข้าวและเปิบอาหารด้วยมือบางบ้านจะมีขันหรือจอกตักน้ำและกระโถนเตรียมไว้เพื่อรองน้ำล้างมือด้วย

ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวประเทศไทยได้ติดต่อกับประเทศทางซีกโลกตะวันตกมากยิ่งขึ้นวัฒนธรรมตะวันตกได้แพร่เข้ามาทำให้วิธีรับประทานอาหารของคนไทยเปลี่ยนไปโดยดัดแปลงให้เหมาะสมกับอาหารไทยใช้ช้อนส้อมแทนมีดและส้อมแบบตะวันตกเป็นต้นการนั่งรับประทานอาหารกับพื้นก็เลิกไปเปลี่ยนมาเป็นนั่งรับประทานอาหารกับโต๊ะแทนแต่ยังคงวางอาหารทุกอย่างไว้กลางโต๊ะมีช้อนกลางสำหรับตักอาหารและมีถ้วยเล็กๆเพื่อใส่กับข้าวที่แบ่งจากกลางวงเมื่อรับประทานอาหารคาวเสร็จแล้วก็จะถอนของคาวออกหมดและแจกของหวานสำหรับทุกคนต่อไป





การรับประทานอาหารของคนไทยภาคต่างๆภาคกลางในประเทศไทยภาคกลางนับว่าเป็นภาคที่มีความเจริญรุ่งเรืองสูงสุดในทุกๆด้านเป็นแหล่งให้ความรู้และวิทยาการที่ทันสมัยที่สุดโดยเฉพาะอย่างยิ่งเป็นที่รวมของวัฒนธรรมและความก้าวหน้าของประชาชนในประเทศ

คนไทยภาคกลางนิยมกินอาหารด้วยช้อนส้อมและใช้ช้อนกลางสำหรับตักอาหารในครอบครัวที่มีฐานะร่ำรวยก็นิยมมีผ้าเช็ดปากวางอยู่บนโต๊ะอาจจะพับแบบธรรมดาหรือพับเป็นรูปต่างๆก็ได้ที่สืบทอดกันมาของบุคคลในตระกูลนั้นๆการจัดอาหารบนโต๊ะบางบ้านจะวางไว้หมดทุกอย่างเพียงแต่มีผู้เสิร์ฟคอยเติมอาหารที่หมดและในบางบ้านอาจมีคนคอยเสิร์ฟอาหารยืนระวังอยู่ข้างๆโต๊ะพร้อมที่จะเสิร์ฟอาหาร a rescueสำหรับครอบครัวที่มีฐานะปานกลางไม่มีผู้เสิร์ฟแต่จะกินอาหารบนโต๊ะด้วยช้อนส้อมและใช้ช้อนกลางถ้าเป็นครอบครัวที่มีฐานะยากจนอย่างน้อยที่สุดก็กินอาหารด้วยช้อนไม่มีช้อนกลาง



ภาคใต้แต่เดิมคนไทยในภาคใต้นิยมนั่งรับประทานอาหารกับพื้นโดยปูเสื่อบนพื้นบ้านแล้วตักอาหารใส่ถ้วยวางลงไปเป็นวงกลมผู้รับประทานเปิบข้าวกับอาหารด้วยมืออิ่มแล้วดื่มน้ำด้วยขันหรือจอกแต่ปัจจุบันนี้และนั่งเก้าอี้กันแล้วคงมีบางส่วนยังคงรักษาเอกลักษณ์นั่งกับพื้นกับเปิบข้าวด้วยมืออยู่



ภาคเหนือคนไทยในภาคเหนือส่วนใหญ่ยังคงรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีอย่างเคร่งครัดด้วยการจัดอาหารใส่ถ้วยเล็กๆวางลงไปบนโตกลักษณะโตกอาจทำด้วยไม้มุกหรือทองเหลืองทั้งนี้ขึ้นอยู่กับเศรษฐกิจของเจ้าของบ้านเรียกว่าข้างโตกยังมีข้าวเหนียวใส่ในกระติบทรงสูงซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของภาคเหนือนอกโตกยังมีคนโทดินใส่น้ำเย็นมีขันเงินสำหรับใส่น้ำดื่มหลังอาหารคาวจะมีโตกอาหารว่างตามมาแล้วต่อด้วยบุหรี่พื้นเมืองความบุหรี่ไชโยเสร็จจากการรับประทานอาหารในมื้อนั้น



ภาคตะวันออกเฉียงเหนือคนไทยในภาคนี้ส่วนใหญ่ยังคงนิยมจัดอาหารใส่ถาดสังกะสีซึ่งมีลายเป็นดอกโตๆตักอาหารใส่ถ้วยวางลงบนถาดแล้วรับประทานพร้อมข้าวเหนียวในกระติบทรงเตี้ยอันเป็นสัญลักษณ์ของคนภาคตะวันออกเฉียงเหนือขนมที่นิยมทำคือขนมพื้นเมืองชื่อข้าวเหนียวหัวหงอกนางเล็ดเป็นต้น
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: